You are on page 1of 4

ปั ญหารูพรุ น (Porosities) และ ผิวพอง (Blisters) ของงานฉีดสังกะสี

โดย Technical service, Padaeng Industry Public Company Limited.

ปั ญหาของเสียที่พบบ่อยสุดของชิน้ งานฉีดสังกะสี ก็คือ รู พรุ น และผิวพอง ทัง้ 2 อาการนีเ้ กื อบจะเป็ นเรื่ อง


เดียวกัน เพราะรู พรุ นมักจะเกิ ดจากฟองอากาศ และ/หรื อฟองแก๊ สที่อ ยู่ภายในเนือ้ ชิ น้ งานฉี ด ในขณะที่ผิวพองก็ คื อ
ฟองอากาศ และ/หรื อฟองแก๊ สที่เกิดขึ ้นใกล้ ผิวชิ ้นงานแล้ วขยายตัวดันผิวให้ เห็นเป็ นตุม่ โป่ งพอง

โดยธรรมชาติของงานฉีด (ไม่ว่าจะเป็ นสังกะสีหรื ออลูมิเนียม) การที่จะมีฟองอากาศอยู่บ้างภายในชิ ้นงานถือว่าเป็ นเรื่ อง


ปกติ ทัง้ นีเ้ ทคโนโลยี ฉีด สังกะสีแ บบทั่ว ๆไปไม่สามารถไล่ฟ องอากาศให้ ห มด 100% ได้ เพี ย งแต่ชิน้ งานที่ ดี ค วรมี
ฟองอากาศเป็ นเม็ ด เล็ก ๆกระจายภายในเนื อ้ ชิ น้ งานฉี ด ในปริ ม าณที่ น้ อ ย (บางท่า นก าหนดว่า ไม่ค วรเกิ น 5-10%)
นอกจากนี ้ฟองอากาศที่มีอยู่ ต้ องไม่อยูใ่ กล้ ผิวหน้ าจนทาให้ เกิดปั ญหาผิวพอง

เมื่อลองนึกดูถึงการฉีดในแต่ละชอต (shot) ที่ตวั แปรต่างๆในกระบวนการฉีดสังกะสีมีการขยับเปลี่ยนแปลงได้ ตลอดเวลา


รูปแบบของการเกิดฟองอากาศภายในเนื ้อชิ ้นงานก็คงเปลี่ยนแปลงเช่นกัน ไม่มากก็น้อย ด้ วยเหตุนี ้การออกแบบการฉีด ,
การตังเครื
้ ่ องที่ไม่ถกู ต้ องตังแต่
้ ต้นและการปล่อยให้ ตวั แปรการฉีดเปลี่ยนแปลงมากเกินไป ทาให้ มีโอกาศเกิดปั ญหารู พรุ น
หรื อผิวพองได้ ง่ายขึ ้นเช่นกัน

ปั ญหารู พรุ น

โดยทัว่ ไปตัวการสาคัญที่ทาให้ เกิดรู พรุ น คือ ฟองอากาศ และฟองแก๊ ส ที่ถกู กักเก็บไว้ ในเนื ้อของชิ ้นงานฉีด ซึ่ง
จะอธิบายแยกกันดังนี ้

เรื่องของฟองอากาศ

อย่าลืมว่าก่อนที่น ้าโลหะจะถูกฉีดเข้ าแม่พิมพ์ ตังแต่


้ ทางวิ่งน ้าโลหะตลอดจนในช่องว่างแม่พิมพ์ ก็มีอากาศอยู่
แล้ ว อากาศส่วนนี ้ควรถูกน ้าโลหะดันออกทางรูระบายให้ มากที่สดุ (ถ้ าออกหมดได้ จะดีที่สดุ ) ในทางปฏิบตั ิ ไม่ง่ายที่จะดัน
อากาศออกให้ หมด การที่จะให้ น ้าโลหะดันอากาศออกให้ มากที่สดุ มีสงิ่ ที่ต้องคานึงหลายประการดังนี ้

