You are on page 1of 14

รายงานเชิงวิชาการ

​ ารอา่ นและพิจารณาวรรณคดี เรื่ อง ขัตติยพันธกรณี


โดย
 

นางสาว กานตช์ นก ชั ยพิทักษ์โรจน์ ชั นม ้ ั ธยมศก ึ ษาปี ที ่ 5/8 ​เลขที่ 5


​ างสาว ธัญวรัตม์ คูอาริ ยะกุล ชั นม
น ้ ั ธยมศก ึ ษาปี ที ่ 5/8 ​เลขที่
้ ั ธยมศก
นาย กุลธัช ยิง่ ถาวรกุล ชั นม ึ ษาปี ที ่ 5/8 ​เลขที่
นาย ดารน ้ ั ธยมศก
ํ ชั นม ึ ษาปี ที ่ 5/8 เ​ ลขที่
คาํ นํา
ร​ ายงานเลม ่ นี้ เป็ นสว่ นหนึ่ งของวิชาภาษาไทยซ่ึงถูกทาํ โดย ชั นม ้ ั ธยมศก ึ ษาปี ที่
5​โดยมีเป้าหมายในการศก ึ ษาวิเคราะหแ ์ ละวิจารณ์วรรณคดีเรื่ องขัตติยพันธกรณี
แนวทางการนําเสนอเกี่ยวกับเนื้ อหามุง่ เน้นให้คณะผูจ้ ั ดทาํ และผูศ ้ กึ ษาไดเ้ รี ยนทุก
คนไดศ ึ ษาเรื่ องราวความเป็ นมาของบทขัตติยพันธกรณี รวมถึงการอา่ นและ
้ ก
พิจารณาวรรณคดีในดา้ นตา่ งๆเชน ่ เนื้ อหาและกลวิธีการใชภ ้ าษาและประโยชน์กับ
คุณคา่ ที่ไดร้ ั บ
คณะผูจ้ ั ดทาํ หวังวา่ รายงานวิชาการเลม ่ นี้ จะเป็ นประโยชน์ตอ่ การศก ึ ษาและตอ่ ยอด
ความรู้ ไดอ้ ยา่ งมีประสท ิ ธิภาพถา้ มีการผิดพลาดในเนื้ อหา ขออภัยมา ณ ที่น้ี ดว้ ย

