You are on page 1of 39

ขอสอบรหัสวิชา 39 วิชาคณิตศาสตร 1

9 วิชาสามัญ
ประจําปการศึกษา 2560
สอบวันที่ 18 มีนาคม 2561
เวลา 8.30 – 10.00 น.

อาจารยรังสรรค ทองสุกนอก
โรงเรียนนาคประสิทธิ์ มูลนิธิวัดบางชางเหนือ
https://www.facebook.com/GTRmath
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |1
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกที่สุด


จํานวน 10 ขอ ขอละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน

1. กําหนดให f(x)  x 3  ax2  bx  c เมื่อ a, b และ c เปนคาคงตัว


ถากราฟของ y  f(x) ตัดแกน X ที่จุด (3, 0), (0, 0) และ (2, 0)
แลว f(–1) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. –6 2. –1
3. 1 4. 4
5. 6

2. กําหนดให i2  1
คาของ i101  i101! เทากับขอใดตอไปนี้
1. –2 2. 2
3. 1+i 4. 1–i
5. 2i

3. กําหนดให u  i  j  k
เวกเตอร v ในขอใดตอไปนี้ที่สอดคลองกับสมการ uv  0
1. v  i  jk 2. v i  jk
3. v  i  j  k 4. v  i  j  k
5. v  i  j  k
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |2
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.


4. ถา arccos(9x2 )  arcsin(6x  1)  แลว x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
2
1
1. 0 2.
12
1 1
3. 4.
8 4
1
5.
3

2 1   4 3
5. ถา A  และ B  แลว det(AB 1 ) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
3 5   2 2 
1
1. –98 2.
2
3. 1 4. 2
5. 98

1 1
6.  มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
log2 100 log5 100
1 1
1. 2.
100 10
1 1
3. 4.
5 4
1
5.
2
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |3
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

7. ในกลุมคน 10 คน มีอยู 60% ที่มีเลือดหมู A


ถาสุมคนมา 2 คน พรอมกันจากกลุม ความนาจะเปนที่ทั้งสองคนนี้ไมมเี ลือดหมู A ตรงกับขอใดตอไปนี้
2 3
1. 2.
15 15
5 8
3. 4.
15 15
10
5.
15

8. จากแผนภาพตน-ใบ ที่กําหนดให
4 2 4 5 6
5 1 1 2 3 5 8
6 0 0 0 2 3 4 x
7 0 1 1 2
8 1 2 3
ถาเปอรเซ็นไทลที่ 70 ของขอมูลมีคาเทากับ 69 แลว x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. 5 2. 6
3. 7 4. 8
5. 9

6
9. สมการของเสนสัมผัสเสนโคง y ที่จุด (1, 3) ตรงกับขอใดตอไปนี้
x 1
1. x+y=4 2. 3x – 2y = – 3
3. 3x + 2y = 9 4. 2x – 3y = – 7
5. 2x + 3y = 11
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |4
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.


n 
10.  cos   n  มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
n 0 3 
1 2
1. 2.
2 3
3. 2 4. 1 3
2 3
5.
2

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกที่สุด


จํานวน 20 ขอ ขอละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน

11. จํานวนเต็ม x ที่สอดคลองกับอสมการ 2x2  1   x2  2x  1  15


มีจํานวนทั้งหมดเทากับขอใดตอไปนี้
1. 7 2. 9
3. 11 4. 13
5. 15

12. ให S เปนเซตของจํานวนเต็มบวก n


โดยที่ n < 100 และ n มีตัวหารเปนจํานวนเต็มบวก 12 จํานวน
ถา n1 คือจํานวนเต็มที่นอยที่สุดใน S
ถา n2 คือจํานวนเต็มที่มากที่สุดใน S
แลว n2  n1 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. 12 2. 20
3. 36 4. 38
5. 40
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |5
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

13. ผลบวกของจํานวนเชิงซอน z ทั้งหมด ที่สอดคลองกับสมการ z2  1  iz  3


เทากับขอใดตอไปนี้
1. 2 2. 3–i
3. –i 4. i
5. 3+i

14. กําหนดให r และ s เปนจํานวนจริงบวก


(x  2)2 (y  2)2
ถา P(2, 2) เปนจุดอยูบนวงรี  1
r2 s2
ซึ่งมีจุด F1 และ F2 เปนโฟกัสของวงรี และ PF1  PF2  12
แลวระยะหางระหวาง F1 และ F2 เทากับขอใดตอไปนี้
1. 4 หนวย 2. 5 หนวย
3. 2 5 หนวย 4. 5 2 หนวย
5. 4 5 หนวย

15. กําหนดให u และ v เปนเวกตอรในระบบพิกัดฉาก 3 มิติ ซึ่งมีสมบัติตอไปนี้


ก. u และ v ไมขนานกัน
ข. u  v 1

และ ค. u  v 2  3 u  v 2
ถา  เปนมุมระหวางเวกเตอร u และ v แลว cos  มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1 1
1. 2.
3 2
3 1
3. 4.
2 2
2
5.
3
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |6
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

16. เซตของจํานวนเต็มสามจํานวนในขอใดตอไปนี้
ที่เปนความยาวดานของดานทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมปานได
1. {1, 2, 3} 2. {2, 3, 4}
3. {3, 4, 5} 4. {4, 5, 6}
5. {5, 6, 7}

17. กําหนดให A,B เปน 3  3 เมทริกซ และ I เปนเมทริกซเอกลักษณมิติ 3  3


ถา ABt  I แลว
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ABt  Bt A

ข. A 1  Bt

ค. B1  A t
ง. (AB)1  (BA)t
จํานวนขอความที่ถูกตองเทากับขอใดตอไปนี้
1. 0 (ไมมีขอความใดถูกตอง) 2. 1
3. 2 4. 3
5. 4

1 1
x y x 2
18. ถา x และ y เปนจํานวนเต็มบวกที่สอดคลองกับสมการ 6  (12  3 )
แลว x + y มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. 2 2. 3
3. 5 4. 6
5. 8
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |7
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