1
1. รูระบายอากาศต้ องเพียงพอ และอยูใ่ นตาแหน่งที่ให้ อากาศระบายออกได้ สะดวก รู ระบายอากาศจะต้ องออกแบบหรื อ
กาหนดในขันตอนออกแบบแม่
้ พิมพ์ โดยทัว่ ไปนิยมให้ อากาศถูกระบายออกผ่าน Overflow (O/F) แต่ในหลายกรณี ก็
เหมาะสมที่จะให้ ระบายออกผ่าน Parting line ของแม่พิมพ์

2. มีการจัดการให้ น ้าโลหะขณะฉีดไหลผ่านเกทด้ วยความเร็ ว (V2) ที่เหมาะสมที่จะทาให้ น ้าโลหะเข้ าสูช่ ่องว่างแม่พิมพ์ใน


ลักษณะเป็ นฝอย (Atomize Flow) ความเร็ วที่วา่ นี ้คือ 35-50 m/s โดยทัว่ ไปชิ ้นงานฉีดที่บางควรใช้ ความเร็ วในทางสูงเข้ าไว้

3. มีการจัดการให้ น ้าโลหะใช้ เวลาในการเติมช่องว่างแม่พิมพ์ให้ เต็มที่เหมาะสมคือ 8-30 millisec. โดยชิ ้นงานที่โตหรื อหนา


ให้ เวลาเติมเต็มมากกว่าชิ ้นงานเล็กหรื อชิ ้นงานที่บาง เมื่อเปรี ยบเทียบชิ ้นงานที่มีขนาดเท่ากัน ชิ ้นงานที่ต้องโชว์ผิว เช่นชุบ
โครเมียม ควรให้ เวลาเติมเต็มน้ อยกว่าชิ ้นงานที่ไม่ต้องโชว์ผิว

การจัดการทังข้
้ อ 2 และ 3 ต้ องเริ่ มทาตังแต่
้ ขนตอนการออกแบบแม่
ั้ พิมพ์ หรื อการออกแบบขนาดของเกท โดยที่ขนตอนใน
ั้
การออกแบบขนาดเกทควรมีการเลือกเครื่ องฉีด, อุปกรณ์ฉีด รวมทังเลื
้ อกหรื อกาหนดตัวแปร (Settings) ของการฉีดไว้ เป็ น
งกล่าวนี ้เรี ยกว่าการทา PQ2 โดยในที่สดุ ขนาดเกทที่ออกแบบมาได้ ร่ วมกับเครื่ องฉีดและ
ชุดที่สอดคล้ องกัน ในขันตอนดั

อุปกรณ์การฉีดที่เลือกมาได้ รวมทังตั
้ วแปรการฉีดต่างๆที่กาหนดไว้ จะเป็ นส่วนสาคัญที่จะทาให้ น ้าโลหะไหลผ่านเกทด้ วย
ความเร็ วและเวลาเติมเต็มแม่พิมพ์ตามต้ องการ

4. มีการจัดการหรื อควบคุมให้ น ้าโลหะที่ฉีดมีคณ


ุ ภาพอยู่ในมาตรฐาน รวมทังมี
้ อณุ หภูมิ ขณะฉีดที่ถกู ต้ อง ทังนี
้ ้เพื่อรักษา
คุณสมบัติการไหล (Fluidity) ให้ มีค่าที่เหมาะสมกับการฉีดอยู่เสมอ คุณสมบัติการไหลนี ้เป็ นสิ่งสาคัญมากที่จะทาให้ การ
ควบคุมความเร็ วของน ้าโลหะที่ฉีด รวมทังระยะเวลาการเติ
้ มเต็มช่องว่างแม่พิมพ์ให้ ได้ ตามค่าที่กาหนดหรื อออกแบบไว้

คุณภาพนา้ โลหะโดยรวมจะขึน้ อยู่กับการจัดการนาทางนา้ และชิ น้ งานของเสียกลับมาหลอมใหม่ หรื อที่เรี ยกว่าการ