สารบัญ
คาํ นํา ​ ​ข

บทนํา ​ ​ค

การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธี

เนื้ อเรื่ อง 1

โครงเรื่ อง 2

บทเจรจา 2

่ เรื่ อง
แกน ​ ​3

การอา่ นและพิจารณาการใชภ
้ าษา

การสรรคาํ ​4

การเรี ยบเรี ยงคาํ ​4

การใชโ้ วหาร ​4

การอา่ นและพิจารณาประโยชน์และคุณคา่

คุณคา่ ทางดา้ นวรรณศลิ ป์ ​5

คุณคา่ ดา้ นสั งคม 5

คุณคา่ ดา้ นอื่นๆ 5

การอา่ นและพิจารณาเนื้ อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม


เนื้ อเรื่ องหรื อเนื้ อเรื่ องยอ่
ในพระราชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ่ ั ว ประเทศไทยตอ ้ งพบ
เจอกับการคุกคามจากชาติมหาอาํ นาจตะวันตกอันประกอบดว้ ย อังกฤษเเละ
ฝรั่งเศส การเขา้ มาของฝรั่งเศษไดม ้ ีเหตุการณ์ความขัดแยง้ เกิดขึ้นเกี่ยวกับเรื่ อง
เขตแดนทางดา้ นเขมรจึงทาํ ให้ฝรั่งเศสไดเ้ รี ยกร้องคา่ เสยี หาย ทางดา้ นแผน ่ ดิน
แถบประเทศลาวไดม ้ ีการกระทบกระทังก ้
้ ั นทังการทหารและการทู ต ความรุ นแรง
ไดท ้ วีข้ึน จนเมื่อทางการฝรั่งเศสไดน ้ ํากองเรื อรบ เขา้ มาลุม ่ แมน ่ ํา้ เจา้ พระยา และ
ปิ ดอา่ วไทย เรี ยกร้องสท ิ ธิตา่ งๆ จนสุดทา้ ย ไทยตอ ้ งยินยอมสนธิสัญญากรุ งเทพ
ในวันที่ 3 ต ​ ุลาคม ร.ศ. 112 ส ​ ง่ ผลให้สูญเสยี ดินแดนฝั่งซา้ ยแมน ่ ํา้ โขง และเสยี การ
ควบคุม ประชาชนชาวอินโดจีน อีกทังย ้ ั งถูกฝรั่งเศสยึด จันทบุรีไวเ้ ป็ นตัวประกัน
เนื่ องดว้ ยการสูญเสยี ดินแดน และภัยจากมหาอาํ นาจตะวันตก ทาํ ให้สมเด็จ
พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห ่ ั ว ทรงงานเป็ นอยา่ งหนัก เพื่อปกป้องดินแดนของ
ประเทศไทยไว้ ทา้ ยที่สุด ประเทศไทยสามารถรอดพน ้ จากการครอบงาํ ของ
มหาอาํ นาจ แตก ่ ต ้ งแลกกับดินแดนบางแหง่ เพื่อรักษาอธิปไตยของไทยเอาไว้
็ อ
แตด ่ ว้ ยเหตุการณ์ ร.ศ. 112​ทาํ ให้พระองคป ์ ระชวรทรุ ดลง ทาํ ให้หมดพระทัยที่จะ
ดาํ รงพระชนมช์ ีพตอ่ ไปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ่ ั วทรงสง่ บทพระ
ราชนิ พนธไ์ ปอาํ ลาเจา้ นายบางพระองคร์ วมถึงสมเด็จกรมพระยาดาํ รงราชานุ ภาพผู้
เป็ นพระเจา้ น้องยาเธอโดยเนื้ อ
ความเป็ น การระบายความโทมนัสทังทางพระราชหฤท ้ ั ยและพระวรกาย จนไมท ่ รง
ปรารถนาจะดาํ รงพระชนมช์ ีพตอ่ ไปเพราะไมท ่ รงอยากเป็ น
ภาระแกผ ่ ูเ้ ฝ้าพยาบาลโดยทรงระบายถึงความทุกขย์ ากจากพระอาการประชวรและ
ความกังวลที่จะทรงเสยี เมืองไปโดยสมเด็จพระยาดาํ รงราชานุ ภาพไดท ้ รงนิ พนธ์
บทประพันธต ์ อบกลับแสดงความทุกขข์ องประชาชนตอ่ พระอาการประชวรและ
ความจงรักภักดีท่ีทุกคนมีตอ่ พระองคพ ์ ระองคย์ ั งกราบทูลถึงความจริ งที่วา่ การจะ
ทาํ งานใดๆลว้ นแตม ่ ีอุปสรรคตอ ้ งอาศั ยการร่วมมือร่วมใจ
ความพยายามแกไ้ ขปัญหาจนสุดความสามารถโดยถา้ สุดทา้ ยไมส ่ ามารถแกไ้ ขไดก ้ ็
จะไมม ่ ีผูใ้ ดมากลา่ วโทษไดล ้ งทา้ ยดว้ ยทรงขอให้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้
เจา้ อยูห ่ ั วทรงหายจากพระอาการ

ประชวรทังพระวรกายและพระราชหฤท ัย

โครงเรื่ อง
ขัตติยพันธกรณี ไดถ ้ ูกเเบง่ เป็ น2​สว่ นที่มีโครงเรื่ องที่เเตกตา่ งกันเเตเ่ ชื่อมโยงกัน
โดย:
สว่ นเเรกที่ประพันธโ์ ดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ้ มีโครงเรื่ อง
่ ั วนัน
คือ การราํ พึงราํ พันตัดพอ ้ เกี่ยวกับความอัดอันต ้ ั นใจ ความเศร้าใจ เเละความ
อับอาย ไมว่ า่ จะเป็ นในเรื่ อง อาการประชวรและความไร้ความสามารถของพระองค์
เองที่ไมส ่ ามารถหาทางออกที่ดีให้กับประเทศไทยให้รอดจากสถานการณ์คับขันใน
ครัง้ นี้ ดังความตอนหนึ่ งวา่