19. ผลบวกของคําตอบของสมการ log2  log2 (7x  10)  log x 16   3 เทากับขอใดตอไปนี้


1. 7 2. 9
3. 10 4. 12
5. 16

20. กําหนดให a1 , a2 , a 3 , ... , a 50 เปนลําดับเลขคณิต


ถา a1  5 และ a50  103
แลว a12  a 22  a 23  a24  ...  a 249  a250 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. –5,400 2. –5,000
3. 108 4. 5,000
5. 5,400


4x  8 เมื่อ x < 2
21. กําหนดให f(x)  
 x2  4 เมื่อ x  2
2
และ g(x)   f(x) 
ถา g(c)  8 แลว c มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
5
1. –2 2. 
4
7
3. 1 4.
4
5. 2
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |8
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

22. กําหนดให f(x) เปนฟงกชันกําลังสอง


โดยที่กราฟของ y = f(x) มีจุดต่ําสุดที่ (0, 9) และตัดแกน X จุด ( x1 , 0) และ (x2, 0)
ถาพื้นที่ซึ่งปดลอมดวยกราฟของ y = f(x) และแกน X จาก x1 ถึง x2 เทากับ 18 ตารางหนวย
แลว f(2) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. –5 2. –3
3. 0 4. 3
5. 7

23. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร มีการแจกแจงปกติ


โดยวิชาคณิตศาสตร มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 60 คะแนน
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 8 คะแนน
และวิชาวิทยาศาสตร มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 65 คะแนน
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6 คะแนน
ถานายมนัส มีคะแนนมาตรฐานของการสอบทั้งสองวิชาเทากัน
แตคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตรมากกวาวิชาคณิตศาสตรอยู 2 คะแนน
แลวมนัสสอบไดคะแนนวิชาคณิตศาสตร เทากับขอใดตอไปนี้
1. 72 คะแนน 2. 74 คะแนน
3. 76 คะแนน 4. 83 คะแนน
5. 86 คะแนน

24. เมื่อสรางตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียนจํานวน 48 คน
โดยใหความกวางของแตละอัตรภาคชั้นเปน 10 แลวพบวามัธยฐานอยูในชวง 50 – 59
ถามีนักเรียนไดคะแนนต่ํากวา 50 คะแนน อยู 20 คน และมีนักเรียนไดคะแนนตั้งแต 60 คะแนนขึ้นไป
อยู 20 คน แลวมัธยฐานเทากับขอใดตอไปนี้
1. 53 คะแนน 2. 53.5 คะแนน
3. 54 คะแนน 4. 54.5 คะแนน
5. 55 คะแนน
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |9
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

25. กําหนดให S  {10 ,  9 ,  8 , ... ,  1 , 0 , 1 , ... , 8 , 9 , 10}


สุมหยิบคูอันดับ (a, b)  S  S มา 1 คูอันดับ
ความนาจะเปนที่ | a |  b  0 เทากับขอใดตอไปนี้
10 20
1. 2.
441 441
1 1
3. 4.
21 20
1
5.
10

26. ขอมูล จํานวน เรียงจากนอยไปมากไดเปน x1 , x2 , x 3 , ... , x20


20
โดยมี ฐานนิยม  x1
คาเฉลี่ยเลขคณิต = x
มัธยฐาน =m
และ พิสัย = R
ถาตัด x1 ออก จะไดขอมูลชุดใหมคือ x2 , x 3 , ... , x20
จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ฐานนิยมของขอมูลชุดใหม เทากับ ฐานนิยมของขอมูลชุดเกา
ข. คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดใหม  x
ค. มัธยฐานของขอมูลชุดใหม  m
ง. พิสัยของขอมูลชุดใหม  R
จํานวนขอความที่ถูกตองเทากับขอใดตอไปนี้
1. 0 (ไมมีขอความใดถูกตอง) 2. 1
3. 2 4. 3
5. 4
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |10
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

27. กําหนดให a1 , a 2 , a 3 , ... , a 51 เปนขอมูลซึ่งเรียงกันเปนลําดับเรขาคณิต


5
โดยมี a1  1 และอัตราสวนรวมของลําดับเทากับ 
4
แลวมัธยฐานของขอมูลชุดนี้เทากับจํานวนในขอใดตอไปนี้
25 23
 5  5
1.   2.  
 4  4
5
3.  4. 1
4
26
5
5.  
4

1
28. ถาสมการ y = f(x) มีกราฟเปนพาราโบลา ซึ่งผานจุด (0, )
2
และ (x  1)2  1  f(x)  1 ทุกคา x
แลวพาราโบลา y  f(x) ผานจุดในขอใดตอไปนี้
1. (–1, 0) 2. (–1, –1)
3. (–2, 0) 4. (–2, –2)
5. (3,–2)

29. กําหนดให 
S  5 ,  4 ,  3 ,  2 ,  1 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 
0 1
A 
 1 0 
 a b 
และ M   a, b, c, d  S 
  c d  
ถาสุมหยิบ 1 เมทริกซจากเซต M
แลวความนาจะเปนที่จะไดเมทริกซ B ซึ่ง det(A + B) = detA + detB เทากับขอใดตอไปนี้
1 3
1. 2.
100 100
1 1
3. 4.
20 10
11
5.
100
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |11
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

 
30. ถา a1 , a 2 , a 3 , ... , a n เปนลําดับเลขคณิต ซึ่งมี a1  และผลตางรวมเทากับ
12 3
65
แลว  sin(a n ) เทากับขอใดตอไปนี้
n 1
1
1.  2 2. 
2
1
3. 0 4.
2
5. 2


รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |12
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