Recycle โดยปกติการใช้ Recycle มากๆหรื อการหลอม Recycle ที่ไม่ถกู วิธีจะทาให้ สว่ นผสมของ Al และ Mg ลดน้ อยลง
ไป หรื ออาจจะลดลงไม่มากแต่มีค่าเดี๋ยวสูงเดี๋ยวต่า Al ที่ลดลงจะทาให้ คุณสมบัติการไหล (Fluidity) แย่ลงอย่างมาก
ในขณะที่ Mg ทีล่ ดลง ถึงแม้ ในทางทฤษฎีจะเพิ่มคุณสมบัติการไหลเล็กน้ อย แต่มีข้อเสียมากกว่านัน่ คือเพิ่มความเสี่ยงให้
ชิ ้นงานเกิดการแตกลายงา

อุณหภูมิของน ้าโลหะก็เป็ นส่วนสาคัญมากต่อคุณสมบัติการไหล อุณหภูมิสงู ขึ ้นการไหลดีขึ ้น อุณหภูมิต่าลงการไหลแย่ลง


แต่อณ
ุ หภูมิที่สงู มากไปทาให้ เกิด dross มาก ซึ่งท้ ายสุดถ้ ากาจัดหรื อกวาด dross ออกไม่ดี น ้าโลหะก็จะมีคณ
ุ สมบัติการ
ุ หภูมิน ้าโลหะอยูท่ ี่ 415  7 oC หรื อที่ 420 7 oC
ไหลแย่ลงเช่นกัน โดยทัว่ ไปควรจะควบคุมให้ อณ

5. มีการจัดการให้ นา้ โลหะขณะเคลื่อนตัวผ่านทางวิ่ง (Runner) มีการไหลแบบราบเรี ยบ ไม่เกิ ด ปั่ นป่ วน มิฉะนัน้


ฟองอากาศจะปนอยูใ่ นน ้าโลหะตังแต่
้ ในทางวิ่ง เมื่อถูกฉีดเข้ าช่องว่างแม่พิมพ์ น ้าโลหะที่แข็งตัวได้ เร็ วจะกักอากาศนันไว้
้ ใน
เนื ้อชิ ้นงานเป็ นรูพรุน หรื อผิวพองได้

2
การที่จะให้ น ้าโลหะไหลผ่าน Runner อย่างราบเรี ยบไม่เกิดปั่ นป่ วนต้ องคานึงถึงการออกแบบทางวิ่งที่ไม่มีสว่ นหัก โค้ งงอ
มากไป ทางวิ่งสันที
้ ่สดุ เท่าที่จะทาได้ ทางวิ่งต้ องมีพื ้นที่หน้ าตัด (Cross-sectional area) ใหญ่ไปหาเล็ก จาก Nozzle ถึง
เกท ควรตรวจสอบค่า Convergence ซึ่งคือ พื ้นที่หน้ าตัด Sprue –nozzle หารด้ วยพื ้นที่หน้ าตัดเกท ให้ มีค่าในช่วง 1.3 –
2.0 เท่า

นอกจากนี ้ ยังต้ องตังความเร็


้ วในการฉีด step ที1่ (ความเร็ วน ้าโลหะวิ่งใน Runner ก่อนถึงเกท) ซึ่งทัว่ ไปเรี ยกว่า V1 ให้ ช้า
เข้ าไว้ เพราะยิ่งเร็ ว โอกาสจะเกิดการไหลปั่ นป่ วน (Turbulent) มากขึ ้น โดยทัว่ ไป ถ้ ามีการเลือกเครื่ องฉีดจากการทา PQ2
ที่เหมาะสม การตังความเร็
้ วฉีดที่วาวล์ปรับสปี ดมักจะอยูท่ ี่ประมาณ 25-30% ของค่าสูงสุด หรื อของ Vmax