“​เจ็บนานหนักอกผู้ บริ รักษ์ ปวงเฮย


คิดใคร่ลาลาญหัก ​ปลดเปลื้อง
ความเหนื่ อยเเห่งสูจัก พลันสร่าง
ตูจักสูภ่ พเบื้อง หน้านัน้ พลันเขษม”

สว่ นที่สองที่ประพันธโ์ ดยสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงเดชานุ ภาพ


นัน้ มีโครงเรื่ องคือการให้กาํ ลังใจให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ่ ั วให้มี
กาํ ลังใจในการตอ่ สูก ้ ั บอาการประชวรและเเกไ้ ขปัญหาวิกฤติของประเทศไทย โดย
การเปรี ยบเทียบประเทศไทยเป็ นเรื อลอ่ งสมุทธที่มีพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ั วเป็ นกัปตันเเละขา้ ราชบริ พารเป็ นชาวเรื อ ดังความตอนหนึ่ ง
วา่

​ ุจเหว่าพละนา
“ด วะเหว่กะปิ ตัน
นายท้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางเเคลง
นายกลประจาํ จักร จะใช้หนักก็นึกแหนง
จะรอก็ระเเวง จะไม่ทันธุรการ”

ตัวละคร
1. ​พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ่ ัว
ทรงรักและเป็ นหว่ งประชาชนอนึ่ งทรงกังวลและวิตกกับสถานการณ์บา้ นเมืองที่ไม่
สามารถปฏิบัติพระราชกรณี ยกิจไดเ้ ต็มพระกาํ ลังและ ทรงมีพระปรี ชาสามารถใน
การประพันธเ์ รื่ องราวตา่ งๆ รวมทังประพ
้ ั นธโ์ คลงและอินทรวิเชียรฉันทเ์ พื่อบอก
ลาญาติพ่ีน้องและคนสนอทของพระองค์ แตท ่ า้ ยที่สุดพระองคท
์ รงเขม
้ แข็งและกลา้
เผชิญหน้ากับปัญหาไดโ้ ดยการพูดคุยกับสมเด็จพระยาดาํ รงราชานุ ภาพผา่ น
บทกลอน ดังความตอนหนึ่ งวา่

  “​ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ ง ​บาทา อยู่เฮย


จึง บ อาจลีลา ​คล่องได้” 
2. ​สมเด็จพระยาดาํ รงราชานุ ภาพ
แสดงให้เห็นถึงความเคารพรักและความจงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริ ยร์ วม

ทังความสามารถด า้ นการประพันธบ์ ทโคลงและความเฉลียวฉลาดในการให้กาํ ลัง
ใจเพื่อตอบกลับจดหมายอาํ ลาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห
่ ั ว ​ดัง
ความตอนหนึ่ งวา่

​ ั นพระประชวรครัง้
“อ ้
​ ั งไผทสยาม

เหล่าข้าพระบาทความ ว​ ต
ิ กพ้นจะอุปมา
ประสาแต่อยู่ใกล้ ท ้ ้ ใช่ว่าหนักหนา
​ ั งรู
เลือดเนื้ อผิเจือยา ใ​ ห้หายได้จะชิงถวาย” 

้ หมั่นเพียรที่จะตอ่ สูก
และ มีความตังใจ ้ ั บอุปสรรค ดังความตอนหนึ่ งวา่
“​ขอตายให้ตาหลับ ​ด้วยชือ่ นับว่าชายชาญ
เกิดมาประสบภาร ธ​ ุระได้บาํ เพ็ญทาํ ” 

ฉากทอ ้ งเรื่ อง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ้ ีพระอาการประชวรเนื่ องจาก
่ ั วไดม
เหตุการณ์ทางการเมืองระหวา่ งเขตเเดนไทยกับฝรั่งเศสซ่ึงกาํ ลังทวีความรุ นแรง
ขึ้นเรื่ อยๆ ดังความตอนหนึ่ งวา่