เฉลย
ตอนที่ 1
1. 5 2. 3 3. 3 4. 5 5. 2 6. 5 7. 1 8. 4 9. 3 10. 2

ตอนที่ 1

11. 2 12. 3 13. 3 14. 5 15. 1 16. 2 17 5 18. 2 19. 1 20. 1

21. 4 22. 5 23. 1 24. 4 25. 3 26. 4 27. 4 28. 2 29. 4 30. 4

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตอนที่ 1
ขอ 1. ตอบ 5.
แนวคิด
กําหนดให f(x)  x 3  ax2  bx  c เมื่อ a, b และ c เปนจํานวนจริง
โจทยกําหนดกราฟของ y  f(x) ตัดแกน x ที่จุด (3, 0), (0, 0) และ (2, 0)
แสดงวา –3, 0 และ 2 เปนคําตอบของสมการสมการ f(x) = 0
นั่นคือ x + 3 , x และ x – 2 เปนตัวประกอบของ f(x)

ดังนั้น f(x) = x(x + 3)(x – 2)

จะได f(1) = –1(–1 + 3)(–1 – 2)


= 6 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 2. ตอบ 3.
แนวคิด
โดยที่สําหรับ n เปนจํานวนต็มบวก
in  1 เมื่อ n หารดวย 4 ลงตัว
in  i เมื่อ n หารดวย 4 เหลือเศษ 1

in   1 เมื่อ n หารดวย 4 เหลือเศษ 2


in   i เมื่อ n หารดวย 4 เหลือเศษ 3
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |13
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

เนื่องจาก 101 หารดวย 4 เหลือเศษ 1 และ 101! หารดวย 4 ลงตัว

ดังนั้น i101  i101!  i  1


1i 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 3. ตอบ 3.
แนวคิด
โดยที่สมบัติของเวกเตอร ;
 เวกเตอร u ขนานกับเวกเตอร v ก็ตอเมื่อ มีสเกลาร k ที่ทําให u  kv
 ถา เวกเตอร u ขนานกับเวกเตอร v แลว u  v  0

ดังนั้นดวยสมบัตทิ ั้งสองเราจึ่งไดวา ถามีเสกลาร k ที่ทําให u  kv แลว uv  0

จากตัวเลือกเวกเตอรในตัวเลือกที่ 3 คือ  i  j  k  ( i  j  k)  u

ดังนั้นเวกเตอร v  i  j  k ขนานกับเวกเตอร u

แสดงวาเวกเตอร v  i  j  k ทําให uv  0 

หมายเหตุ ถา u i  jk และ v  i  j  k จะได

i j k
u  v  1 1 1  ( i  j  k)  ( i  j  k)  0
1 1 1
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 4. ตอบ 5.
แนวคิด

จากสมการ arccos(9x2 )  arcsin(6x  1)  ...(*)
2

กําหนดให A = arccos(9x2 ) และ B  arcsin(6x  1)

แสดงวา cos A  9x 2 และ sin B  6x  1 ...(**)


รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |14
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

จากสมการ (*) แทน arccos(9x2 ) = A และ arcsin(6x  1)  B



จะไดสมการใหมอยูในรูป A+B 
2

ดังนั้น A  B
2

cos A  cos(  B)
2

โดยที่ cos(  )  sin  ; cos A  sin B
2
จาก (**) จะได 9x2  6x  1

9x 2  6x  1  0

(3x  1)2  0
ดังนั้น 3x  1  0
1
x
3

1
ตรวจสอบคําตอบ แทน x = ในสมการ (*) จะพบวา
3
1 1 
arccos(9( )2 )  arcsin(6( )  1) 
3 3 2

arccos(1)  arcsin(1) 
2
 
0  สมการเปนจริง
2 2
1
ดังนั้น x= 
3
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 5. ตอบ 2.
แนวคิด
2 1
โดยที่ det A   (2  5)  (1  3)  7
3 5
4 3
det B   (4  2)  (2  3)  14
2 2
1
โดยสมบัติ det(AB)  det A  det B และ det(A 1 ) 
det A
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |15
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ดังนั้น det(AB 1 )  det A  det(B 1 )


1
 det A 
det B
det A

det B
7

14
1
 
2
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 6. ตอบ 5.
แนวคิด
1 1 1 1
พิจารณาคาของ   
log2 100 log5 100 log2 102 log5 102

1 1
สมบัติ loga bn  n loga b ;  
2 log2 10 2 log5 10

1 1 1 
  
2  log2 10 log5 10 

1 1
สมบัติ  log b a ;   log10 2  log10 5 
loga b 2

1
สมบัติ loga b  loga c  loga (bc) ;  log10 (2  5)
2

1
 log 10
2 10

1
โดยที่ loga a  1 ;  1
2

1
 
2
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |16
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 7. ตอบ 1.
แนวคิด
โจทยกําหนดในกลุมคน 10 คน มีอยู 60% ที่มีเลือดหมู A

40
แสดงวาในกลุม คน 10 คน มีอยู 40% ที่ไมมีเลือดหมู A ซึ่งเทากับ  10  4 คน
100

สุมมา 2 คน พรอมกันจากกลุม
จะได ผลลัพธทั้งหมด (n(S)) = 10
C2
10!
=
(10  2)!2!
= 45

และ ผลลัพธทสี่ ุมไดทงั้ สองคนไมมเี ลือดหมู A (n(E)) = 4 C2


4!
=
(4  2)!2!
= 6

n(E)
ดังนั้น ความนาจะเปนที่สมุ ไดทั้งสองคนนี้ไมมเี ลือดหมู A =
n(S)
6
=
45
2
= 
15
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 8. ตอบ 4.
แนวคิด
กําหนดแผนภาพตน-ใบ ของขอมูลชุดหนึ่ง ดังนี้
4 2 4 5 6
5 1 1 2 3 5 8
6 0 0 0 2 3 4 x
7 0 1 1 2
8 1 2 3
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |17
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

จะไดขอมูลเรียงจากนอยไปมาก ดังนี้
42 , 44 , 45 , 46 , 51 , 51 , 52 , 53 , 55 , 58 , 60 , 60,

