You are on page 1of 111

๓๐

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล
๒๒

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙
เรื่อง มุ่งลิขิต คิดเหตุผล (จานวน ๑๐ ชั่วโมง)

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ
ดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วดั ป.๕/๖ อ่านและฟังคาอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนาและปฏิบัติตาม
ตัวชี้วดั ป.๕/๔ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
ตัวชี้วดั ป.๕/๕ วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อา่ น เพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิต
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วดั ป.๕/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด
ตัวชี้วดั ป.๕/๙ มีมารยาทในการเขียน
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารญาณและสร้างสรรค์
ตัวชี้วดั ป.๕/๑ การพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สกึ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ตัวชี้วดั ป.๕/๓ วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดู
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษา และหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา และพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทย ไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วดั ป.๕/๒ จาแนกส่วนประกอบของประโยค
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วดั ป.๕/๒ ระบุความรู้หรือข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตจริง
๒๓

ลาดับการนาเสนอสาระการเรียนรู้หลักของหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙
เรื่อง มุ่งลิขิต คิดเหตุผล

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

การอ่านแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การพูดโน้มน้าวใจ

การอ่านพระบรมราโชวาท การพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น


ความรู้สึกจากการอ่านวรรณกรรม
เรื่อง กระเช้าสีดา
การอ่านโฆษณา และอ่านเชิญชวน

การเขียนประโยค ตอบคาถามและเขียน
การอ่านสารโน้มน้าวใจ แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน

การคัดลายมือพระบรมราโชวาท ระบุข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง กระเช้าสีดา

การเขียนโฆษณา และเขียนเชิญชวน ใฝ่เรียนรู้ มีความรับผิดชอบ


มีวินัยในการอยู่ร่วมกัน
การเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ

การพูดโฆษณา และการพูดเชิญชวน
๓๑

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง มุ่งลิขิต คิดเหตุผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

๑. การอ่านเรื่องการแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
๑. รอบรู้ ๒. การอ่านบทความ
สู่การแก้ปัญหา ๓. การเขียนแผนภาพความคิดแยกข้อเท็จจริง
จำนวน ๒ ชั่วโมง และ ข้อคิดเห็น
การอ่านวรรณคดีเรื่อง “กระเช้าของสีดา”

๒. ใช้ภาษาพัฒนาชีวิต

๒๔
จำนวน ๒ ชั่วโมง
๕. เรียนวรรณคดีพื้นบ้าน
จำนวน ๒ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙
เรื่อง มุ่งลิขิต คิดเหตุผล
๑. การอ่านพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ
(๒ชั่วโมง) เวลา ๑๐ ชั่วโมง พระเจ้าอยู่หัวฯ
๒. การตอบคาถามจากการอ่านพระบรมราโชวาท
๓. การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
- การแต่งประโยคตามจินตนาการ และครึ่งบรรทัด
- การจาแนกส่วนประกอบ (๒ ชั่วโมง)
ของประโยค ๔. เขียนประโยคตามวิธี
จำนวน ๒ ชั่วโมง (๑๐ ชั่วโมง)
- การอ่าน เขียน และพูด ๓. ลิขิตวิเคราะห์ความ
คาโฆษณา และคาเชิญชวน จำนวน ๒ ชั่วโมง
โน้มน้าว
๒๕

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ใบสรุปหน้าหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ ชื่อหน่วย มุ่งลิขิต คิดเหตุผล
จานวนเวลาเรียน ๑๐ ชั่วโมง จานวนแผนการจัดการเรียนรู้ ๕ แผน
………………………………………………………………………………………………………..………………………………………..
สาระสาคัญของหน่วย
การอ่านเรื่อง บทความ แผนภาพความคิด พระบรมราโชวาท การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
การตอบคาถาม การอ่าน เขียน พูดคาโฆษณา และคาเชิญชวน โน้มน้าว
การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด การแต่งประโยคตามจินตนาการ การจาแนก
ส่วนประกอบ การระบุลักษณะของประโยค การอ่านวรรณคดี และบอกคุณค่าของวรรณคดี
มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวชีว้ ัด ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖
มาตรฐาน ท ๒.๑ ตัวชีว้ ัด ป.๕/๑ ป.๕/๙
มาตรฐาน ท ๓.๑ ตัวชีว้ ัด ป.๕/๑ ป.๕/๓
มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชีว้ ัด ป.๕/๒
มาตรฐาน ท ๕.๑ ตัวชีว้ ัด ป.๕/๒
ลาดับการเสนอแนวคิดหลักของหน่วย
การอ่านแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การอ่านพระบรมราโชวาท การอ่านโฆษณา และ
อ่านเชิญชวน การอ่านโน้มน้าวใจ การคัดพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การเขียนโฆษณา และเขียนเชิญชวน การเขียนโน้มน้าวใจ การพูดโฆษณา และการพูดเชิญชวน
การพูดโน้มน้าวใจ การพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นความรู้สึกจากวรรณคดีเรื่อง กระเช้าสีดา
การเขียนประโยค ตอบคาถามและเขียน แสดงความคิดเห็นวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน อธิบายข้อคิด
จากการอ่านวรรณคดี เรื่อง กระเช้าสีดา ใฝ่เรียนรู้ ความรับผิดชอบมีวินัย การอยู่รว่ มกัน
โครงสร้างหน่วย
จานวน จานวน
หน่วยที่ ชื่อหน่วย ชื่อแผน
แผน ชั่วโมง
๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล ๕ รอบรู้สู่การแก้ปัญหา ๒
ใช้ภาษาพัฒนาชีวิต ๒
ลิขิตวิเคราะห์ความ ๒
เขียนประโยคตามวิธี ๒
เรียนวรรณคดีพื้นบ้าน ๒
๒๖

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

คาชี้แจงประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง รอบรู้สู่การแก้ปัญหา เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. สาระสาคัญของแผน
การอ่านบทความ การเขียนแผนภาพความคิดการแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น

๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการนาไปใช้
๒.๑ ขอบข่ายเนื้อหา
การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
๒.๒ จุดประสงค์การเรียนรู้
แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมเรียนรู้เขียนแผนภาพความคิด
- จัดกิจกรรมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทากิจกรรมใบงาน
การแยกข้อเท็จจริง
- ตรวจผลงานจากนักเรียนทาใบงาน
- จัดกิจกรรมสรุปเรื่องทีศ่ ึกษา
๒.๔ ดาเนินการทดสอบก่อนเรียน ตามแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
๒.๕ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย
- แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
- แบบบันทึกคะแนน
- ใบงาน
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- เกณฑ์การประเมินผลงานได้คะแนน ร้อยละ ๗๐
แนวทางการจัดกิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง รอบรู้สู่การแก้ปัญหา เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา - เขียนแผนภาพความคิดจากภาพที่กาหนดให้ จากข่าวเรื่อง “การดูโทรทัศน์จะบริโภคอาหารมากกว่าเดิม”

- ทดสอบก่อนเรียน
- อ่านใบความรู้เรือ่ งการแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
- ทากิจกรรมใบงานที่ ๐๑ แยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นจากเรื่อง “ฮือฮาน้าใบบัวบก ล้างผักสดลดเชื้อโรคได้””
ขั้นสอน - ทากิจกรรมใบงานที่ ๐๒ ตอบคาถามจากเรื่อง “ฮือฮาน้าใบบัวบก ล้างผักสดลดเชื้อโรคได้”

๒๗
- ครูตรวจผลงานนักเรียน

ขั้นสรุป - สรุปความรูท้ ี่ได้จากการศึกษาใบความรู้เรือ่ ง การแยกข้อเท็จจริงจากการอ่านเรื่องที่กาหนด


- ทบทวนสิ่งที่เรียนรูจ้ ากเรื่องที่อ่าน

วัดและประเมินผล - แบบทดสอบก่อนเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง รอบรู้สู่การแก้ปัญหา เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรม ครั้งที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง สื่อ / แหล่งเรียนรู้
๑. การอ่านเรื่องการแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น ขั้นนา ใบความรู้เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
๒. การอ่านข่าวเรื่อง “การดูโทรทัศน์จะบริโภค ๑.ครูแจกใบงานขั้นนาแผนที่ ๐๑ โดยให้นักเรียนทุกคน ภาระงาน / ชิ้นงาน
อาหารมากกว่าเดิม”และ เรื่อง “ฮือฮาน้าใบบัวบก อ่านข่าวเรื่อง “การดูโทรทัศน์จะบริโภคอาหารมาก ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน
ล้างผักสดลดเชื้อโรคได้” กว่าเดิม” แล้วเขียนแสดงความคิดเห็น จากการดูภาพที่ ๒. กิจกรรมใบงานขั้นนาแผนที่ ๐๑ การอ่านข่าวเรื่อง
๓. การเขียนแผนภาพความคิดแยกข้อเท็จจริงและ กาหนด ให้สมาชิกในชั้นส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าชั้น “การดูโทรทัศน์จะบริโภคอาหารมากกว่าเดิม” แล้ว
ข้อคิดเห็น เรียน ครูและเพื่อนร่วมอภิปรายเพิ่มเติมตามความ เขียนแสดงความคิดเห็น จากการดูภาพที่กาหนด
จุดประสงค์การเรียนรู้ เหมาะสม ๓. กิจกรรมใบงานที่ ๐๑ การแยกข้อเท็จจริงและ
ขั้นสอน ข้อคิดเห็นจากการอ่านเรือ่ ง “ฮือฮาน้าใบบัวบกล้างผัก
ความรู้

๒๘
๒. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน ๑๐ ข้อ สดลดเชื้อโรคได้”
- แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
๓. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง “การแยกข้อเท็จจริง ๔. กิจกรรมใบงานที่ ๐๒ การตอบคาถามจากการอ่าน
ทักษะ
และข้อคิดเห็น” เรื่อง “ฮือฮาน้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้”
๑. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจาก
๔. ครูแจกใบความรู้เรื่องการแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
เรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
ให้นักเรียนทุกคนศึกษา ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย
๒. ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
เพิ่มเติม
๕. ครูแจกใบงานที่ ๐๑ เรื่อง ““ฮือฮาน้าใบบัวบกล้างผัก
สดลดเชื้อโรคได้”” ให้นกั เรียนดูภาพและอ่านข่าว แล้ว
เขียนข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น ลงในแผนภาพความคิด
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ (ต่อ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง รอบรู้สู่การแก้ปัญหา เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
คุณธรรม ๖. ให้นักเรียนส่งตัวแทนนาเสนอผลงานของตนเอง การประเมิน
๑. ใฝ่เรียนรู้ ครูช่วยชี้แนะเพิ่มเติม ๑. ประเมินพฤติกรรมขณะเรียน
๒. มีความรับผิดชอบ ขั้นสรุป ๒. ประเมินจากผลงาน / ใบงาน
๓. มีวินัยในการอยูร่ ่วมกัน ๗. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการแยกข้อเท็จจริง
และข้อคิดเห็น
๘. ให้นักเรียนจดบันทึกเรื่อง การแยกข้อเท็จจริงและ
ข้อคิดเห็น จากใบความรูเ้ ป็นการบ้าน