“เ​ ป็ นฝี สามยอดเเล้ว ยังรายสา่ นอ


ปวดเจ็บใครจักหมาย เชือ่ ได้
ใช่เป็ นเเต่สว่ นกาย เศยี รกลัด กลุ้มเเฮ
ใครต่อเป็ นจึง่ ผู้ นั่นนัน ้ เห็นจริ ง”
ไดเ้ ขียนจดหมายราํ พึงราํ พันทอ ้ เเทถ้ ึงกลุม
่ ขา้ ราชการคนสนิ ท สง่ ผลให้ขา้ ราชการ
คนสนิ ทตอ ้ งรี บเขียนจดหมายตอบโตเ้ พื่อให้กาํ ลังใจพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ั วให้มีกาํ ลังใจในการตอ่ สูก ้ ั บอาการประชวรเเละเเกไ้ ขปัญหา
ประเทศชาติ ดังความตอนหนึ่ งวา่

“ช​ าวเรื อก็ย่อมรู้ ฉะนี้ อยู่ทุกจิตใจ


เเต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจาํ แก้ด้วยเเรงระดม”

บทเจรจาหรื อราพึงราพัน
ในเรื่ องขัตติยพันธกรณี นัน ้ มีบทราํ พึงราํ พันของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้
่ ั วที่มีตอ่ ราษฎรและบา้ นเมืองของพระองคห
เจา้ อยูห ์ ลังจากที่ฝรั่งเศสพยายามที่จะ
เขา้ มามีอาณานิ คมกับประเทศไทยแลว้ ขณะที่
พระองคย์ ั งทรงพระประชวรอยูโ่ ดยใชถ ้ อ้ ยคาํ ที่เขา้ ใจงา่ ยทาํ ให้ผูอ
้ า่ นรู้
ถึงความเป็ นหว่ งที่พระองคม ์ ีตอ่ ราษฎรของพระองค์

“​เจ็บนานหนักอกผู้ ​บริ รักษ์ ปวงเฮย


คิดใคร่ลาลาญหัก ​ปลดเปลื้อง
ความเหนื่ อยปห่งสูจัก ​ ลันสร่าง

่ พเบือ่ ง
ตูจักสูภ ​ น้านัน
ห ้ พบันเขษม”

จากบทประพันธข์ า้ งตน้ แสดงให้เห็นถึงความรู้ สก ึ เหน็ ดเหนื่ อยตา่ งๆนานาจน


พระองคห ์ มดพระทัยที่จะดาํ รงพระชนมช์ ีพตอ่ ไป ​เป็ นการเปรี ยบเปรย ถึงความ
ึ ทุกขท
รู้ สก ์ ่ีมากจนจะรับไหว

“เ​ ป็ นฝี สามยอดแล้ว ย​ ั งราย สา่ นอ


ปวดเจ็บใครจักหมาย เ​ ชือ่ ได้
ใช่เป็ นแต่สว่ นกาย เ​ ศยี รกลัด กลุ้มแฮ
ใครต่อเป็ นจึง่ ผู้ ​นั่นนั ้ นเห็นจริ ง”
ทรงบรรยายถึงพระอาการประชวรที่เจ็บปวดอยา่ งแสนสาหัสและไมเ่ พียงแต่
ประชวรพระวรกายยังทรงกลัดกลุม ้ พระพราชหฤหัยดว้ ยเพราะ สถานการณ์บา้ น
้ กาํ ลังตกอยูใ่ นชว่ งวิกฤตที่โดนคุกคาม จากชาติมหาอาํ นาจ
เมืองในตอนนัน

​ ะปูดอกใหญ่ตรึ้ ง
“ต ​บาทา อยู่เฮย
จึง บ อาจลีลา ​คล่องได้
เชิญผู้มีเมตตา ​แก่สัตว์ ป ​ วงแฮ
ชั กตะปูนี้ให้ ​สง่ ข้สอัญขยม”