60 , 62 , 63 , 64 , (60 + x) , 70 , 71 , 71 , 72 , 81 , 82 , 83

ตําแหนงที่ 17 ตําแหนงที่ 18

จากจํานวนขอมูลทัง้ หมด 24 จํานวน


70
จะไดตําแหนงของเปอรเซ็นไทลที่ 70 เทากับ  (24  1)  17.5
100

(60  x)  70 x  130
จะได คาของเปอรเซ็นไทลที่ 70 เทากับ 
2 2

โจทยกําหนดเปอรเซ็นไทลที่ 70 ของขอมูลมีคาเทากับ 69
x  130
จะไดสมการคือ  69
2
นํา 2 คูณตลอด ; x + 130  138
จะได x8 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 9. ตอบ 3.
แนวคิด
6
โจทยกําหนด สมการของเสนสัมผัสเสนโคง y
x 1

d d
(x  1) (6)  6 (x  1)
dy dx dx
จะได 
dx (x  1)2

dy (x  1)(0)  6(1)

dx (x  1)2

dy 6

dx (x  1)2
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |18
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

6
จะไดความชัน(m)ของเสนสัมผัสเสนโคง y ที่จุด (1, 3) หาจาก
x 1
dy 6
m 
dx (1,3) (1  1)2
6

4
3

2

จากสูตรสมการเสนตรง y  y1  m(x  x1)


6
จะไดสมการของเสนสัมผัสเสนโคง y ที่จุด (1, 3) คือ
x 1
3
y  3   (x  1)
2
นํา 2 คูณตลอด ; 2(y  3)  3(x  1)
2y  6  3x  3
3x  2y  9 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 10. ตอบ 2.


แนวคิด
โดยสูตรผลบวกของอนุกรมเรขาคณิต
a1
a1  a2  a 3  ...  เมื่อ r เปนคาอัตราสวนรวม ซึ่ง r 1
1r
จะได

n         
 cos   n   cos 0    cos      cos2   2   cos 3   3   ...
n 0 3  3 3  3  3 
0 2 3
1  1 1  1
               ...
2  2 2  2
2 3
 1  1  1
 1              ...
 2  2  2
1 1
 [ a1  1 และ อัตราสวนรวม r =  ]
1 2
1  ( )
2
2
 
3
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |19
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ตอนที่ 2
ขอ 11. ตอบ 2.
แนวคิด
โดยที่สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก x จะได
2x2  1  0 และ  x2  2x  1  (x2  2x  1)  (x  1)2  0

ดังนั้น 2x2  1  2x2  1 และ  x 2  2x  1  (x 2  2x  1)

จากอสมการ 2x 2  1   x 2  2x  1  15

จะได 
(2x 2  1)  ( x 2  2x  1)  15
(2x 2  1)  ( x 2  2x  1)  15

x 2  2x  15  0
(x  5)(x  3)  0

 5  3 

จะได –5  x  3

จะพบวาจํานวนเต็ม x ที่สอดคลองกับอสมการไดแก –5, –4, –3, –2, –1, 0, 1, 2, 3


ดังนั้นจํานวนเต็ม x ที่สอดคลองกับอสมการมีทงั้ หมด 9 จํานวน 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 12. ตอบ 3.


แนวคิด
จากสมบัติของจํานวนเต็มบวก n  p1m1  p2m2  pm3 3  ...  pmk k
เมื่อ p1, p2, p3 ,..., pk เปนจํานวนเฉพาะบวก และ m1, m2, m 3 ,..., m k เปนจํานวนนับ
จะไดวาจํานวนตัวหารทีเ่ ปนบวก (m1  1)  (m2  1)  (m 3  1)  ...  (m k  1) จํานวน

ให S เปนเซตจํานวนเต็มบวก n
โดยที่ n มีตัวหารเปนจํานวนเต็มบวก 12 จํานวน
และ 12 = 2  2  3 , 2  6 , 3  4
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |20
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

แสดงวา n เขียนอยูในรูปการแยกตัวประกอบเปน p1  p2  p23 , p1  p25 หรือ p12  p23


เมื่อ p1, p2, p3 จํานวนเฉพาะ
โดยที่ n < 100
จะได n ไดแก 22  3  5 , 2  32  5 , 22  3  7 , 25  3 , 23  32
ไดแก 60 , 90 , 84 , 96 , 72

ดังนั้น S = {60, 90, 84, 96, 72}


โดย n1 คือจํานวนเต็มที่นอยที่สุดใน S
และ n2 คือจํานวนเต็มทีม่ ากทีส่ ุดใน S
แสดงวา n1  60 และ n2  96
ดังนั้น n2  n1  96  60  36 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 13. ตอบ 3.


แนวคิด
สมมติให z  x  yi จากสมการ z2  1  iz  3

จะได (x  yi)2  1  i(x  yi)  3

(x 2  2xyi  y2 )  1  xi  y  3
(x 2  y2  1)  2xyi  (3  y)  xi
(x2  y2  1)2  (2xy)2  (3  y)  xi
(x2  y2  1)2  (2xy)2  0i  (3  y)  xi

ดังนั้น 3  y  (x2  y2  1)2  (2xy)2 และ x=0

แทน x=0 จะได 3  y  (02  y2  1)2  (2  0  y)2

3  y  (y2  1)2
3  y  (1)2 (y2  1)2
3  y  (y2  1)2
โดยที่ y2  1  0 ; 3  y  y2  1

y2  y  2  0
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |21
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

(y  2)(y  1)  0
y  2 , 1

แสดงวาจํานวนเชิงซอนทีส่ อดคลองกับสมการไดแก 0 – 2i , 0 + i
ดังนั้นผลบวกของจํานวนเชิงซอนทั้งหมดที่สอดคลองกับสมการ เทากับ (0 – 2i) + (0 + i) = -i 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 14. ตอบ 5.