๒๙
กิจกรรมครั้งที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง
ขั้นนา
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเรื่องที่เรียน
มาแล้ว และเลือกผลงานการจดบันทึกที่ดีทสี่ ุดให้นักเรียน
ทุกคนดูเป็นตัวอย่าง พร้อมทั้งกล่าวชมเชย หรือ มอบ
รางวัลตามความเหมาะสม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ (ต่อ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง รอบรู้สู่การแก้ปัญหา เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ขั้นสอน วิธีการประเมิน
๒. สุ่มตัวแทนนักเรียนนาข่าวที่นักเรียนเคยฟังหรืออ่านมาเล่าให้เพื่อน ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
ในชั้นเรียนฟัง แล้วช่วยกันอภิปรายถึงข้อความที่เป็นข้อเท็จจริงและ ๒. ตรวจผลงาน
ข้อคิดเห็นจากข่าวที่ฟัง เครื่องมือประเมิน
๓. ครูแจกใบงานที่๐๒ เรื่องการตอบคาถามโดยให้อ่านข่าวเรื่อง “” ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
แล้วตอบเรื่อง “ฮือฮาน้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชือ้ โรคได้” ๒. แบบบันทึกคะแนน
คาถามตามประเด็น ๓. ใบงาน
๔. ครูตรวจผลงานของนักเรียน และเลือกชิ้นงานที่ถูกต้องที่สุดไว้เป็น เกณฑ์การประเมิน
ตัวอย่างและร่วมแสดงความคิดเห็น ผลงานได้คะแนน ร้อยละ ๗๐
ขั้นสรุป

๓๐
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนเกี่ยวกับ
การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
๓๑
  ท ๙/ผ.๑

แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ รอบรู้สู่การแก้ปัญหา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
.......................................................................................................................................
คาชี้แจง นักเรียนทาเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
๑. ข้อใดเป็นข้อเท็จจริง
ก. การดูโทรทัศน์เป็นหนึ่งปัจจัยที่คนเราชอบ
ข. การดูโทรทัศน์ก็ถูกกล่าวโทษว่าอาจเป็นสาเหตุที่ทาให้อ้วน
ค. กลุ่มตัวอย่างที่ดูภาพยนตร์ไม่ควรจะนาขนมขบเคี้ยวเข้าไปรับประทาน
ง. ขณะดูหนังมักกินขนมขบเคี้ยวมากกว่าเดิมเกือบสองเท่าซึ่งอาจนาไปสู่ความอ้วน
๒. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น
ก. เชื้อแบคทีเรียมีมากที่สุดในแตงกวา ร้อยละ ๙๔
ข. ผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างผักสดเครื่องเคียงในร้านอาหาร
ค. เชื้อแบคทีเรียจะสร้างสารพิษที่อาจจะทาให้ท้องเสียได้
ง. น้าใบบัวบกสามารถลดเชื้อที่ปนเปื้อนได้ดีกว่าน้าสะอาดถึง ๑.๕ เท่า
๓. พระบรมราโชวาทมีคุณค่าด้านใดมากที่สุด
ก. ด้านสังคม ข. ด้านเนื้อหา
ค. ด้านการใช้ภาษาไทย ง. ด้านการนาไปใช้ในชีวิต
๔. การเขียนหนังสือให้ถูกต้อง ชัดเจน มีประโยชน์ด้านใดมากที่สุด
ก. ด้านผลการเรียน ข. ด้านการสื่อสาร
ค. ด้านการเขียนจดหมาย ง. ด้านการแสดงความคิดเห็น
๕. นักเรียนใช้หลักการตามข้อใดในการเลือกสินค้าจากคาโฆษณา
ก. ความสมเหตุสมผล ข. รูปแบบการนาเสนอ
ค. ตรงกับความต้องการ ง. คุณประโยชน์ของสินค้า
๓๒
  ท ๙/ผ.๑

๖. จากคาโฆษณาต่อไปนี้ข้อใดน่าเชื่อถือมากที่สุด
ก. ยิ้มสวยทุกองศา ด้วยยาสีฟันตราใบข่อย
ข. หุ่นดี สุขภาพดี ออกกาลังกายที่ศูนย์นภา
ค. ข้าวอบแกงเขียวหวาน ทาง่ายเหมือนร่ายมนต์
ง. สบู่ตราแสงจันทร์ ใช้ทุกวันผิวพรรณขาวผ่องเป็นยองใย
๗. ข้อใดเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ ได้สมเหตุสมผลที่สุด
ก. ประณีตแบบวิถีไทย ขนมเรไรจากร้านน้องอร
ข. ซาหริ่มสวย มากด้วยคุณภาพ จากร้านจ๊าบศรี
ค. อร่อยแบบไทย ปลายจวักกุลสตรีที่ครัวสมหญิง
ง. ไม่ใส่ผงชูรส งดวัตถุกันเสียแน่ ต้องน้าพริกแม่จอม
๘. “แม่ของฉันแกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมาก” จากประโยคนี้ ข้อใดเป็นภาคแสดง
ก. แกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมาก ข. แกงส้มผักบุ้ง
ค. อร่อยมาก ง. ของฉัน
๙. ข้อใดเป็นประโยชน์มากที่สุดจากการอ่านวรรณคดี
ก. การใช้ภาษาในการเขียน
ข. ความบันเทิงจากเรื่องที่อ่าน
ค. การสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทย
ง. การนาข้อคิดไปใช้ในการดาเนินชีวิต
๑๐. จากวรรณคดีเรื่อง “กระเช้าของนางสีดา” ให้คุณธรรมเรื่องใด
ก. ความมีวินัย ข. ความมีน้าใจ
ค. ความกตัญญู ง. ความรับผิดชอบ
...............................................................................................................................................
๓๓

  ท ๙/ผ.๑

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๑. ก ๒. ค
๓. ง ๔. ข
๕. ก ๖. ข
๗. ง ๘. ก
๙. ง ๑๐. ข
๓๔

 ท ๙/ผ.๑

ใบความรู้
การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น

การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง หมายถึง เหตุการณ์ที่มีจริง หรือเป็นจริง พิสูจน์ได้
ข้อคิดเห็น หมายถึง ความเห็น ความรูส้ ึกนึกคิดของผู้ส่งสารที่สอดแทรกอยู่ใน
เหตุการณ์ซึ่งแสดงตารางเปรียบเทียบ ดังนี้

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๑. มีความเป็นไปได้ ๑. แสดงความรู้สึก
๒. มีความสมจริง ๒. แสดงการคาดคะเน
๓. มีหลักฐานเชื่อถือได้ ๓. แสดงการเปรียบเทียบหรืออุปมาอุปไมย
๔. มีความสมเหตุสมผล ๔. แสดงการเสนอแนะความคิดของผู้พูดหรือ
ผู้เขียน

ตัวอย่างที่เป็นข้อเท็จจริง
๑. พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทย
ในปีพ.ศ. ๑๘๒๖ ๑๘๒๖
(พิสูจน์ได้ด้วยหลักฐานทางประวัติศาสตร์)
๒. ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว (พิสูจน์ได้จากประสบการณ์)
ตัวอย่างข้อความที่เป็นความคิดเห็น
๑. คนที่เดินนาหน้ามักเป็นผู้ชายเสมอ (ไม่มีขอ้ ยืนยัน)
๒. อากาศในภาคเหนือของไทยดีที่สุด (ไม่มีข้อวินิจฉัย)
๓๕
 ท ๙/ผ.๑

ใบความรู้
การอ่านจับใจความสาคัญ

การอ่านจับใจความ

ความหมายของการอ่านจับใจความสาคัญ
ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความที่เด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้า
ที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอืน่ ๆ ในย่อหน้านั้นหรือประโยคที่สามารถ
เป็นหัวเรือ่ งของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนือ้ ความของประโยคอื่นออกหมด โดยไม่ต้องมี
ประโยคอื่นประกอบ ซึ่งในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญเพียงประโยคเดียว
หรืออย่างมากไม่เกิน ๒ ประโยค

หลักการอ่านจับใจความสาคัญ
๑. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน
๒. อ่านเรื่องราวอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจ และเก็บใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า
๓. เมื่ออ่านจบให้ตั้งคาถามตนเองว่า เรื่องทีอ่ ่าน มีใคร ทาอะไร ที่ไหน เมือ่ ไร
อย่างไร
๔. นาสิ่งที่สรุปได้มาเรียบเรียงใจความสาคัญใหม่ด้วยสานวนของตนเองเพื่อให้เกิด
ความสละสลวย
๓๖

 ท ๙/ผ.๑

ใบงานขั้นนา

คาชี้แจง ดูภาพและอ่านข่าวเรื่อง “การดูโทรทัศน์จะบริโภคอาหารมากกว่าเดิม”


แล้วเขียนแสดงความคิดเห็นตามหัวข้อที่กาหนด

การดูโทรทัศน์จะบริโภคอาหารมากกว่าเดิม
การดูโทรทัศน์เป็นหนึง่ ปัจจัยที่คนเราชอบ และการดูโทรทัศน์ก็ถูกกล่าวโทษ
อาจเป็นสาเหตุที่ทาให้ “อ้วน”ซึ่งคากล่าวนี้ก็ไม่ได้เกินจริงมากนัก เพราะ เชื่อว่าทุกคน
ต้องแอบกินจุบกินจิบระหว่างที่ดูไปด้วยไม่เพียงเท่านั้น ผลการวิจัยจากมหาวิทยาลัย
ในสหรัฐอเมริกา ยังพบอีกด้วยว่า ประเภทของรายการที่ดูมีทั้งข่าวในพระราชสานัก
ข่าวทั่วไป ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬาฯลฯ ก็มีผลต่อการบริโภคด้วยเช่นกันผลการวิจัยดังกล่าว
พบว่า ผู้ทชี่ มโทรทัศน์ในประเภทรายการที่เป็นภาพยนตร์มีแนวโน้มที่จะทาให้อ้วนมากขึ้น
การศึกษาได้เปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่าง โดยให้ชมภาพยนตร์ เปรียบเทียบกับรายการทีวี
ที่เป็นรายการสัมภาษณ์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ดูภาพยนตร์จะรับประทานอาหาร และ
ขนมขบเคี้ยวที่เตรียมไว้มากกว่าถึงเกือบสองเท่าเลยทีเดียว ซึ่งคาดว่าน่าจะนาไปสู่ความอ้วน
ในที่สุด
๓๗

 ท ๙/ผ.๑

แนวคาตอบ
ใบงานขั้นนา

๑. เขียนประโยคที่เป็นข้อเท็จจริงจากข่าว ๒ ประโยค

ประโยคที่ ๑ คือ การดูโทรทัศน์เป็นหนึ่งปัจจัยที่คนเราชอบ


ประโยคที่ ๒ คือ ประเภทของรายการที่ดูมีทั้งข่าวในพระราชสานัก ข่าวทั่วไป
ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา ฯลฯ

๒. แต่งประโยคที่เป็นข้อเท็จจริงตามจินตนาการ ๑ ประโยค
ประโยคตามจินตนาการ : การรับประทานขนมขบเคี้ยวทาให้อ้วน

๓. เขียนประโยคที่เป็นข้อคิดเห็นจากข่าว ๒ ประโยค
ประโยคที่ ๑ คือ การดูโทรทัศน์ก็ถูกกล่าวโทษว่าอาจเป็นสาเหตุที่ทาให้อ้วน
ประโยคที่ ๒ คือ กลุม่ ตัวอย่างที่ดูภาพยนตร์จะรับประทานอาหาร และขนมขบเคี้ยว
ทีเ่ ตรียมไว้มากกว่าถึงเกือบสองเท่าเลยทีเดียวซึ่งคาดว่าจะนาไปสู่ความอ้วนในที่สุด