บทประพันธม ์ ีการใชโ้ วหารในการเปรี ยบเทียบ พระองคท ์ รงพรรณนา ถึง


หน้าที่ท่ีตอ
้ งปกป้องและรักษาบา้ นเมือง จึงไมส ้ิ พระชนมไ์ ดด
่ ามารถสน ้ ั งปรารถนา
ดั่งตะปูท่ีตรึ วประองคเ์ อาไว้

“​กลัวเป็ นทวิราช ​บ ตริ ป้องอยุธยา


เสยี เมืองจึงนิ นทา ​ ละเว้น ฤ ว่างวาย”

พระองคท ์ รงวิตกกังวลถึงสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น หากตอ ้ งเสยี อธิปไตยไป คง


่ ดินตกเป็ นของชาติอ่ืน ถูกติฉินนิ นทาให้ภาย
ถูกกลา่ วหาวา่ เป็ นทรราช ทาํ ให้แผน
ภาคหน้า

บทประพันธส ์ ว่ นหนึ่ งของ ขัตติยพันธกรณี เป็ นบทกลอนตอบกลับของ สมเด็จ


พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดาํ รงราชานุ ภาพที่ประพันธ์
พระนิ พนธข์ ้ึนเพื่อถวายกาํ ลังพระราชหฤทัยใจแกพ ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้
เจา้ อยูห
่ ัว

“​ประสาแต่อยู่ใกล้ ้ ้ ใช้ว่าหนักหนา
​ ั งรู

เลือดเนื้ อผิเจือยา ใ​ ห้หายได้จะชิงถวาย”

แสดงให้เห็นถึงความเป็ นหว่ งตอ่ อาการของพระบาทสมเด็จพระจุลจอม


่ ั ว และความจงรักภักดีตอ่ พระมหากษัตริ ย ์ ถา้ หากเสยี สละชีพตนเอง
เกลา้ เจา้ อยูห
ไดก
้ จ็ ะยอมถวายแดท ่ า่ น
“​ขอจงวราพาธ ​ รมนาถเร่งเคลือ่ นคลาย

พระจิตพระวรกาย ​จงผ่องพ้นทีห ่ ม่นหมอง
ขอจงสาํ เร็จรา- ​ชะประสงค์ทีท ่ รงปอง
ปกข้าฝ่าละออง ​ ระบาทให้สามัคคี

ขอเหตุทีข่ ุ่นขัด จ​ ะวิบัติพระขันตี
จงคลายเหมือนหลายปี ล​ ะลืมเลิกละลายสูญ
ขอจงพระชนมา- ย​ ุสถาวรพูน
่ เกียรติอนุ กูล
เพิม ​สยามรัฐพิพัฒน์ผลฯ”

บทนี้ เป็ นการอวยพรและให้กาํ ลังใจแดพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้


อยูห ่ ั ว ให้มีพระพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง พน ้ จากอาการประชวรโดยไว และเป็ น
มิง่ ขวัญกาํ ลังใจแกป ่ ระเทศชาติตอ่ ไป

เเกน ่ เรื่ อง
เนื่ องจากขัตติยพันธกรณี ไดถ ​ ว่ นคือ:
้ ูกเเบง่ ออกเป็ น 2 ส
1.​ ​สว่ นของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ่ ั ว ซ่ึงมีเเกน
่ เรื่ องคือการระบาย

ความอัดอันใจในเรื ่ องตา่ งๆ อาทิ อาการประชวร ความตึงเครี ยดทางการเมือง ดัง
ความตอนหนึ่ งที่ทา่ นไดเ้ ปรี ยบปัญหาทังหมดเป็
้ นดั่งตะปูวา่

“​ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ ง บาทาอยูเฮย
จึง บ อาจลีลา คล่องได้
เชิญผู้ทีเ่ มตตา แก่สัตว์ ปวงแฮ
ชั กตะปูนี้ให้ สง่ ข้าอัญขยม”
2.​ ส ่ นของสมเด็จพระยาดาํ รงราชานุ ภาพ ซ่ึงมีเเกน
​ ว ่ เรื่ องคือการให้กาํ ลังใจ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห
่ ั วให้มีกาํ ลังใจในการตอ่ สูก ้ ั บปัญหาตา่ งๆ
ดั่งความตอนหนึ่ งวา่