แนวคิด
ให r และ s เปนจํานวนจริงบวก
(x  2)2 (y  2)2
โดยที่ P(2, 2) เปนจุดบนวงรีที่มสี มการเปน  1 ...(*)
r2 s2

แสดงวาแทน x = 2 และ y = 2 ในสมการ (*) แลวเปนจริง


(2  2)2 (2  2)2
นั่นคือ  1
r2 s2
16
1
r2
r2  16

โดยนิยามของวงรี ผลบวกของระยะจากจุดใดๆบนวงรีไปยังจุดโฟกัสทัง้ สอง จะมีคาคงตัวเทากับ 2a


โจทยกําหนดใหจุด F1 และ F2 เปนโฟกัสของวงรี และ PF1  PF2  12
โดยนิยามของวงรีจะไดวา 2a  12
a 6

จากสมการ (*) จะไดวา s2  a 2  36 และ r2  b2  16

โดยความสัมพันธของคาคงที่ a 2  b2  c2

จะได 36  16  c2

c2  20

c2 5

ดังนั้นระยะหางระหวาง F1 และ F2 เทากับ 2c = 2(2 5)  4 5 


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |22
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 15. ตอบ 1.


แนวคิด
กําหนดให u และ v เปนเวกตอรในสามมิติ ซึ่งมีสมบัติ ตอไปนี้
2 2
u ไมขนานกับ v , u  v  1 และ uv  3 uv
โดยที่  เปนมุมระหวางเวกเตอร u และ v

2 2 2
โดยที่สมบัติ u  v  u  v  2 u v cos  และ u  v  u v sin 

2 2
จากที่โจทยกําหนด u v  3 uv
2 2 2
จะได u  v  2 u v cos   3  u v sin  
2
โจทยกําหนด u  v 1; 12  12  2(1)(1) cos   3  (1)(1)sin  

2  2 cos   3 sin2 

เอกลักษณ sin2   cos2   1 ; 2  2 cos   3(1  cos2 )

2  2 cos   3  3 cos2 

3 cos2   2 cos   1  0

(3 cos   1)(cos   1)  0 ...(*)

โจทยกําหนด u ไมขนานกับ v แสดงวา   0 ,180 ทําให 1  cos   0

จาก (*) จึงไดวา 3 cos   1  0


1
ดังนั้น cos   
3
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 16. ตอบ 2.


แนวคิด
กําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยม
ที่มีความยาวดานตรงขามมุม A, B และ C เทากับ a, b และ c หนวย ตามลําดับ
โดยที่ ผลบวกของความยาวของสองดานใดๆ จะมากกวาความยาวดานอีกที่เหลือ ...(*)

และโดยกฎของโคไซนเราทราบวา a 2  b2  c2  2bc cos A


รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |23
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ถาให a เปนความยาวดานที่ยาวที่สุดของรูปสามเหลี่ยม
จะพบวา เมื่อมุม Â เปนมุมแหลม ทําให cos A  0
ทําให b2  c2  2bc cos A  b2  c2
นั่นคือ a 2  b2  c2

เมื่อมุม Â เปนมุมฉาก ทําให cos A  0


ทําให b2  c2  2bc cos A  b2  c2
นั่นคือ a 2  b2  c2

เมื่อมุม Â เปนมุมปาน ทําให cos A  0


ทําให b2  c2  2bc cos A  b2  c2
นั่นคือ a 2  b2  c2 ...(**)

จาก (*) และ (**) พิจารณาตัวเลือก ดังนี้


1. โดยที่มี 1 + 2 = 3 ขัดแยงกับ(*) ที่เปนสมบัติของความยาวดานของรูปสามเหลี่ยม
ดังนั้น {1, 2, 3} ไมเปนความยาวดานของดานทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยม

2. โดยที่มี 42  22  32
ดังนั้น {2, 3, 4} เปนความยาวดานของดานทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมปาน

3. โดยที่ 52  32  42
ดังนั้น {3, 4, 5} เปนความยาวดานของดานทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

4. โดยที่ 62  42  52
ดังนั้น {4, 5, 6} เปนความยาวดานของดานทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมแหลม

5. โดยที่ 72  52  62
ดังนั้น {5, 6, 7} เปนความยาวดานของดานทัง้ สามของรูปสามเหลี่ยมมุมแหลม

จากการตรวจสอบ จะไดวาเซตของ {2, 3, 4} เปนความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมมุมปานได 


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |24
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 17. ตอบ 5.


แนวคิด
กําหนดให A และ B เปนเมทริกซมิติ 33 และ I เปนเมทริกซเอกลักษณการคูณมิติ 33
โดยที่ ABt  I

แสดงวา A 1  B t ...(*)

พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. จาก (*) จะพบวา BtA  A 1A  I

โดยที่โจทยกําหนด ABt  I

ดังนั้น ABt  Bt A
แสดงวาขอความ ก. ถูก

ข. จาก (*) เราไดวา A 1  Bt


แสดงวาขอความ ข. ถูก

ค. โดยที่โจทยกําหนด ABt  I
จะได (AB t )t  I t

(B t )t A t  I

BA t  I
ดังนั้น B 1  A t ...(**)
แสดงวาขอความ ค. ถูก

ง. โดยที่สมบัติ (AB)1  B 1A 1

จาก (*) และ (**) ;  A tB t

โดยสมบัติทรานโพส ;  (BA)t
แสดงวาขอความ ง. ถูก

จากการพิจารณาทั้งสี่ขอความ จะไดวามีจํานวนขอความที่ถูกตองเทากับ 4 ขอความ 


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |25
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 18. ตอบ 2.


แนวคิด
กําหนดให x และ y เปนจํานวนเต็มบวก ที่สอดคลองกับสมการ
1 1
x y x 2
6  (12  3 )

x(x 2) x(x 2)


 1  1 
y x 2 
จะได 6 x 
 

  (12  3 ) 

6 x  2  (12  3 y )x

(2  3)x  2  (22  3  3 y )x

2 x  2  3 x  2  (22  31 y )x

2 x  2  3 x  2  22x  3 x  xy

นํา 2 x  2  3x  2 หารตลอด ; 2 x  2  3 xy 2  1

2 x  2  3 xy  2  20  3 0

แสดงวา x–2=0 และ xy – 2 = 0

จาก x–2=0 จะได x=2

แทน x = 2 ใน xy – 2 = 0 จะได 2y – 2 = 0
y=1

ดังนั้น x+y=2+1=3 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 19. ตอบ 1.