๔. แต่งประโยคที่เป็นข้อคิดเห็นตามจินตนาการ ๑ ประโยค
ประโยคตามจินตนาการ : ถ้าฉันรับประทานแต่ผลไม้คงไม่อ้วน
๓๘
 ท ๙/ผ.๑–๐๑

ใบงานที่ ๐๑
การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น

คาชี้แจง อ่านข่าวเรื่อง “ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้” แล้วเขียนข้อเท็จจริง


และข้อคิดเห็นลงในแผนภาพความคิดที่กาหนด

ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้

นายสามารถ สุวรรณภักดี เป็นนักวิชาการสาธารณสุขชานาญการประจาโรงพยาบาล


ส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหัวคู อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า วิถีชีวิต
การกินอยู่ของประชาชนน่าจะรับประทานผักสดเป็นผักเครื่องเคียงทั้งในครัวเรือนและ
ร้านอาหารทัว่ ไป ผูว้ ิจัยได้เก็บตัวอย่างผักสดเครื่องเคียงในร้านอาหาร เช่น แตงกวา
ใบมันปู กะหล่าปลี มาทดสอบด้วยชุดทดสอบน้ายาตรวจเชื้อแบคทีเรียตามมาตรฐาน
ของกรมอนามัย ผลปรากฏว่า ตรวจพบเชื้อแบคทีเรียมากสุดในแตงกวาร้อยละ ๙๔
กะหล่าปลีร้อยละ ๘๙ใบมันปูและถั่วงอกพบร้อยละ ๘๓คนไทยส่วนใหญ่อาจจะรับประทาน
ผักที่มีเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนจานวนมาก หรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อโรคเหล่านี้
จะไปเกาะติดกับผนังลาไส้จะสร้างสารพิษที่อาจจะทาให้เกิดอาการท้องเสียได้ และพบว่า
การล้างด้วยน้าใบบัวบกสามารถลดเชื้อที่ปนเปื้อนได้ดีกว่าน้าสะอาดถึง ๑.๕ เท่า เนื่องจาก
ในใบบัวบกมีสารทีมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ดี ซึ่งขั้นตอนการล้างผักเครื่องเคียงนั้น
ทาได้ง่ายมาก โดยการนาใบบัวบกที่หาได้ตามท้องถิ่นมาต้ม จากนั้นใช้กระชอนกรอง
ใบบัวบกออก แล้วนาน้าใบบัวบกที่กรองแล้วไปล้างผักเครื่องเคียงอย่างน้อย ๑๕ นาที
กวนหลายๆครั้ง เมื่อล้างเรียบร้อยแล้วสามารถนาไปรับประทานได้อย่างปลอดภัย
๓๙
 ท ๙/ผ.๑–๐๑

แนวค้าตอบใบงานที่ ๐๑
การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น

คาชี้แจง เขียนข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากการอ่านข่าวเรื่อง“ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสด


ลดเชื้อโรคได้”ลงในแผนภาพความคิดที่กาหนด

แผนภาพความคิด

เรื่อง“ฮือฮา น้้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้”

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
...............
๑. นายสามารถ สุวรรณภักดี เป็น ๑. วิถีชีวิตการกินอยู่ของประชาชนน่าจะ
นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ รับประทานผักสดเป็นผักเครื่องเคียง
๒. ผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างผักสดเครื่องเคียง
๒. คนไทยส่วนใหญ่อาจจะรับประทานผัก
ในร้านอาหาร
ที่มีเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนจานวนมาก
๓. เชื้อแบคทีเรียมีมากที่สุดในแตงกวา
ร้อยละ ๙๔ ๓. เชื้อแบคทีเรียจะสร้างสารพิษที่อาจจะ
๔. น้าใบบัวบกสามารถลดเชื้อที่ปนเปื้อน ทาให้ท้องเสียได้
ได้ดีกว่าน้าสะอาดถึง ๑.๕ เท่า
๔๐

 ท ๙/ผ.๑–๐๒

แนวคาตอบใบงานที่ ๐๒
ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน

คาชี้แจง ตอบคาถามจากการอ่านเรื่อง “ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้”

๑. ใจความสาคัญของเรื่อง “ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้” คือ


วิถีชีวิตการกินอยู่ของประชาชนจะรับประทานผักสดเป็นผักเครื่องเคียง จากการวิจัย
พบว่า แตงกวา ใบมันปู กะหล่าปลี มีเชือ้ แบคทีเรียมากสุดในแตงกวาร้อยละ ๙๔
กะหล่าปลีร้อยละ ๘๙ใบมันปูและถั่วงอกพบร้อยละ ๘๓ เชื้อแบคทีเรียจะปนเปื้อนในผัก
เหล่านั้น เชื้อโรคเหล่านี้จะไปเกาะติดกับผนังลาไส้และสร้างสารพิษที่อาจจะทาให้เกิด
อาการท้องเสียได้ ผู้วิจัยพบว่าการล้างด้วยน้าใบบัวบกสามารถลดเชื้อที่ปนเปื้อนได้ดีกว่า
น้าสะอาดถึง๑.๕ เท่า เพราะในใบบัวบกมีสารทีม่ ีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ดี โดยนา
ใบบัวบกมาต้ม แล้วนาน้าไปล้างผักเครื่องเคียงอย่างน้อย ๑๕ นาที กวนหลายๆครั้งแล้ว
นาไปรับประทานได้อย่างปลอดภัย

๒. ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง “ฮือฮา น้้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้” คือ ถ้าจะกิน


ผักเครื่องเคียง ควรรักษาความสะอาด เพื่อสุขภาพของทุกคนในครอบครัว

๓. นักเรียนนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดย เมื่อจะกินผักเครื่องเคียงทุกชนิดควร
รักษาความสะอาด ด้วยการนาไปล้างในน้าใบบัวบกต้ม เพื่อป้องกันอันตรายที่ติดมากับผัก
เหล่านั้น
๔๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

คาชี้แจงประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิตคิดเหตุผล

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ ใช้ภาษาพัฒนาชีวิต เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. สาระสาคัญของแผน
การอ่านพระบรมราโชวาทของสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว การตอบคาถามจากการอ่านพระบรม
ราโชวาท การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด

๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการนาไปใช้
๒.๑ ขอบข่ายเนื้อหา
การอ่าน การคัดลายมือ และการตอบคาถามพระบรมราโชวาท
๒.๒ จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถอ่านพระบรมราโชวาทและตอบคาถามได้ คัดลายมือตัวเต็มบรรทัด และ
ตัวครึ่งบรรทัดได้อย่างสวยงาม
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมแสดงบทบาทสมมุติและแสดงความคิดเห็น
- จัดกิจกรรมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทากิจกรรมตามใบงาน
- ตรวจผลงานจากนักเรียนทาใบงาน
- จัดกิจกรรมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทากิจกรรมตามใบงาน
- จัดกิจกรรมสรุปเรื่องทีศ่ ึกษา
๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย
- แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
- แบบบันทึกคะแนน
- ใบงาน
- เกณฑ์การประเมินผลงานได้คะแนน ร้อยละ ๗๐
แนวทางการจัดกิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง ใช้ภาษาพัฒนาชีวิต เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา - สนทนาเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ และพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


- อ่านความหมายของพระบรมราโชวาท
- ตอบคาถามจากพระบรมราโชวาท
- อ่านข้อควรปฏิบัติในการคัดลายมือ
ขั้นสอน - คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัดจากพระบรมราโชวาท
- ครูตรวจและคัดเลือกผลงานนักเรียน

๔๒
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติในการคัดลายมือ
ขั้นสรุป - ความรู้ที่ได้จากการเรียนพระบรมราโชวาท

- ประเมินการตอบคาถาม
วัดและประเมินผล
- ประเมินการคัดลายมือ
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง ใช้ภาษาพัฒนาชีวิต เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรม ครั้งที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง สื่อ / แหล่งเรียนรู้
๑. การอ่านพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ ขั้นนา ๑. พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ๑. ครูนาพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระเจ้าอยู่หัว
๒. การตอบคาถามจากการอ่านพระบรมราโชวาท ให้นักเรียนร่วมสนทนาถึงพระราชกรณียกิจและ ๒. ใบความรู้เรื่องความหมายของพระบรมราโชวาท
๓. การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและ พระมหากรุณาธิคุณ ๓. ใบความรู้เรื่อง การคัดลายมือ
ครึ่งบรรทัด ขั้นสอน ภาระงาน / ชิ้นงาน
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. ครูแจกใบความรู้เรื่อง พระบรมราโชวาทให้นักเรียน ๑. ใบงานที่ ๐๓ การตอบคาถามจากการอ่าน
ความรู้ ทุกคนศึกษาถึงความหมายและตัวอย่าง พระบรมราโชวาทเรื่อง “คนดี”
๑. บอกความหมายของพระบรมราโชวาท ๓. ครูแจกใบงานที่ ๐๓ การตอบคาถามจากการอ่าน ๒. ใบงานที่ ๐๔ การคัดลายมือจากเพลง “ผู้ปิดทอง

๔๓
๒. บอกข้อควรปฏิบัติในการคัดลายมือ พระบรมราโชวาทเรื่อง “คนดี” หลังพระ”
ทักษะ ๔. ให้นักเรียนส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน เพื่อนๆ การประเมิน
๑. อ่านพระบรมราโชวาทและตอบคาถามได้ ร่วมแสดงความคิดเห็น ครูช่วยชี้แนะในส่วนทีต่ ้องปรับปรุง ๑. สังเกตพฤติกรรมขณะเรียน
๒. คัดลายมือตัวเต็มบรรทัด และตัวครึ่งบรรทัดได้ ขั้นสรุป ๒. ตรวจผลงานจากใบงาน
ถูกต้อง และสวยงาม ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้ และเฉลย วิธีการประเมิน
คุณธรรม แนวคาตอบ ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. ตรวจผลงาน
๒. มีความรับผิดชอบ เครื่องมือประเมิน
๓. มีวินัยการอยูร่ ่วมกัน ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
๒. แบบบันทึกคะแนน
๓. ใบงาน
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๒
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง ใช้ภาษาพัฒนาชีวติ เวลา ๒ ชัว่ โมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
กิจกรรม ครั้งที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง เกณฑ์การประเมิน
ขั้นนา ๑. ตอบคาถามได้ถูกต้อง ร้อยละ ๗๐
๑. ให้นักเรียนเสนอชื่อผู้ที่คัดลายมือสวยที่สุดของชั้นแล้วให้ผู้ที่ถูก ๒. คัดลายมือได้คะแนน ร้อยละ ๗๐
เสนอชื่อออกมาเล่าวิธกี ารคัดลายมือของตนเองให้เพื่อนฟัง
ขั้นสอน
๒. ครูแจกใบความรู้เรื่อง การคัดลายมือให้นักเรียนได้ศึกษา
แล้วสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง
๓. ครูแจกใบงานที่ ๐๔ การคัดลายมือจากเพลง “ผู้ปิดทองหลังพระ”