​ ้วยเดชะบุญญา
“ด ภินิหาระเเห่งคาํ
สั ตยข์ ้าจงได้สัม ฤทธิดังมโนหมาย
ขอจงวราพาธ บรมนาถเร่งเคลือ่ นคลาย
พระจิตพระวรกาย ​จงผ่องพ้นทีห ่ ม่นหมอง
ขอจงสาํ เร็จรา- ชะประสงค์ทีท ่ รงปอง
ปกข้าฝ่าละออง ​ ระบาทให้สามัคคี

ขอเหตุทีข่ ุ่นขัด จะวิบัติพระขันตี
จงคลายเหมือนหลายปี ล​ ะลืมเลิกละลายสูญ
ขอจงพระชนมา- ยุสถาวรพูน
่ เกียรติอนุ กูล
เพิม ​สยามรัฐพิพัฒน์ผลฯ”

การอา่ นและพิจารณาการใชภ
้ าษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การสรรคาํ
จากบทประพันธข์ องสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุ ภาพ ใน
บทกวีเรื่ องขัตติยพันธกรณี พระองคท ์ า่ นไดใ้ ชส ้ าํ นวนเพื่อเป็ นการกลา่ วให้กาํ ลัง
พระหฤทัยแกพ ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห ้ อ
่ ั ว อีกทังต ่ ความ
้ งการเพิม
งามของบทประพันธ์ พระองคจ์ ะตอ ้ งเลือกใชค ้ าํ เพื่อให้ตรงกับความตอ ้ งการ
เหมาะสมกับฐานะของบุคคล รวมถึงตรงตามความหมายของเนื้ อเรื่ อง และจุต
ประสงคท ้ งการจะส่อ
์ ่ีตอ ื โดยมีการสรรคาํ ตามหลักการดังนี้
ผูป
้ ระพันธจ์ ะตอ
้ งเลือกใชค ้ งตามความเหมาะสม เพื่อให้มี
้ าํ ที่มีความหมายที่ถูกตอ
ความหมายตามความตอ ้ งการ อีกทังมี ้ ความสวยงามทางเสยี งและการใช้ มีตัวอยา่ ง
ดังนี้

“อึดอัดทุกหน้าที่ ทุกข์ทวีทุกวันวาร
เหตุห่างบดียาน อันเคยไว้น้าใจชน”

ผูป้ ระพันธจ์ ะตอ ้ งเลือกใชค ้ าํ ให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคลในเรื่ อง เนื่ องดว้ ยบท


ประพันธด ์ ั งกลา่ ว เป็ นการส่อ ื สารระหวา่ ง พระมหากษัตริ ยแ์ ละพระอนุ ชาทาํ ให้
จาํ เป็ นจะตอ ้ งใชภ้ าษาที่ถูกตอ ้ งแหละเหมาะสม ตอ่ ไปนี้

“ขอเดชะเบื้องบาท วรราชะปกศี
่ มี
โรตม์ข้าผู้มัน ้ ัญ ”
มะนะตังกต

ผูป
้ ระพันธเ์ ลือกใชบ
้ ทโคลงและคาํ ฉันทโ์ ดยไมไ่ ดเ้ คร่งคัดแตท ้ าํ ที่ออกเสยี ง
้ รงใชค
หนักเบาตามธรรมชาติ เชน ่

้ ้ ใช่ว่าหนักหนา
“ประสาแต่อยู่ใกล้ ทังรู
เลือดเนทชื้อผืเจือยา ให้หายได้ชงิ ถวาย”

ผูป
้ ระพันธจ์ ะตอ ้ าํ นึ งถึงเสยี ง เพื่อความไพเราะของบทประพันธ์ อีกทัง้
้ งเลือกใชค
ทาํ ให้ผูอ
้ า่ นสามารถสร้างจินตนาการจากการอา่ นบทความได้

“ด้วยเดชะบุญญา ภินิหาระแห่งคา
สั ตยข์ ้าจงได้สัม ฤทธดังมโนหมาย”