แนวคิด
โดยสมบัติ loga x  b จะได x  ab
จากสมการ log2 log2 (7x  10)  logx 16  3 ...(*)
จะได log2 (7x  10)  log x 16  2 3
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |26
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

log2 (7x  10)  log x 24  8

โดยสมบัติ loga bn  n loga b ; log2 (7x  10)  (4 log x 2)  8

นํา 4 หารตลอด ; log2 (7x  10)  log x 2  2

1 1
โดยสมบัติ loga b  ; log2 (7x  10)   2
logb a log2 x

นํา log2 x คูณตลอด ; log2 (7x  10)  2 log2 x

โดยสมบัติ n loga b  loga bn ; log2 (7x  10)  log2 x 2

ดังนั้น 7x  10  x 2

x 2  7x  10  0

(x  2)(x  5)  0

x 2,5

ตรวจสอบคําตอบ

แทน x=2 ในสมการ (*)

จะได log2  log2 (7  2  10)  log2 16   log2  log2 4  log2 16 


 log2 log2 22  log2 24 
 log2  2 log2 2  4 log2 2 
 log2  2  4 
 log2 8

 log2 23
 3 log2 2
3

แสดงวาสมการ (*) เปนจริง


รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |27
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

แทน x=5 ในสมการ (*)

จะได log2  log2 (7  5  10)  log5 16   log2  log2 25  log5 16 


 log2 log2 52  log5 24 
 log2  2 log2 5  4 log5 2 

 2 log 5 4 log 2 
 log2   
 log 2 log 5 

 log2 8

 log2 23

 3 log2 2

3
แสดงวาสมการ (*) เปนจริง

ดังนั้นคําตอบของสมการไดแก 2 , 5
จะไดผลบวกของคําตอบของสมการ เทากับ 2+5=7 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 20. ตอบ 1.


แนวคิด
กําหนดให a1 , a 2 , a 3 , ... , a 50 เปนลําดับเลขคณิต ที่มี d เปนผลตางรวม

โดยที่ a 50  a1  49d

โจทยกําหนด a1  5 และ a50  103 ; 103  5  49d

49d  98

d2
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |28
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ดังนั้น a12  a 22  a 23  a 24  ...  a 249  a 50


2

 (a1  a 2 )(a1  a 2 )  (a 3  a 4 )(a 3  a 4 )  ...  (a 49  a 50 )(a 49  a 50 )

 (d)(a 1  a 2 )  (d)(a 3  a 4 )  ...  (d)(a 49  a 50 )

 (d)  a1  a 2  a 3  a 4  ...  a 49  a 50 

 (d) S50

 50  n
 (d)  (a1  a 50 )  [เพราะ Sn  (a  a n ) ]
 2  2 1
 50 
 (2)  (5  103)  [เพราะ d = –2, a1  5 , a 50  103 ]
 2 
 5, 400 

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 21. ตอบ 4.


แนวคิด

4x  8 เมื่อ x < 2 2
ให f(x)   และ g(x)   f(x)
 x2  4 เมื่อ x  2

(4x  8)2 เมื่อ x < 2



แสดงวา g(x)  
(x2  4)2

เมื่อ x  2

 16x2  64x  64 เมื่อ x < 2




 x4  8x2  16 เมื่อ x  2

สําหรับ x2 จะได g(x)  4x 3  16x

 4x(x2  4)

จะพบวา g(2)  4(2)(22  4)  0

ดังนั้น สมการ g(x)  8 ไมมีคําตอบเมื่อ x  2


รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |29
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

สําหรับ x < 2 จะได g(x)  32x  64


พิจารณาสมการ g(x)  8
จะได 32x  64  8
56
x
32
7

4
7 7
และพบวา 2 แสดงวา g(x)  8 มี x เปนคําตอบสมการ
4 4

7
ดังนั้นคา c ที่สอดคลองกับสมการ g(c)  8 มีคาเทากับ 
4
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 22. ตอบ 5.


แนวคิด
ให f(x) เปนฟงกชันกําลังสอง
โดยที่กราฟของ y = f(x) มีจุดต่ําสุดที่ (0, 9) และตัดแกน X จุด ( x1 , 0) และ (x2, 0)

โดยที่ f(x) เปนฟงกชันกําลังสอง จะได f(x)  a(x  h)2  k


เมื่อ (h, k) เปนจุดยอด(จุดต่ําสุดหรือจุดสูงสุด) และ a เปนคาคงที่ซงึ่ ไมเทากับ 0

โดยที่กราฟของ y = f(x) มีจุดต่ําสุดที่ (0, 9) จะได f(x)  a(x  0)2  9

f(x)  ax2  9

พิจารณาจุดตัดแกน X ของกราฟของ y = f(x)


ให f(x) = 0 จะได ax2  9  0
9
x2 
a
3
x
a
3 3
ดังนั้นจุดตัดแกน X คือ ( , 0) และ ( , 0)
a a
3 3
นั่นคือจุด ( x1 , 0) คือ ( , 0) และ (x2 , 0) คือ ( , 0)
a a
และจะไดกราฟดังรูป
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |30
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.
y

0 x
3 3

a a

9

โดยที่พื้นที่ซงึ่ ปดลอมดวยกราฟของ y = f(x) และแกน X จาก x1 ถึง x2 เทากับ 18 ตารางหนวย


3
a
ดังนั้น   ax2  9 dx  18
3

a
3
 ax3  a

  9x  18
 3  
3
a


 a 3 3 3  a 3 3 3  

 ( )  9( )   ( )  9( )
  18
 3 a

 a  3 a a 

 a 27
 3  a 27 3  

 ( )  9( )   ( )  9( )
  18
 3 a a

 a  3 a a a 


 9 27   9 27  

      )
  18
 a

 a  a a  

 18 18 
    18
 a a 
36
 18
a
a 2

ยกกําลังสองทั้งสองขาง ; a4

แทน a = 4 ใน f(x) = ax2  9 จะได f(x)  4x2  9

ดังนั้น f(2)  4(2)2  9  7 


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |31
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 23. ตอบ 1.