6. มีการจัดการให้ มีการเปลี่ยนความเร็ วจาก speed1 (V1) เป็ น speed2 (V2) ในตาแหน่งเมื่อน ้าโลหะไหลถึงเกทพอดี
เพื่อให้ น ้าโลหะไหลเข้ าช่องว่างแม่พิมพ์ด้วยความเร็ วในลักษณะเป็ นฝอย (Atomize Flow) ที่ความเร็ ว 35-50 m/s ตามที่
กาหนดในขันตอนการออกแบบแม่
้ พิมพ์

7. มีการจัดการให้ น ้าโลหะในช่องว่างแม่พิมพ์มีการเย็นตัวที่เหมาะสม การเย็นตัวที่เร็ วมากเกินไป อาจทาให้ น ้าโลหะที่ถกู


ฉีดถึงผิวแม่พิมพ์ เกิดแข็งตัวและปิ ดกัน้ ไม่ให้ อากาศถูกระบายออกอย่างเหมาะสม ในขณะที่ถ้าการเย็นตัวช้ ามากไป
(แม่พิมพ์ร้อนมากไป) อาจทาให้ ฟองอากาศเกิดไปรวมตัวกันบริ เวณที่เย็นตัวหลังสุด ทาให้ บริ เวณนันมี
้ โพรงอากาศที่ใหญ่
หรื อมากจนเป็ นปั ญหา นอกจากนี ้ อาจเป็ นสาเหตุให้ ผิวชิ ้นงานไม่แข็งเพียงพอขณะดีดชิ ้นงาน จนเกิดปั ญหาผิวพอง

การควบคุมอัตราการเย็นตัวที่เหมาะสมของชิ ้นงาน คานึงถึงตัวแปรหลัก คือ อุณหภูมิแม่พิมพ์ งานฉีดสังกะสีแนะนาให้ คมุ


อุณหภูมิแม่พิมพ์ที่ 150-220 oC โดยทัว่ ไปชิ ้นงานฉีดที่ใหญ่ ควรตังอุ
้ ณหภูมิแม่พิมพ์ที่ จะต้ องควบคุมให้ อยู่ในทางต่า และ
ตังในทางสู
้ งสาหรับชิ ้นงานที่เล็กและบาง การควบคุมอุณหภูมิแม่พิมพ์สามารถทาได้ หลายวิธี เริ่ มตังแต่
้ การออกแบบ
ช่องทางน ้าหล่อเย็นที่จะให้ ชิ ้นงานเกิดการเย็นตัวสม่าเสมอทัว่ กันทุกส่วนของชิ ้นงาน การปรับปริ มาณการไหลของน ้าหล่อ
เย็น การตังระยะเวลา
้ cooling time การใช้ น ้ามันหล่อลืน่ สเปรย์หน้ าแม่พิมพ์ การตังเวลาเปิ
้ ด-ปิ ดแม่พิมพ์ ซึง่ ส่วนนี ้จะมีผล
ต่อประสิทธิผลการผลิตด้ วย (Productivity)

เรื่องของฟองแก๊ ส

ทุกๆ Shot เมื่อชิ ้นงานฉีดถูกดีดออกจากแม่พิมพ์แล้ ว จะมีการใช้ น ้ามันหล่อลื่นสเปร์ ยที่ผิวหน้ าแม่พิมพ์ เมื่อ


น ้ามันสัมผัสกับผิวหน้ าแม่พิมพ์ ที่ร้อนจะเกิ ดเป็ นไอหรื อแก๊ สขึน้ แก๊ สนีอ้ าจหลงเหลืออยู่ในช่องว่างแม่พิมพ์ และด้ วย
หลักการเดียวกันกับเรื่ องของฟองอากาศข้ างต้ น ถ้ าส่วนของแก๊ สซึ่งอยู่ในช่องว่างแม่พิมพ์ ที่ไม่สามารถถูกดันให้ ออกทางรู
ระบายได้ จะถูกกักไว้ ในเนื ้อชิ ้นงานฉีด ถ้ ามากก็เกิดเป็ นปั ญหารูพรุนได้ เช่นเดียวกับฟองอากาศ