๔๔
ทั้งตัวบรรจงเต็มบรรทัดและตัวบรรจงครึ่งบรรทัด อย่างละ ๑ จบ
๔. ครูตรวจผลงานนักเรียนและคัดเลือกผู้ที่คัดได้ถูกต้องสวยงามเพื่อให้
เพื่อนดู
ขั้นสรุป
๕. ครูให้นักเรียนดูผลงานนักเรียนที่คัดได้สวยงาม ให้ร่วมแสดง
ความคิดเห็นและสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียน เรือ่ งพระบรมราโชวาท
๔๕

 ท ๙/ผ.๒

ขั้นนา

พระบรมฉายาลักษณ์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

คำชี้แจง เขียนคาอ่านจากคาราชาศัพท์ที่กาหนด

คำรำชำศัพท์ที่กำหนด
๑. พระบรมฉายาลักษณ์ อ่านว่า พระ – บอ – รม – มะ – ฉา – ยา – ลัก
๒. พระบรมราโชวาท อ่านว่า พระ – บอ – รม – มะ – รา – โช – วาด
๓. พระราชดารัส อ่านว่า พระ – ราด – ชะ – ดา – หรัด
๔. พระราชทาน อ่านว่า พระ – ราด – ชะ – ทาน
๔๖

 ท ๙/ผ.๒

ใบความรู้
พระบรมราโชวาท

พระบรมราโชวาท หมายถึง คาสั่งสอนของพระมหากษัตริย์


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่พสกนิกร
ไว้จานวนมาก ในวโรกาสต่าง ๆ แต่ละครั้งเปี่ยมไปด้วยข้อคิด คติเตือนใจ
รวมถึงแนวทางปฏิบัติที่สามารถนามาใช้ในการดาเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี

ตัวอย่างพระบรมราโชวาท
ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มีใครที่จะทาให้ทุกคน
เป็นคนดีได้ทั้งหมด การทาให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่
การทาให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีปกครอง
บ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอานาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวาย
๔๗
 ท ๙/ผ.๒-๐๓

แนวคำตอบ

ใบงานที่ ๐๓
การอ่านพระบรมราโชวาท

คาชี้แจง อ่านพระบรมราโชวาทเรื่อง “คนดี” แล้วตอบคาถาจากเรื่องที่อ่าน

คนดี
ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มใี ครที่จะทาให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด
การทาให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่การทาให้ทุกคนเป็นคนดี
หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้
มีอานาจไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้

๑. ในพระบรมราโชวาททรงมีพระราชประสงค์ ให้เลือกคนดีเข้ามาปกครองประเทศ.
และควบคุมไม่ให้คนไม่ดีเข้ามามีอานาจเพราะจะทาให้เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง
๒. ข้อคิดที่ได้จากพระบรมราโชวาท คือ ในสังคมมีทั้งคนดี และคนไม่ดี เราควรส่งเสริมคนดี
ให้เข้ามาทาประโยชน์ให้ส่วนรวม และป้องกันไม่ให้คนไม่ดีเข้ามามีอานาจ
๓. นักเรียนนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดย พยายามปฏิบัติตนให้เป็นคนดี และ
ช่วยเหลือสังคมส่วนรวมให้เกิดประโยชน์สูงสุด
๔๘

 ท ๙/ผ.๒

ใบความรู้
การคัดลายมือ

การคัดลายมือมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กได้ฝึกเขียนพยัญชนะ สระ
และวรรณยุกต์ของไทยให้ถูกต้อง สวยงาม และเป็นระเบียบเรียบร้อย ตามรูปแบบ
ที่ราชบัณฑิตยสถานกาหนด ซึ่งมีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้

๑. นั่ง วางสมุด และจับดินสอให้ถูกต้อง


๒. ตั้งใจและมีสมาธิในการคัด
๓. เขียนตัวอักษรถูกต้องตามแบบการเขียนอักษรไทย
๔. เขียนพยัญชนะจรดเส้นบรรทัดบน – บรรทัดล่าง
๕. เว้นระยะช่องไฟให้เท่ากัน และสม่าเสมอ
๖. วางรูปพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ให้ถูกตาแหน่ง
๔๙

 ท ๙/ผ.๒ -๐๔

ใบงานที่ ๐๔
การคัดลายมือ

คาชี้แจง คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑ จบ และครึง่ บรรทัด ๑ จบ


จากเพลง “ผู้ปิดทองหลังพระ” ของคาราบาว

เพลง ผู้ปิดทองหลังพระ
...หกสิบห้าปีทาเพื่อราษฎร์ ทวยไทยทั้งชาติสมควรภาคภูมิ มีพระมหากษัตริย์
เฝ้าคอยห่วงใย ทุ่มเทพระวรกายเพื่อเรา ค้นคิดแนวทางพระราชดาริ ตลอดการครองราชย์
อันยืดยาว ในน้ามีปลาในนามีขา้ ว ล้นเกล้าชาวไทยมีพระองค์ท่าน พระองค์ทรงเสียสละ
เพียงไหน มีใครเห็นใจสงสาร ก็ใครหนอใครค่าเช้าเฝ้าทรงงาน เป็นผู้ปิดทองหลังพระ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์ มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี
จักรีนฤบดินทร สยามมินทรธิราช บรมนาถบพิตร ทรงสถิตเหนือเกล้าชาวไทย
เป็นดวงใจของแผ่นดิน ทรงสถิตเหนือเกล้าชาวไทย ศูนย์รวมใจแผ่นดิน...
๕๐
 ท ๙ /ผ.๒ -๐๔

ใบงานที่ ๐๔
การคัดลายมือ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ประเมินตามเกณฑ์การประเมินคัดลายมือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๕๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

คาชี้แจงประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิตคิดเหตุผล

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ ลิขิตวิเคราะห์ความ เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. สาระสาคัญของแผน
การอ่าน การเขียน และการพูดคาโฆษณาและคาเชิญชวน การโน้มน้าวใจ

๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการนาไปใช้
๒.๑ ขอบข่ายเนื้อหา
คาโฆษณาและคาเชิญชวน การโน้มน้าวใจ
๒.๒ จุดประสงค์การเรียนรู้
การอ่าน การเขียน และการพูดคาโฆษณาและคาเชิญชวน การโน้มน้าวใจได้
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมแสดงบทบาทสมมุติและแสดงความคิดเห็น
- จัดกิจกรรมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทากิจกรรมตามใบงาน
- ตรวจผลงานจากนักเรียนทาใบงาน
- จัดกิจกรรมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทากิจกรรมตามใบงาน
- จัดกิจกรรมสรุปเรื่องทีศ่ ึกษา
๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย
- แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
- แบบบันทึกคะแนน
- ใบบงาน
- เกณฑ์การประเมินผลงานได้คะแนน ร้อยละ ๗๐
แนวทางการจัดกิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง ลิขิตวิเคราะห์ความ เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา - การแสดงบทบาทสมมุติจากโฆษณาที่ประทับใจ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือ

- อ่านใบความรู้เรือ่ ง การเขียนโฆษณา
- ทาใบงานที่ ๐๕ การตอบคาถามโฆษณา
- ทาใบงานที่ ๐๖ เขียนโฆษณาตามสนใจ
ขั้นสอน - ครูตรวจผลงานนักเรียน

๕๒
- อ่านใบความรู้เรือ่ งการเขียนโน้มน้าวใจ
- ทาใบงานที่ ๐๗ การเขียนโน้มน้าวใจ

ขั้นสรุป - นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้เกี่ยวกับเรื่อง การเขียนโฆษณา เชิญชวน และการเขียนโน้มน้าว

วัดและประเมินผล - แบบประเมินการเขียนโฆษณา และโน้มน้าวใจ


แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง ลิขิตวิเคราะห์ความ เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรมครั้งที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง สื่อ / แหล่งเรียนรู้
๑. การอ่าน และเขียนคาโฆษณาและคาเชิญชวน ขั้นนา ๑. ใบความรู้เรื่องการเขียนโฆษณา
๒. การอ่าน และเขียนสารโน้มน้าวใจ ๑. ให้นักเรียนส่งตัวแทนเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้แสดง ๒. ใบความรู้เรื่องการเขียนโน้มน้าว
๓. การพูดโฆษณา เชิญชวน และโน้มน้าวใจ บทบาทสมมุติโฆษณาสินค้าตามโฆษณาที่เคยเห็นหรืออ่านให้ ๓. ฉลากชื่อนักเรียน
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนอื่นๆ แสดงความคิดเห็นว่าน่าเชื่อถือหรือไม่ พร้อมทั้งบอก ภาระงาน / ชิ้นงาน
ความรู้ เหตุผลประกอบ ๑. ใบงานที่ ๐๕ การตอบคาถามจาก
๑. อ่านโฆษณา คาเชิญชวน สารโน้มน้าวใจ ขั้นสอน การดูภาพโฆษณา
๒. เขียนโฆษณา คาเชิญชวน และสารโน้มน้าวใจ ๒. ครูแจกใบความรู้เรื่องการโฆษณาให้นักเรียนอ่านและร่วมกัน ๒. ใบงานที่ ๐๖ การเขียนคาโฆษณา
๓. พูดโฆษณา คาเชิญชวน และโน้มน้าวใจ อภิปรายเรื่องที่อ่าน ครูชว่ ยชี้แนะเพิ่มเติม ตามความสนใจ

๕๓
ทักษะ ๓. ครูแจกใบงานที่ ๐๕ การตอบคาถามจากการดูภาพโฆษณา ๓. ใบงานที่ ๐๗ การเขียนโน้มน้าวจากภาพ
๑. อ่านโฆษณา คาเชิญชวน สารโน้มน้าวใจได้ ๔. ให้นักเรียนนาผลงานส่งครูเพื่อตรวจความถูกต้อง ที่กาหนด
๒. เขียนโฆษณา คาเชิญชวน และโน้มน้าวใจได้ ขั้นสรุป การประเมิน
๓. พูดโฆษณา คาเชิญชวน และโน้มน้าวใจได้ ๕. ครูและนักเรียนร่วมสนทนาถึงความรู้ที่ได้และแจกใบงานที่ ๐๖ ๑. ประเมินพฤติกรรมนักเรียน
๒. ประเมินผลงาน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ (ต่อ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง ลิขิตวิเคราะห์ความ เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
คุณธรรม ให้นักเรียนออกแบบโฆษณาสินค้าตามความสนใจ โดยหาภาพ วิธีการประเมิน
๑. ใฝ่เรียนรู้ จากแผ่นโฆษณา แล้วนามาตัดปะลงในกรอบทีก่ าหนดให้ ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
๒. มีความรับผิดชอบ พร้อมทั้งบอกชนิดของสินค้า ตั้งชื่อร้าน และเขียนคาโฆษณา ๒. ตรวจผลงาน
๓. มีวินัย กิจกรรม ครั้งที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง เครื่องมือประเมิน
๔. การอยู่รว่ มกัน ขั้นนา ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
๑. จับฉลากชื่อนักเรียน เพื่อนาผลงานที่เป็นการบ้านมานาเสนอ ๒. แบบบันทึกคะแนน
หน้าชั้น ครูและเพื่อนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานนั้น ๓. ใบงาน
ขั้นสอน เกณฑ์การประเมิน
๒. ครูแจกใบความรู้เรื่องการเขียนโน้มน้าวให้นักเรียนอ่าน แล้ว ผลงานจากใบงานถูกต้องร้อยละ ๗๐