แนวคิด
คะแนนสอบคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร มีการแจกแจงปกติ
โดยที่ คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร มีคาเฉลี่ยเลขคณิต (1 ) เทากับ 60 คะแนน
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (1) เทากับ 8 คะแนน
คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร มีคาเฉลี่ยเลขคณิต ( 2 ) เทากับ 65 คะแนน
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (2 ) เทากับ 6 คะแนน
ให x1 และ x2 เปนคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ตามลําดับ

x
โดยสูตรคํานวณคะแนนมาตรฐาน z

โดยที่คะแนนสอบของมนัส มีคะแนนมาตรฐานของคะแนนสอบทั้งสองวิชาเทากัน จะได

x1  1 x2   2

1 2

แทน 1  60, 1  8, 2  65, 2  6 จะได

x1  60 x2  65

8 6
6x1  360  8x2  520
8x2  6x1  160
นํา 2 หารตลอด ; 4x2  3x1  80 ...(1)

โดยที่นายมนัสมีคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตรมากกวาคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรอยู 2 คะแนน จะได

x 2  x1  2
นํา 4 คูณตลอด ; 4x2  4x1  8 ...(2)

นํา (1) – (2) ; x1  72

ดังนั้น นายมนัสสอบไดคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรเทากับ 72 คะแนน 


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |32
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 24. ตอบ 4.


แนวคิด
เมื่อสรางตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียนจํานวน 48 คน
โดยใหความกวางของแตละอัตรภาคชั้นเปน 10
โดยที่ มีนักเรียนไดคะแนนต่ํากวา 50 คะแนน อยู 20 คน
และ มีนักเรียนไดคะแนนตั้งแต 60 คะแนนขึ้นไปอยู 20 คน
จะไดตารางแจกแจงความถี่ดังนี้

คะแนน จํานวนนักเรียน ความถี่สะสม

20 คน
40 – 49 20
50 – 59 28 – 20 = 8 48 – 20 = 28
60 – 69
20 คน

N 
   F 
 L 

จากสูตรคํานวณคามัธยฐาน เทากับ L  I  2 
 f 

โดยโจทยกําหนดวามัธยฐานอยูในชวง 50 – 59
จะได ขอบลางของอัตรภาคชั้น( L ) เทากับ 49.5
ความกวางของอันตรภาคชั้น( I ) เทากับ 10
ความถี่ของอัตรภาคชั้น( f ) เทากับ 8
จํานวนขอมูลทัง้ หมด ( N ) เทากับ 48
ผลรวมความถี่ของอันตรภาคชั้นที่มีคะแนนนอยกวา (  fL ) เทากับ 20

 48 
  20 
 
ดังนั้น มัธยฐาน = 49.5  10  2 
 8 
4
= 49.5  10  
8
= 49.5  5
= 54.5 คะแนน 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |33
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 25. ตอบ 3.


แนวคิด
กําหนดให S  {10 ,  9 ,  8 , ... ,  1 , 0 , 1 , ... , 8 , 9 , 10}

จะได n(S  S)  n(S)  n(S)  21  21  441

สุมหยิบคูอันดับ (a, b)  S  S มา 1 คูอันดับ จะไดผลลัพธทงั้ หมด 441 วิธี


พิจารณาเหตุการณที่สมุ ไดคูอันดับ (a, b) แลวทําให a  b  0 จะมีผลลัพธที่เกิดขั้นทั้งหมดไดแก
(–10, –10), (–9, –9), (–8, –8), (–7, –7), (–6, –6), (–5, –5), (–4, –4),
(–3, –3), (–2, –2), (–1, –1), (0, 0), (1, –1), (2, –2), (3, –3), (4, –4),
(5, –5), (6, –6), (7, –7), (8, –8), (9, –9), (10, –10)

ซึ่งมีทงั้ หมด 21 วิธี

21 1
ดังนั้นในการสุมคูอันดับ (a, b)  S S ความนาจะเปนที่ a b0 เทากับ  
441 21
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 26. ตอบ 4.


แนวคิด
ขอมูล 20 จํานวน เรียงจากนอยไปมากไดเปน x1 , x2 , x 3 , ... , x20
โดยมี ฐานนิยม  x1
คาเฉลี่ยเลขคณิต  x
มัธยฐาน = m
และ พิสัย = R

ถาตัด x1 ออกจะไดขอมูลชุดใหมคือ x2 , x 3 , ... , x20 พิจารณาขอความดังนี้

ก. เนื่องฐานนิยมของขอมูลชุดเกา x1 , x2 , x 3 , ... , x20 มีคาไทเทากับ x1


ดังนั้นจะมี x k ที่เปนฐานนิยม เมือ่ k เปนจํานวนเต็มซึง่ 1  k  20
แสดงวาขอมูลชุดใหม x2, x 3,..., x20 มีคามัธยฐานเทากับ x k
นั่นคือ ฐานนิยมของขอมูลชุดใหม เทากับ ฐานนิยมของขอมูลชุดเกา
แสดงวาขอความ ก. ถูก
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |34
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ข. เนื่องจากคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดเกา x1 , x2 , x 3 , ... , x20 เทากับ x

x1  x2  x3  ...  x20
ดังนั้น x
20
x1  x 2  x 3  ...  x20  20x
x2  x 3  ...  x20  20x  x1 ...(*)

x2  x3  ...  x20
จะไดคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดใหม x2 , x 3 ,..., x20 
19
20x  x1
จาก (*) จะได 
19
19x  x  x1