ดังนันในประเด็
้ นของฟองแก๊ ส นอกเหนือจากการที่ต้องคานึงถึงตัวแปรต่างๆที่กล่าวมาทังหมดในเรื
้ ่ องของฟองอากาศแล้ ว
ยังต้ องคานึงถึงสิง่ ที่เพิ่มเติมดังนี ้

3
1. คุณภาพของน ้ามันหล่อลื่น น ้ามันหล่อลื่นที่ดีควรมีจุดระเหยกลายเป็ นไอที่สงู คือ เกิดเป็ นไอได้ ยาก และไม่ทิ ้ง
คราบสกปรกไว้ ที่หน้ าแม่พิมพ์
2. ปริ มาณที่ฉีดแต่ละ shot ต้ องไม่มากจนเกินไป เพราะยิ่งมากยิ่งมีโอกาสเกิดเป็ นแก๊ สตกค้ าง

ปั ญหาผิวพอง

เนื่องจากผิวพองเกิดจากฟองอากาศหรื อฟองแก๊ สที่อยู่ใกล้ ผิว ดังนันการจั


้ ดการปั ญหาเรื่ องรู พรุ น หรื อความ
พยายามระบายอากาศหรื อแก๊ สให้ ออกได้ มากที่สดุ เป็ นหัวใจหลักของการป้องกันปั ญหาผิวพองเช่นกัน เพียงแต่ต้องเพิ่ม
การควบคุมตัวแปรในการฉีดอีก 1 ตัว คือ อุณหภูมิของชิ ้นงานขณะดีดตัว ถ้ าอุณหภูมิชิ ้นงานขณะดีดตัวยังร้ อนมากหรื อ
เย็นตัวลงไม่เพียงพอ ผิวชิ ้นงานยังไม่แข็งเพียงพอ อากาศหรื อแก๊ สที่บงั เอิญอยู่ใกล้ ผิวจะดันให้ ผิวชิ ้นงานเกิดเป็ นตุ่มโป่ ง
พองขึ ้นได้ เมื่อเกิดกรณีนี ้โดยทัว่ ไปจะเพิ่มเวลา Cooling time ขึ ้นอีกเล็กน้ อย เช่น อีก 1-2 วินาที

จะเห็นว่าการแก้ ไขป้องกันปั ญหารูพรุนหรื อผิวพองมีประเด็นที่ต้องจัดการมากมาย ต้ องใช้ ความรู้ ความชานาญ


ในงานฉีดสังกะสีในเกือบทุกเรื่ อง บางประเด็นเป็ นเรื่ องที่ค่อนข้ างยุ่งยาก สลับซับซ้ อนและเข้ าใจได้ ยาก อย่างไรก็ตาม
บริ ษัทผาแดงฯ ซึง่ มีจดุ มุง่ หมายที่จะให้ การฉีดสังกะสีในประเทศมีการพัฒนาสูค่ วามเป็ นเลิศในภูมิภาคนี ้โดยอาศัยแนวคิด
และแนวปฏิบตั ิของ Centre of Excellence (COE) เปิ ดโอกาสให้ ทกุ ท่านที่ปฏิบตั ิงานฉีดสังกะสีและสนใจที่จะเรี ยนรู้ ได้ ทา
ความเข้ าใจในเนือ้ หาของเรื่ องดังกล่าวมากขึ ้นผ่านทางการฝึ กอบรมสัมมนา ทัง้ นี ้ทางบริ ษัทผาแดงมีแผนที่จะจัดเป็ น
ระยะๆ โดยลักษณะการสัมมนาในแต่ละครัง้ จะเป็ นกลุม่ ประมาณ 10-15 ท่าน และจัดที่สานักงานใหญ่ บริ ษัท ผาแดงฯ ชัน้
26 อาคาร ซีทีไอ ทาวเวอร์ คลองเตย

ในรอบที่จะถึงนี ้ จะเป็ นวันศุกร์ ที่ 18 พฤษภาคม 2555 เวลา 9:00 – 15:30 น.

You might also like