๕๔
ซักถามความเข้าใจ และอธิบายเพิ่มเติม
๓. ครูแจกใบงานที่ ๐๗ ให้นักเรียนดูภาพการเขียนโน้มน้าวใจและ
เชิญชวนให้ช่วยกันปลูกต้นไม้ในโรงเรียน โดยเขียนให้ถูกต้อง
ชัดเจน สวยงาม
ขั้นสรุป
๔. ให้นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานที่ฝึกปฏิบัติ
และขออาสาสมัครนาเสนอผลงาน ครูและเพื่อนร่วมอภิปราย
และกล่าวชมเชยผู้ที่กล้าแสดงออก
๕๕
 ท ๙ /ผ.๓

ใบความรู้
การเขียนโฆษณา

การเขียนหรือการพูดโฆษณาเป็นการเสนอข่าวสารการขาย หรือแจ้งข่าวสาร
ให้บุคคลที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทราบเกี่ยวกับสินค้าการบริการ หรือแนวความคิด
โดยเจ้าของหรือผู้อุปถัมภ์เปิดเผยตนเอง มีการจ่ายเงิน เพื่อการใช้สื่อและเป็นการเสนอ
ข้อมูลที่มิใช่เป็นการส่งบุคคลเข้าไปติดต่อโดยตรง
จุดมุ่งหมายหลักของการโฆษณา ก็คือ การขายสินค้า แต่จุดมุ่งหมายที่ต้องการ
ให้เกิดขึน้ ฉับพลันก็คือ การติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการสื่อสารไปยัง
กลุ่มเป้าหมายที่แอบแฝงด้วย หน้าที่ที่สาคัญของการโฆษณามีหลายประการ คือ
ประโยชน์ของการโฆษณา คือ ประการแรกเป็นการป่าวประกาศให้
สาธารณชน ได้รู้จักสินค้า หรือบริการหลายอย่างหลายประเภท
ประการที่สองการโฆษณาจะต้องนาเสนอเนื้อหาสาระและรายการต่าง ๆ
มีข่าวสาร ความรู้ และความบันเทิง เป็นต้น อันเป็นประโยชน์แก่สาธารณชน
ตัวอย่างโฆษณา

- น้ามันมะรุมไทย ไม่เจือสี ไม่มีกลิน่ ใช้แล้วสิ้นปวดชา


- เชิญชมตลาดนัดของดี ที่ศูนย์แสดงสินค้านิภาพรรณ
- เพิ่มรสชาติอาหารให้ครอบครัวทั่วไทย เมื่อใช้ชูรสตรามงกุฎ
๕๖
 ท ๙ /ผ.๓

ตัวอย่างโฆษณาที่น่าสนใจ

ในโลกนี้ อาจมีคนที่มองเห็นอนาคตมากมาย แต่โลกนี้มีพระราชา


เพียงพระองค์เดียวที่ทรงมองเห็นอนาคต ทรงค้นคว้าเรื่องพลังงานทดแทน
ในขณะที่น้ามันยังมีราคาเพียงลิตรละไม่กี่บาท วันนี้พลังงานทดแทนที่ทรงด้าริไว้
ท้าให้ประเทศไทยลดการน้าเข้าน้้ามันได้ปีละนับพันล้าน เป็นโชคดีของคนไทย
เราไม่เพียงแต่มีพระราชาที่ยิ่งใหญ่ เรายังมีพระราชาที่ทรงมีความคิดที่ยิ่งใหญ่
อีกด้วย แนวพระราชด้าริของพระองค์จะเป็นแรงบันดาลใจให้เราคิดไกล และ
มุ่งมัน่ พัฒนาพลังงาน เพื่ออนาคตที่มั่นคงของไทย

จากกระทรวงพลังงาน
๕๗
 ท ๙ /ผ.๓

ใบความรู้
การเขียนโน้มน้าวใจ

การเขียนโน้มน้าวใจ คือการเขียนที่ต้องการให้ผู้อ่านเปลี่ยนแปลงความคิด
ทัศนคติความเชื่อและค่านิยมต่าง ๆ ให้คล้อยตามความคิดของผู้เขียน เช่น การเขียน
ให้บริจาคเงินเพื่อสาธารณกุศล เป็นต้น
การเขียนโน้มน้าวใจอาจปรากฏอยู่ในรูปโฆษณาการหาเสียงเลือกตั้งและ
การเชิญชวนก็ได้

หลักการเขียนโน้มน้าวใจ มีดังนี้
๑. การวิเคราะห์ผอู้ ่าน ต้องวิเคราะห์ว่าผู้อ่านเป็นใคร มีสถานะ เช่น เพศ วัย การศึกษา
อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม จะช่วยให้น้าเสนอได้อย่างเหมาะสม
๒. การใช้หลักจิตวิทยา ผู้เขียนต้องเข้าใจธรรมชาติ ความสนใจ และความต้องการ
ของผู้อ่าน
๓. การใช้เหตุผล ต้องน่าเชื่อถือ และปฏิบัติได้
๔. การใช้ภาษา ต้องเป็นภาษาที่ไม่บังคับ เป็นไปในเชิงแนะน้า ขอร้อง และ
เร้าความรู้สึกของผู้อ่านผู้เขียนจึงต้องรูจ้ ักเลือกถ้อยค้าที่สื่อความหมายได้ชัดเจน กระชับ
ก่อให้เกิดภาพพจน์ กระตุ้นอารมณ์ความรู้สึก อาจเป็นค้าคล้องจอง เช่น ค้าขวัญ

ตัวอย่างการเขียนโน้มน้าวใจ
- โรงเรียนเราจะสะอาด ถ้าทุกคนช่วยกวาดและถู
- หนังสือคือประทีปส่องทาง ให้ความสว่างสร้างปัญญา
- ยาเสพติดเป็นพิษต่อตน กลายเป็นคนสิ้นคิด ชีวิตต้องอับปาง
- บ้านเรือนสกปรกเหมือนนรกในเรือนใจ บ้านเรือนสะอาดปราศจากโรคภัย
๕๘
 ท ๙ /ผ.๓ –๐๕

แนวคาตอบ

ใบงานที่ ๐๕
ตอบคาถามจากภาพโฆษณา

คาชี้แจง ดูภาพโฆษณาแล้วตอบค้าถาม

คนรับสุขใจ คนให้ประหยัดเงิน เชิญท่านมาซื้อหาได้


ที่ร้านดอกไม้ อุ่นไอรัก
รับจัด และจาหน่ายดอกไม้ หอม สวย ด้วยราคามิตรภาพ

๑. ข้อความโฆษณาในภาพนี้เชื่อถือได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ...................................................................................................................
เชื่อถือไม่ได้ เพราะไม่มีหลักฐานอ้างอิง
.............................................................................................................................................
๒. เขียนข้อเท็จจริงจากข้อความโฆษณาในภาพ
ตอบ..............................................................................................................................
เชิญท่านมาซื้อหาได้ที่ร้านดอกไม้ คุณอุน่ ไอรัก
..................................................................................................................................................
๓. เขียนข้อคิดเห็นจากข้อความโฆษณาในภาพ
ตอบ................................................................................................................................
คนรับสุขใจ ด้วยราคามิตรภาพ
..................................................................................................................................................
๔. ประโยชน์ของสินค้าในโฆษณานี้คืออะไร
ตอบ...............................................................................................................................
อานวยความสะดวกให้กับผู้ที่ต้องการมอบดอกไม้ให้กับบุคลอื่น
..................................................................................................................................................
ด้วยราคาประหยัด
๕๙
 ท ๙ /ผ.๓ –๐๖

แนวเฉลย

ใบงานที่ ๐๖
การเขียนโฆษณา

คาชี้แจง ออกแบบโฆษณาสินค้าตามความสนใจ โดยหาภาพจากใบโฆษณา แล้วน้ามาตัดปะ


ลงในกรอบที่ก้าหนดให้ พร้อมทั้งบอกชนิดสินค้า ตั้งชื่อร้านและเขียนค้าโฆษณา

ภาพประกอบ

ข้อความโฆษณา

....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
ปากกาหน้าแมว ใช้แล้วหมึกไม่เยิ้ม เพิ่มปริมาณคา นาไปใช้กับกระดาษได้
...................................................................................................................................
ทุกชนิด ติดต่อร้านงานเขียนพัฒนา
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
๖๐
 ท ๙ /ผ.๓ –๐๗

แนวคาตอบ

ใบงานที่ ๐๗
การเขียนโน้มน้าวใจ

คาชี้แจง จากภาพเขียนโน้มน้าวใจให้เพื่อนๆ ช่วยกันปลูกต้นไม้ในโรงเรียน โดยเขียน


ให้ถูกต้อง ชัดเจน และสวยงาม

........................................................................................................................
.........................................................................................................................
- ปลูกต้นไม้คนละต้น ทาให้พ้นมลพิษ
.........................................................................................................................
- โรงเรียนของหนู ช่วยครูปลูกต้นไม้ ไร้มลพิษ ชีวิตปลอดภัย
.........................................................................................................................
........................................................................................................................
- โรงเรียนจะน่าอยู่ ถ้าหนูช่วยปลูกต้นไม้
........................................................................................................................
........................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………
๖๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

คาชี้แจงประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เขียนประโยคตามวิธี เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. สาระสาคัญของแผน
การแต่งประโยคตามจินตนาการ การจาแนกส่วนประกอบของประโยค
๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการนาไปใช้
๒.๑ ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องประโยค
๒.๒ จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถจาแนกส่วนประกอบของประโยคได้
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมการแต่งประโยคเป็นเรื่องราว
- จัดกิจกรรมให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ทากิจกรรมตามใบงาน
- ตรวจผลงานจากนักเรียนทาใบงาน
- จัดกิจกรรมสรุปเรื่องทีศ่ ึกษา
๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย
- แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
- แบบบันทึกคะแนน
- ใบงาน
- เกณฑ์การประเมินผลงานได้คะแนน ร้อยละ ๗๐
แนวทางการจัดกิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง เขียนประโยคตามวิธี เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา
- การแต่งประโยคเป็นเรื่องราวจากคาที่กาหนด

- อ่านใบความรู้เรือ่ ง ส่วนประกอบของประโยค
- ทาใบงานที่ ๐๘ การจาแนกประโยคที่กาหนด โดยเติมลงในช่องภาคปรธาน และภาคแสดง พร้อมทั้งบอกชนิดของคากริยา
ให้ถูกต้อง ชัดเจน
ขั้นสอน - ทาใบงานที่ ๐๙ การแต่งประโยคคาถาม โดยให้ตอบตามหัวข้อที่กาหนดให้ถูกต้อง ชัดเจน ชนิดละ ๓ ประโยค

๖๒
- ครูตรวจผลงานนักเรียน

ขั้นสรุป
- นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้เกี่ยวกับเรื่อง การแต่งประโยค การจาแนกประโยค ลักษณะประโยค