19
x  x1
x
19
x  x1
โดยที่ x1 มีคานอยที่สุด ดังนั้น x1  x ทําให x x
19
นั่นคือ คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดใหม  x
แสดงวาขอความ ข. ถูก

ค. เนื่องจากมัธยฐานของขอมูลชุดเกา x1 , x2 , x 3 , ... , x20 เทากับ m


20  1
และตําแหนงของมัธยฐานเทากับ  10.5
2
x10  x11
ดังนั้น มัธยฐาน เทากับ
2
x10  x11
นั่นคือ m
2

พิจารณาขอมูชุดใหม x2 , x 3 , ... , x 20

19  1
จะไดตําแหนงของมัธยฐานเทากับ  10
2
ดังนั้น มัธยฐาน เทากับ x11

x11  x11 x10  x11


โดยที่ x11  x10 แสดงวา x11   m
2 2
ดังนั้นมัธยฐานของขอมูลชุดใหม  m
แสดงวาขอความ ค. ถูก
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |35
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ง. เนื่องจากพิสัยของขอมูลชุดเกา x1 , x2 , x 3 , ... , x20 เทากับ R


จะได R  x20  x1

พิจารณาขอมูชุดใหม x2 , x 3 , ... , x 20

จะได พิสัย = x20  x 2

โดยที่ x1  x 2 ทําให x20  x2  x20  x1  R


ดังนั้นพิสัยของขอมูลชุดใหม  R
แสดงวาขอความ ง. ผิด

จากการพิจารณาทั้งสี่ขอความ จะไดวามีจํานวนขอความที่ถกู ตองเทากับ 3 ขอความ 


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอ 27. ตอบ 4.


แนวคิด
กําหนดให a1 , a 2 , a 3 , ... , a 51 เปนขอมูลซึ่งเรียงกันเปนลําดับเรขาคณิต
5
มี a1  1 และอัตราสวนรวมของลําดับ (r) เทากับ 
4

โดยที่ a1  0 และ r < –1 และจากสมับติของลําดับเรขาคณิต a n 1  a n r

จะได a 50  a 48  a 46  ...  a 2  0 และ 0  a1  a 3  a 5  ...  a 51

เมื่อเรียงคาจากนอยไปหามากจะไดเปน

a 50 , a 48 , a 46 , ... , a 2 , a1 , a 3 , ... , a 47 , a 49 , a 51

25 ตัว 26 ตัว

จะพบวา a1 อยูตําแหนงกึ่งกลางของขอมูลที่เรียงจากนอยไปมาก
ดังนั้นมัธยฐานของขอมูล a1 , a2 , a 3 , ... , a 51 เทากับ a1  1 
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |36
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 29. ตอบ 4.


แนวคิด
ให S  5 ,  4 ,  3 ,  2 ,  1 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5
 a b  
และ M  a, b, c, d  S 
  c d  
จะได จํานวนสมาชิกของเซต M = จํานวนเมทริกซ ที่แตละตําแหนงเปนสมาชิกของ S
= 10  10  10  10
= 10,000 เมทริกซ

แสดงวาสุมหยิบ 1 เมทริกซจากเซต M จะไดผลลัพธทั้งหมด = 10,000 วิธี ...(*)

 0 1 a b
กําหนดเมทริกซ A  พิจารณาเหตุการณสมุ หยิบไดเมทริกซ B  ที่ทําให
 1 0  c d
det(A + B) = detA + detB
 0 1 a b  0 1 a b
det       det      det  
 1 0 

  c d 
 1 0  c d         
a b 1 0 1 a b
 
c 1 d 1 0 c d

ad – (b + 1)(c – 1) = (0 – (–1)) + (ad – bc)

ad – bc + b – c – 1 = 1 + ad – bc

b–c = 0

b = c

แสดงวา det(A + B) = detA + detB ก็ตอเมื่อ b = c


ดังนั้น จํานวนเมทริกซ B ใน M มีทั้งหมด 10 10  1  10 = 1,000 เมทริกซ

แสดงวาสุมเมทริกซ B ใน M
แลวทําให det(A + B) = detA + detB ไดทั้งหมด 1,000 วิธี ...(**)
จาก (*) และ (**) จะได
ความนาจะเปนที่จะสุมเมทริกซ B ใน M ซึ่งทําให det(A + B) = detA + detB
1, 000 1
เทากับ  
10, 000 10
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |37
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

ขอ 30. ตอบ 4.


แนวคิด
 
ถา a1 , a 2 , a 3 , ... , a n เปนลําดับเลขคณิต ซึ่งมี a1  และผลตางรวมเทากับ
12 3

จากสูตรพจนทั่วไปของลําดับเลขคณิต a n  a1  (n  1)d

   
แทน a1  และ d จะได an   (n  1)
12 3 12 3
(4n  3)

12

65
จะได  sin(a n )
n 1

65 (4n  3)
  sin
n1 12

 5 9 257
 sin  sin  sin  ...  sin
12 12 12 12

2
  2 sin
 5 9 257  12
 sin  sin  sin  ...  sin  
 12 12 12 12  2
2 sin
12

  2 5 2 9 2
 2 sin sin  2 sin sin  2 sin sin  ...
 12 12 12 12 12 12
257 2  1
2 sin sin  
12 12  2
2 sin
12

  3 3 7 7 11
 (cos  cos )  (cos  cos )  (cos  cos )  ...
 12 12 12 12 12 12
255 259  1
(cos  cos ) 
12 12  2
2 sin
12
รหัสวิชา 39 คณิตศาสตร์ 1 หน้า |38
วันอาทิตย์ที 18 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.

  259  1
 cos  cos 
 12 12  2
2 sin
12

    
   259     259  
  
12  sin  12 
12  1
 2 sin  12    

  2  2  2
2 sin
12

  65   43  1


  sin   sin  
 
  6   4  
sin
6

 5   3  1
 sin 10   sin 10   
 6   4  1
2

5 3
 (sin sin )  2
6 4

1 2
  2
2 2
2

2
1
 
2
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

You might also like