การเรี ยบเรี ยงคาํ


สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุ ภาพทรงประพันธ์ บท
ประพันธน ์ ้ี ในรุ ปแบบของคาํ ฉันท์ โดยพระองคม ้ าํ แบบครุ -ลหุ
์ ิไดเ้ คร่งครัดการใชค
ที่คณะฉันทใ์ ช้ แตห
่ ากเน้นการให้กาํ ลังพระหฤทัยโดยการเลน ่ คาํ และการสร้าง
จินตภารวมถึงการสร้างอารมณ์สะเทือนใจแทน

การใชโ้ วหาร
การใชโ้ วหารภาพพจน์ในบทประพันธ์ ขัตติยพันธกรณี สามารถพบเห็นได้
มากในบทกวี เนื่ องจากผูแ้ ตง่ ทรงอยากให้ผูอ ้ า่ นเขา้ พระทัยและเห็นภาพอยา่ ง
ชั ดเจน โดยใชอ ้ ุปมาโวหาร ดว้ ยคาํ วา่ ’​ดุจ’ เ​ พื่อเปรี ยบเทียบสงิ่ สองสงิ่ ยกตัวอยา่ ง
เชน ่

“ดุจเหล่าพละนา- วะเหว่ว้ากะปิ ตัน


นายท้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง”

บทนี้ เปรี ยบให้เห้นไดว้ า่ พระองคต ์ อ้ งการเปรี ยบเทียบพระเจา้ อยูห


่ ั วกับกะปิ ตัน
และทาํ ให้สามารถกลา่ วไดว้ า่ นายทา้ ยที่พระองคเ์ ขียนขึ้น หมายถึง ประชาชนทัง้
หลายของพระเจา้ อยูห ้ าํ วา่ ‘เปรี ยบ’
่ ั ว หรื อใชค

“เปรี ยบตัวเหมือนอย่างม้า ทีเ่ ป็ นพาหนยาน


ผูกเครื่ องบังเหียนอาน ประจาหน้าพลับพลาชั ย”
​ ทนี้ เปรี ยบตัวพระองคเ์ องดั่งมา้ เพื่อแสดงความจงรักพรรคดี

ตอ่ พระเจา้ อยูห
่ ัว
การอา่ นและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณคา่ ในวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณคา่ ดา้ นอารมณ์


สภาพสั งคม ณ ขณะนัน ้ เป็ นสั งคมของการเอาตัวรอด เพราะปัญหาตา่ งๆที่รุมเร้า
ทาํ ให้ราชวงศแ์ ละประชาชนทั่วไปตอ ้ เปลี่ยนแปลง
ิ คนเรานัน
้ งดูแลตัวเอง วา่ ชีวต
อยูเ่ สมอ เดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวสุข สลับกันไป

คุณคา่ ดา้ นคุณธรรม


แสดงให้เห็นถึงคุณธรรมของพระมหากษัตริ ยซ์ ่ึงตอ้ งดูแลความเป็ นอยูข่ อง
ประชาชนและให้ประเทศชาติสงบสุข ปลอดภัย พน ้ จากภัยอันตรายที่มาคุกคาม

คุณคา่ ดา้ นอื่นๆ


สะทอ ้ นความคิดความเชื่อของคนไทยในอดีตไดเ้ ป็ นอยา่ งดีปลุกจิตสาํ นึ กให้คนใน
ชาติหวงแหนรักษาผืนแผน ื ไปและตระหนักถึงความ
่ ดินไทยไวใ้ ห้ดาํ รงอยูส่ บ
เหนื่ อยยากของบรรพบุรุษที่ตอ ้ งยอมแลกดว้ ยชีวต ิ เพื่อรักษาฝื นแผน
่ ดินนี้ ไว้
  

  

  

  

  

  

  

  

  

บรรณานุ กรม

http://elsd.ssru.ac.th/bualak_na/pluginfile.php/67/mod_page/
intro/​ถอดความ-ขัตติยพันธกรณี -60.pdf

You might also like