วัดและประเมินผล - ประเมินการแต่งประโยค
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง เขียนประโยคตามวิธี เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรม ครั้งที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง สื่อ / แหล่งเรียนรู้
๑. การแต่งประโยค ขั้นนา ๑. คาศัพท์ที่กาหนด เช่น เจ้าชาย เจ้าหญิง ฯลฯ
๒. การจาแนกประโยค ๑. ครูกาหนดคาว่า เจ้าชาย เจ้าหญิง แม่มด ม้าขาว ๒. ใบความรู้เรื่องการแต่งประโยค
๒. การแต่งประโยคคาถาม มังกรไฟ พร้อมทั้งแจกกระดาษให้นักเรียนทุกคนแล้วให้ทุกคน ภาระงาน / ชิ้นงาน
จุดประสงค์การเรียนรู้ นาคาเหล่านั้นมาแต่งเป็นเรื่องราวภายในเวลา ๑๐ นาที ๑. ใบงานที่ ๐๘ เรื่อง การจาแนกประโยค
ความรู้ ครูสุ่มตัวอย่างนักเรียนออกมานาเสนอผลงานให้เพื่อน ๆ ๒. ใบงานที่ ๐๙ การแต่งประโยคคาถาม
๑. รูปแบบการแต่งประโยค ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง การประเมิน
๒. ลักษณะการจาแนกประโยค ขั้นสอน ๑. ประเมินพฤติกรรมขณะเรียน

๖๓
ทักษะ ๒. ครูแจกใบความรู้เรื่อง ส่วนประกอบของประโยคให้นักเรียน ๒. ประเมินการแต่งประโยค / ใบงาน
๑. แต่งประโยคตามจินตนาการได้ถูกต้อง ๓. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ของตนเองแล้วจับคู่กันตั้งคาถาม วิธีการประเมิน
๒. จาแนกประโยคได้ถูกต้อง และตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
๓. แต่งประโยคคาถามได้ถูกต้อง ๔. ครูแจกใบงานที่ ๐๘ จาแนกประโยคที่กาหนด โดยเติมลงใน ๒. ตรวจผลงาน
ช่องภาคประธาน และภาคแสดง
๕. ครูจับฉลากชือ่ ของนักเรียน โดยเริ่มจากผู้ที่ถกู จับชื่อต้อง
ออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ครูและเพื่อน ๆ ช่วยกัน
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานของผู้นาเสนอ
ขั้นสรุป
๖. ให้นักเรียนส่งตัวแทนมาสรุปความรู้ที่ได้ ครูช่วยเพิ่มเติม
ในส่วนที่ต้องปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ (ต่อ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง เขียนประโยคตามวิธี เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

คุณธรรม กิจกรรม ครั้งที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง


๑. ใฝ่เรียนรู้ เครื่องมือประเมิน
ขั้นนา
๒. มีความรับผิดชอบ ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
๑. ให้นักเรียนส่งตัวแทนออกมาหน้าชั้น แล้วแต่งประโยค ๑
๓. มีวินัย ๒. แบบบันทึกคะแนน
ประโยค ครูและเพื่อนร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมตามที่ได้ศึกษา
๔. การอยู่รว่ มกัน ๓. ใบงาน
๒.ครูแจกใบความรู้เรื่อง ประโยคตามจินตนาการของผู้พูดหรือ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้เขียน แล้วร่วมสนทนาเกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับ
ผลงานจากใบงานถูกต้องร้อยละ ๗๐
๓. ครูแจกใบงานที่ ๐๙ คือ การแต่งประโยคคาถาม โดยให้ตอบตาม

๖๔
หัวข้อที่กาหนด ให้ถูกต้อง ชัดเจน นิดละ ๓ ประโยค
๔. ให้นักเรียนนาผลงานส่งครู
ขั้นสรุป
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง และสรุปความรู้
ที่ได้จากกิจกรรมดังกล่าว
๖๕
 ท ๙ /ผ.๔-๐๘

แนวคำตอบ

ใบงานที่ ๐๘
การจาแนกส่วนประกอบของประโยค

คาชี้แจง จาแนกประโยคที่กาหนด โดยเติมลงในช่องภาคประธาน และภาคแสดง


พร้อมทั้งบอกชนิดของคากริยาให้ถูกต้อง ชัดเจน

ประโยคที่กาหนด

๑. หม่าดาราตลกพูดสนุกมาก
๒. ลมในยามเช้าพัดเย็นสบาย
๓. น้าเก็บองุ่นในไร่อย่างรวดเร็ว
๔. เด็ก ๆ ชั้นอนุบาลนอนอย่างมีความสุข
๕. พ่อของต้อยถากหญ้าในสวนทุกวัน

ภาคประธาน ภาคแสดง
ประธาน ขยายประธาน กริยา ขยายกริยา ชนิดกริยา กรรม ขยายกรรม
๑. หม่า ดาราตลก พูด สนุกมาก อกรรมกริยา - -
๒. ลม ในยามเช้า พัด เย็นสบาย อกรรมกริยา - -
๓. น้า - เก็บ อย่างรวดเร็ว สกรรมกริยา องุ่น ในไร่
๔. เด็ก ๆ ชั้นอนุบาล นอน อย่างมีความสุข อกรรมกริยา - -
๕. พ่อ ของต้อย ถาก ทุกวัน สกรรมกริยา หญ้า ในสวน
๖๖
 ท ๙/ผ.๔

ใบความรู้
ประโยคตามเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียน

ประโยคนอกจากจะแบ่งตามหลักไวยากรณ์แล้ว ยังแบ่งตามเจตนาของผู้พูด
หรือผู้เขียนได้เป็น ๓ ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
๑. ประโยคแจ้งให้ทราบ
๒. ประโยคถามให้ตอบ
๓. ประโยคบอกให้ทา
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ จะเรียนเพียงลักษณะของประโยค
ถามให้ตอบ ซึ่งแบ่งเป็นลักษณะย่อย ดังนี้
๑. ประโยคที่ต้องการคาตอบเป็นเนื้อความจากผู้รับสาร เป็นประโยคที่มี
คาถามว่า ใคร อะไร ผู้ใด ไหน ที่ไหน เมื่อไร ทาไม อย่างไร เท่าไร เพียงใด แค่ไหน
เช่น
- ป้าพูดเรื่องอะไร
- สมชายไปแข่งกีฬาที่ไหน
- ทาไมครูจึงให้รางวัลเธอคนเดียว
๒. ประโยคที่ต้องการคาตอบเป็นการยอมรับ หรือปฏิเสธ จะมีคาว่า
รึ หรือไม่ ใช่หรือไม่ หรือเปล่า หรือยัง ใช่ไหม เช่น
- น้องไปกับเธอหรือเปล่า
- เธอต้องการเรียนใช่หรือไม่
- เขาอ่านหนังสือหรือยัง
๓. ประโยคที่ต้องการคาตอบให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง จะมีคาว่า หรือ
หรือว่า เช่น
- เธอชอบหมูกรอบหรือข้าวมันไก่
- เขาชอบหนังตะลุงหรือว่าหมอลา
๖๗
 ท ๙/ผ.๔ -๐๙

แนวคำตอบ

ใบงานที่ ๐๙
การแต่งประโยคตามเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียน

คาชี้แจง แต่งประโยคถามให้ตอบตามหัวข้อที่กาหนด ให้ถูกต้องชัดเจน


ชนิดละ ๓ ประโยค
ประโยคที่ต้องการคาตอบว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร ทาไม อย่างไร
๑. ใครอ่านหนังสือในห้องสมุดทุกวัน
๒. อะไรตกจากหลังคาบ้าน
๓. เราควรไปเที่ยวที่ไหนจึงจะได้บุญ

ประโยคที่ต้องการคาตอบว่า ใช่หรือไม่ หรือเปล่า หรือยัง ใช่ไหม รึ


๑. เธอเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ใช่หรือไม่
๒. คุณซักเสื้อผ้าเป็นหรือเปล่า
๓. คุณแม่รับประทานอาหารเช้าหรือยังคะ
ประโยคที่ต้องการคาตอบว่า หรือ หรือว่า

๑. เธอจะไปเที่ยวกับเขาหรือจะไปบ้านยาย
๒. พี่จะทากับข้าวหรือว่าจะล้างจาน
๓. หนูจะประกวดเขียนเรียงความหรือว่าจะแต่งคาประพันธ์
๖๘

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

คาชี้แจงประกอบหน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิตคิดเหตุผล

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรียนวรรณคดีพื้นบ้าน เวลา ๒ ชั่วโมง

๑. สาระสาคัญของแผน
การระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีเรื่อง “กระเช้าของนางสีดา”

๒. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการนาไปใช้
๒.๑ ขอบข่ายเนื้อหา
คุณค่าของวรรณคดีไทย
๒.๒ จุดประสงค์การเรียนรู้
ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดี และอธิบายคุณค่าของวรรณคดีได้
๒.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- จัดกิจกรรมเล่มเกมทายตัวละครและนิทานที่ประทับใจ
- จัดกิจกรรมให้นักเรียนทากิจกรรมตามใบงาน
- ตรวจผลงานจากนักเรียนทาใบงาน
- จัดกิจกรรมสรุปความรู้ที่ได้ศึกษา
๒.๔ ดาเนินการทดสอบหลังเรียน ตามแบบทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
๒.๕ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย
- แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
- แบบบันทึกคะแนน
- ใบงาน
- แบบทดสอบหลังเรียน
- เกณฑ์การประเมินผลงานได้คะแนน ร้อยละ ๗๐
แนวทางการจัดกิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง เรียนวรรณคดีและวรรณกรรมพื้นบ้าน เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา - การเล่นเกมทายตัวละครในวรรณคดี (ตามดุลพินิจครูผู้สอน) และนิทานที่ประทับใจ

- ทาใบงานที่ ๑๐ การระบุข้อคิดที่ได้จากวรรณคดี โดยให้อ่านวรรณคดีไทยเรื่อง “กระเช้าสีดา” แล้วตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านลงใน


แผนภาพความคิดที่กาหนด

๖๙
ขั้นสอน - ทาใบงานที่ ๑๑ อ่านเรือ่ ง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี” แล้วเขียนคาอ่าน และแต่งประโยคจากเรื่องที่อ่าน
- ครูตรวจผลงานนักเรียนและแนะนาการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง

ขั้นสรุป - นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้เกี่ยวกับเรื่อง ข้อคิด และคุณค่าของวรรณกรรมที่อ่าน

- แบบทดสอบหลังเรียน
วัดและประเมินผล
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง เรียนวรรณคดีและวรรณกรรมพื้นบ้าน เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ขอบเขตเนื้อหา กิจกรรม ครั้งที่ ๑ เวลา ๑ ชั่วโมง สื่อ / แหล่งเรียนรู้
๑. การอธิบายข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรม ขั้นนา ๑. หนังสือวรรณกรรมหรือวรรณคดีในห้องสมุด
เรื่อง “กระเช้าสีดา” (อยู่ในดุลพินิจของครูผู้สอน)
๒. การเขียนคาอ่าน และแต่งประโยคจากวรรณกรรม ๑. ให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละชั้นออกมาเล่นเกมทายตัวละคร
ในวรรณคดี หรือวรรณกรรม (อยู่ในดุลินิจของครูผู้สอน) ภาระงาน / ชิ้นงาน
เรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี” ๑. ใบงานที่ ๑๐ บอกข้อคิดจากเรื่อง “กระเช้าสีดา”
แล้วให้เพื่อนๆช่วยกันบอกข้อคิดที่ได้จากกิจกรรม
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. ใบงานที่ ๑๑ เขียนคาอ่านและแต่งประโยคจาก
ขั้นสอน เรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี”
ความรู้

๗๐
๑. อธิบายข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรม ๒. ครูแจกใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การอธิบายข้อคิดที่ได้จาก
เรื่อง “กระเช้าสีดา” วรรณกรรม โดยอ่านนิทานเรื่อง “กระเช้าสีดา”แล้วเขียน
๒. เขียนคาอ่าน และแต่งประโยคจากวรรณกรรม ตอบคาถาม อธิบายข้อคิดจากเรื่องที่อ่านลงในแผนภาพ
เรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี” ความคิด
๓. ให้นักเรียนเข้าห้องสมุดโรงเรียนเพื่ออ่านหนังสือ
วรรณกรรมหรือวรรณคดี และสรุปข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
โดยใช้เวลาว่างของนักเรียน
ขั้นสรุป
๔. ให้นักเรียนช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้จากการอ่านวรรณคดี
และวรรณกรรม
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล เรื่อง เรียนวรรณคดีและวรรณกรรมพื้นบ้าน เวลา ๒ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรม ครั้งที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง การประเมิน


ทักษะ ขั้นนา ๑. ประเมินพฤติกรรมขณะเรียน
๑. อธิบายข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรม ๒. ประเมินใบงาน
๑. หาตัวแทนนักเรียนออกมาเล่านิทานทีต่ นเองประทับใจ ให้เพื่อนๆ
เรื่อง “กระเช้าสีดา” ได้ บอกข้อคิดที่ได้ วิธีการประเมิน
๒. เขียนคาอ่าน และแต่งประโยคจากวรรณกรรม ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม
เรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี” ได้ ขั้นสอน ๒. ตรวจผลงาน
๒. ครูแจกใบงานที่ ๑๑ โดยให้อ่านเรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี”
คุณธรรม แล้วเขียนคาอ่าน และแต่งประโยคจากเรือ่ งที่อ่านตามที่กาหนด เครื่องมือประเมิน
๑. ใฝ่เรียนรู้ ๑. แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม

๗๑
๓. นักเรียนนาผลงานส่งครู โดยครูชว่ ยแนะนานักเรียนที่ยังทา
๒. มีความรับผิดชอบ ไม่ถูกต้อง ๒. แบบบันทึกคะแนน
๓. มีวินัยในการอยูร่ ่วมกัน ๓. ใบงาน
ขั้นสรุป
๔. ให้นักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิด และคุณค่าของวรรณคดี และ เกณฑ์การประเมิน
วรรณกรรม ผลงานจากใบงานถูกต้องร้อยละ ๗๐
๕. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
๗๒

 ท ๙/ผ๕-๑๐

ใบงานที่ ๑๐
การระบุข้อคิดที่ได้จากวรรณคดี

คาชี้แจง อ่านนิทานไทยเรื่อง “กระเช้าสีดา”แล้วตอบคาถามของเรื่องที่อ่านลง


ในแผนภาพความคิดที่กาหนด

...นางพรายน้าชอบใจความอารีและความสุจริตของขันทอง ขณะนั้น
ขันทองรู้สึกเหมือนมีมือน้อยๆ เอาอะไรมาป้ายที่ตาเย็นๆ แล้วก็เห็นตัวนางพราย
น้าสูงสักห้าสิบเซนติเมตร ขนาดเท่าตุ๊กตา ยืนยิ้มแฉ่งอยู่ตรงหน้า รูปร่างสะสวย
หน้าตาหมดจด แต่งตัวเหมือนกับขันทองทุกอย่าง ขันทองปราศรัยว่า “สวัสดี”
แล้วพูดต่อไปว่า“ฉันเห็นจะเป็นคนดีนะ จึงแลเห็นท่านได้ แม่ฉันอ่านหนังสือพบ
เรื่องพรายไม้ เล่าให้ฉันฟัง ฉันก็นึกอยากเห็นตัวเหลือเกิน เขาว่าต้องเป็นคนดี
จึงจะเห็นพรายไม้ได้ นี่ฉันเห็นท่านแล้ว ฉันก็เป็นคนดีนะ” นางพรายน้าบอกว่า
“หนูเป็นคนดีทีเดียวมีน้าใจอารีดีมาก และสุจริตด้วย ฉันชอบความอารีและ
สุจริตของหนู จึงทาให้หนูเห็นตัวฉัน ฉันไม่ใช่พรายไม้ พรายไม้เขาเป็นผู้ชาย
ฉันเป็นพรายน้า เมื่อหนูเห็นฉันได้ ก็แลเห็นพรายไม้ทั้งหลายได้เหมือนกัน
เดี๋ยวนี้พรายไม้กลับไปหมดแล้ว เหลือแต่ฉันเก็บกระเช้าอยู่...

พระสารประเสริฐ
หนังสือวรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๗๓

 ท ๙/ผ๕-๑๐

แนวคาตอบแผนภาพความคิด
เรื่อง กระเช้าสีดา
(ตอนที่นามาให้อา่ น)

คาชี้แจง ตอบคาถาม จากเรื่องที่อ่าน ลงในแผนภาพความคิดที่กาหนด

ใจความสาคัญ ข้อคิดที่ได้จากตอนที่อ่าน
...........................................................................
เด็กหญิงขันทองพยายามประพฤติตน
........................................................................... การประพฤติตนเป็นคนมีน้าใจ
เป็นคนมีน้าใจ ซื่อสัตย์เพราะต้องการ
........................................................................... ซื่อสัตย์สุจริต ก็จะสมหวังใน
เห็นพรายไม้ และในที่สุดเขาก็ได้เห็น
........................................................................... สิ่งที่ปรารถนา
พรายน้้า แต่เป็นผู้หญิงไม่ใช่ผู้ชายแบบ
...........................................................................
พรายไม้ ซึ่งก้าลังเก็บกระเช้าสีดาอยู่
...........................................................................
............................................................
บริเวณนั้น

วรรณกรรม
เรื่อง กระเช้าสีดา
(ตอนที่กาหนดให้อ่าน)

การนาข้อคิดไปใช้ในชีวิต การใช้ภาษาไทยในการเขียน
เราควรประพฤติตนเป็นคนดี มีน้าใจ
ผู้เขียนใช้ส้านวนภาษาที่กระชับ
ซื่อสัตย์สุจริต เพื่อความส้าเร็จ
เข้าใจง่าย และเห็นภาพพจน์ชัดเจน
ของชีวิต
๗๔
 ท ๙/ผ๕-๑๑

ใบงานที่ ๑๑
การเขียนคาอ่านและแต่งประโยค
จากการอ่านวรรณกรรม

คาชี้แจง อ่านเรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี”แล้วเขียนคาอ่าน และแต่งประโยค


จากเรื่องที่อ่าน ตามคาที่กาหนด

... วันนั้นผมแกละพาฉันไปเที่ยว “อุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา” พวกเรา


คงได้เรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทยมาบ้างแล้ว และคงทราบดีว่า เมื่อหลายร้อยปี
ที่ผ่านมากรุงศรีอยุธยาคือราชธานีอันยิ่งใหญ่ของไทย มีความเจริญรุ่งเรืองทั้งใน
ด้านการเมือง การปกครอง และศิลปวัฒนธรรม วรรณคดีไทยที่มีคุณค่าหลายเรื่อง
เกิดขึ้นในสมัยนี้ กรุงศรีอยุธยามีพระมหากษัตริย์ผู้ปรีชาสามารถหลายพระองค์ เช่น
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฯลฯ เรื่องราวเกี่ยวกับ
กรุงศรีอยุธยาได้รับการบันทึกถ่ายทอดไว้ในตานาน และคาบอกเล่าในพงศาวดาร
ในวรรณคดีและเอกสารอื่น ๆ จานวนมาก จึงอยู่ในความทรงจาของชาวไทยทั่วไป
นั่นคืออยุธยาในอดีต อยุธยาที่มั่งคั่งและรุ่งเรือง หลายครั้งที่ฉันออกท่องโลก
วรรณคดีไปกับผมแกละ ฉันได้มองเห็นความยิ่งใหญ่และงดงามของกรุงศรีอยุธยา
เห็นปราสาทราชวังและวัดวาอาราม ที่ก่อสร้างอย่างสวยงามราวกับฉาบทาด้วยทองคา
มองเห็นชีวิตอันเรียบง่ายแต่งดงามของชาวเมือง เห็นแม่น้าสีใส และทุ่งข้าวสีทอง
กว้างไกลสุดลูกหูลูกตา...

หนังสือวรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๗๕
 ท ๙/ผ๕-๑๑

แนวคาตอบใบงานที่ ๑๑
การเขียนคาอ่านและแต่งประโยค
จากการอ่านวรรณกรรม

คาชี้แจง อ่านเรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี”แล้วเขียนคาอ่าน และแต่งประโยค


จากเรื่องที่อ่าน ตามคาที่กาหนด

๑. อุทยาน อ่านว่า อุด – ทะ – ยาน


ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๒. ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – ติ – สาด
ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๓. อยุธยา อ่านว่า อะ – ยุด – ทะ – ยา
ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๔. ราชธานี อ่านว่า ราด – ชะ –ทา – นี
ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๕. ศิลปวัฒนธรรม อ่านว่า สิน – ละ – ปะ – วัด – ทะ – นะ – ทา
ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๖. คุณค่า อ่านว่า คุน – ค่า , คุน – นะ – ค่า
ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๗. พงศาวดาร อ่านว่า พง – สา – วะ – ดาน
ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๘. ราชวัง อ่านว่า ราด – ชะ – วัง
ประโยค : อยู่ในดุลพินิจของครูผสู้ อน
๗๖

  ท ๙/ผ.๕

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ รอบรู้สกู่ ารแก้ปัญหา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
.......................................................................................................................................
คาชี้แจง นักเรียนทาเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้อง

๑. ข้อใดเป็นข้อเท็จจริง
ก. การดูโทรทัศน์เป็นหนึ่งปัจจัยที่คนเราชอบ
ข. การดูโทรทัศน์ก็ถูกกล่าวโทษว่าอาจเป็นสาเหตุที่ทาให้อ้วน
ค. กลุ่มตัวอย่างที่ดูภาพยนตร์ไม่ควรจะนาขนมขบเคี้ยวเข้าไปรับประทาน
ง. ขณะดูหนังมักกินขนมขบเคี้ยวมากกว่าเดิมเกือบสองเท่าซึ่งอาจนาไปสู่ความอ้วน
๒. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น
ก. เชื้อแบคทีเรียมีมากที่สุดในแตงกวา ร้อยละ ๙๔
ข. ผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างผักสดเครื่องเคียงในร้านอาหาร
ค. เชื้อแบคทีเรียจะสร้างสารพิษที่อาจจะทาให้ท้องเสียได้
ง. น้าใบบัวบกสามารถลดเชื้อที่ปนเปื้อนได้ดีกว่าน้าสะอาดถึง ๑.๕ เท่า
๓. พระบรมราโชวาทมีคุณค่าด้านใดมากที่สุด
ก. ด้านสังคม ข. ด้านเนื้อหา
ค. ด้านการใช้ภาษาไทย ง. ด้านการนาไปใช้ในชีวิต
๔. การเขียนหนังสือให้ถูกต้อง ชัดเจน มีประโยชน์ด้านใดมากที่สุด
ก. ด้านผลการเรียน ข. ด้านการสื่อสาร
ค. ด้านการเขียนจดหมาย ง. ด้านการแสดงความคิดเห็น
๕. นักเรียนใช้หลักการตามข้อใดในการเลือกสินค้าจากคาโฆษณา
ก. ความสมเหตุสมผล ข. รูปแบบการนาเสนอ
ค. ตรงกับความต้องการ ง. คุณประโยชน์ของสินค้า
๗๗

  ท ๙/ผ.๕

๖. จากคาโฆษณาต่อไปนี้ข้อใดน่าเชื่อถือมากที่สุด
ก. ยิ้มสวยทุกองศา ด้วยยาสีฟันตราใบข่อย
ข. หุ่นดี สุขภาพดี ออกกาลังกายที่ศูนย์นภา
ค. ข้าวอบแกงเขียวหวาน ทาง่ายเหมือนร่ายมนต์
ง. สบู่ตราแสงจันทร์ ใช้ทุกวันผิวพรรณขาวผ่องเป็นยองใย
๗. ข้อใดเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ ได้สมเหตุสมผลที่สุด
ก. ประณีตแบบวิถีไทย ขนมเรไรจากร้านน้องอร
ข. ซาหริ่มสวย มากด้วยคุณภาพ จากร้านจ๊าบศรี
ค. อร่อยแบบไทย ปลายจวักกุลสตรีที่ครัวสมหญิง
ง. ไม่ใส่ผงชูรส งดวัตถุกันเสียแน่ ต้องน้าพริกแม่จอม
๘. “แม่ของฉันแกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมาก” จากประโยคนี้ ข้อใดเป็นภาคแสดง
ก. แกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมาก ข. แกงส้มผักบุ้ง
ค. อร่อยมาก ง. ของฉัน
๙. ข้อใดเป็นประโยชน์มากที่สุดจากการอ่านวรรณคดี
ก. การใช้ภาษาในการเขียน
ข. ความบันเทิงจากเรื่องที่อ่าน
ค. การสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทย
ง. การนาข้อคิดไปใช้ในการดาเนินชีวิต
๑๐. จากวรรณคดีเรื่อง “กระเช้าของนางสีดา” ให้คุณธรรมเรื่องใด
ก. ความมีวินัย ข. ความมีน้าใจ
ค. ความกตัญญู ง. ความรับผิดชอบ
...............................................................................................................................................
๗๘
  ท ๙/ผ.๕

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ มุ่งลิขิต คิดเหตุผล

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

๑. ก ๒. ค
๓. ง ๔. ข
๕. ก ๖. ข
๗. ง ๘. ก
๙. ง ๑๐. ข
๗๙

- เครื่องมือวัดและประเมินผล
- แบบบันทึกคะแนน
๘๐

เกณฑ์การประเมินการอ่านร้อยแก้ว

ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.อักขรวิธี อ่านถูกต้องทุกคา อ่านผิดไม่เกิน ๓ คา อ่านผิดไม่เกิน ๕ คา อ่านผิดมากกว่า ๕ คา
ออกเสียง ร ล ชัดเจน ออกเสียง ร ล ชัดเจน ออกเสียง ร ล ชัดเจน
๒.แบ่งวรรค แบ่งวรรคตอนถูกต้อง แบ่งวรรคตอนผิด แบ่งวรรคตอนผิด แบ่งวรรคตอนผิด
ตอน ทุกวรรค ๑-๒ แห่ง ๓-๔ แห่ง มากกว่า ๔ แห่ง
๓.บุคลิกภาพ นั่งในท่าที่เหมาะสม นั่งในท่าที่เหมาะสม นั่งในท่าที่ นั่งในท่าที่ไม่เหมาะสม
ท่าทางใน ใช้สายตามองกวาด ใช้สายตามองกวาด ไม่เหมาะสมใช้สายตา ใช้นิ้วชี้ตามตัวอักษร
การอ่าน ตัวหนังสือ ไม่ชี้หรือ ตัวหนังสือ ถูกต้อง มองกวาดส่ายหน้าตาม และส่ายหน้าตาม
ส่ายหน้าตาม เป็นส่วนใหญ่ ตัวหนังสือถูกต้อง ตัวอักษร
ตัวอักษร เป็นส่วนน้อย
๔.น้าเสียงใน น้าเสียงชัดเจน น้าเสียงชัดเจน น้าเสียงชัดเจนนุ่มนวล น้าเสียงไม่ชัดเจน ขาด
การอ่าน นุ่มนวลน่าฟัง นุ่มนวลน่าฟังเป็น น่าฟังเป็นส่วนน้อย ความมั่นใจในการอ่าน
ส่วนใหญ่

เกณฑ์การประเมิน
๑๓ – ๑๖ คะแนน หมายถึง ดี
๘ – ๑๒ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๗ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๑

เกณฑ์การประเมินการพูดนาเสนอผลงาน
ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
1.การ เขียนแผนผังความคิด เขียนแผนผังความคิด เขียนแผนผัง ความคิดได้ เขียนแผนผังความคิด
เตรียมการพูดได้ครบถ้วน ตรง ได้ครบถ้วนตรง ครบถ้วน ตรงประเด็น ไม่ครบถ้วน ไม่ตรง
ประเด็น ประเด็นเป็นส่วนใหญ่ เป็นส่วนน้อย ประเด็น
2.การนาเสนอ การแนะนาตนเอง การแนะนาตนเอง การแนะนาตนเอง การแนะนาตนเอง
เนื้อหา เนื้อหาถูกต้อง เนื้อหาถูกต้อง ชัดเจน เนื้อหาถูกต้อง ชัดเจน ใช้ เนื้อหาถูกต้อง ชัดเจน
ชัดเจนใช้ภาษา ใช้ภาษากะทัดรัด ภาษากะทัดรัด เข้าใจ ใช้ภาษากะทัดรัด เข้าใจ
กะทัดรัด เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เรียงลาดับ ง่าย เรียงลาดับเรื่องราว ง่าย เรียงลาดับเรื่องราว
เรียงลาดับเรื่องราวไม่ เรื่องราวไม่วกวน นา ไม่วกวน น้าเสียงไม่ วกวน น้าเสียงเบา พูด
วกวนนาเสียงชัดเจน เสียงชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน ตามอักขรวิธี พบ ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี
ถูกต้องตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธีพบ ข้อผิดพลาดเป็นส่วน มีข้อ ผิดพลาดมาก
ข้อผิดพลาดบ้าง ใหญ่
3.บุคลิกภาพ - - แต่งกายสุภาพ การใช้ แต่งกายไม่เรียบร้อย
สายตาสื่อสารกับผู้ฟัง ไม่ใช้สายตาสื่อสารกับ
ขณะพูด นั่ง/ยืนตัวตรง ผู้ฟัง ขณะพูดเอามือ
ในท่าสบาย ไม่เอามือ ล้วงแคะแกะเกา หรือ
ล้วงแคะแกะเกา หรือ เอามือไขว้หลัง
เอามือไขว้หลัง
4.มารยาท มีความมั่นใจในการ มีความมั่นใจในการ มีความมั่นใจในการพูด ไม่มีความมั่นใจในการ
ในการพูด พูดใช้ถ้อยคาสุภาพ พูดเป็นส่วนใหญ่ใช้ บ้างเล็กน้อยใช้ถ้อยคา พูดใช้ถ้อยคาไม่สุภาพไม่
รักษาเวลาในการพูด ถ้อยคาสุภาพรักษา สุภาพรักษาเวลาในการ รักษาเวลาในการพูด
ให้เกียรติผู้ฟัง เวลาในการพูด ให้ พูด ให้เกียรติผู้ฟังเป็น ไม่ให้เกียรติผู้ฟัง
เกียรติผู้ฟัง เป็นส่วน บางส่วน
ใหญ่

เกณฑ์การประเมิน
๑๓ – ๑๖ คะแนน หมายถึง ดี
๘ – ๑๒ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๗ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๒

เกณฑ์การประเมินการเขียนเรื่อง

ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.องค์ประกอบ เนื้อหามีองค์ประกอบ เนื้อหาสาระขาด ๑ เนื้อหาสาระขาด ๒ ไม่มีองค์ประกอบ
สาคัญครบถ้วน องค์ประกอบ องค์ประกอบ สาคัญ
๒.แบบแผน เรียงลาดับเรื่องราวที่ เรียงลาดับเรื่องราวที่ เรียงลาดับเรื่องราวที่ เรียงลาดับเรื่องราว
ความคิด แสดงความสัมพันธ์ แสดงความสัมพันธ์ แสดงความสัมพันธ์ ไม่สัมพันธ์เชื่อมโยง
เชื่อมโยงกันอย่าง เชื่อมโยงกันอย่าง เชื่อมโยงกันอย่าง กัน
ต่อเนื่องชัดเจน ต่อเนื่องค่อนข้าง ต่อเนื่องเป็นบางส่วน
ชัดเจน
๓.การนาเสนอ ใช้ถ้อยคาภาษาได้ ใช้ถ้อยคาภาษาอย่าง ใช้ถ้อยคาภาษาได้ ไม่ใช้ถ้อยคาภาษาใน
เรื่อง อย่างถูกต้อง ถูกต้องสละสลวยร้อย อย่างถูกต้อง การสื่อความหมาย
สละสลวยร้อยรัด รัดกลมกลืน สื่อ สละสลวยร้อยรัด
กลมกลืน สื่อ ความหมายได้ชัดเจน กลมกลืน สื่อ
ความหมายได้ชัดเจน เป็นส่วนใหญ่ ความหมายได้ชัดเจน
ตลอดเรื่อง เป็นบางส่วน
๔.ความคิด มีความคิดริเริ่ม มีความคิดริเริ่ม มีความคิดริเริ่ม ไม่มคี วามคิดริเริ่ม
ริเริ่มสร้างสรรค์ สร้างสรรค์แปลกใหม่ สร้างสรรค์คล้ายคลึง สร้างสรรค์เหมือนสิ่งที่ สร้างสรรค์แปลกใหม่
ไม่ซ้าใคร กับสิ่งที่มีอยู่ มีอยู่
๕.มารยาท มีสมาธิ และมีความ มีความตั้งใจในการ มีความตั้งใจ ไม่มีความตั้งใจ
ในการเขียน ตั้งใจในการเขียน เขียนอย่างสม่าเสมอ ในการเขียน ในการเขียน พูด คุย
อย่างสม่าเสมอ ไม่พูด คุย เล่น พอสมควร พูด คุย เล่น ระหว่างทางาน
ไม่พูด คุย เล่น ระหว่างทางานผลงาน เล่น ระหว่างทางาน ตลอดเวลา ต้องคอย
ระหว่างทางาน ความสะอาด ไม่มีรอย เป็นบางครั้งผลงานไม่ ตักเตือนผลงานไม่มี
ผลงานความสะอาด ลบขีดฆ่า เสร็จตาม มีรอยลบขีดฆ่าเป็น รอยลบขีดฆ่าเป็น
สวยงาม ไม่มีรอยลบ เวลาที่กาหนด บางแห่ง เสร็จตาม บางแห่ง เสร็จตาม
ขีดฆ่า เสร็จตามเวลา เวลาที่กาหนด เวลาที่กาหนด
ที่กาหนดผลงานเป็น
ตัวอย่างต่อผู้อื่นได้

เกณฑ์การประเมิน
๑๖ - ๒๐ คะแนน หมายถึง ดี
๑๐ - ๑๕ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ - ๙ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๓

เกณฑ์การประเมินแบบประเมินการเขียนบันทึกความรู้

ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
๒ ๑
๑.จับประเด็นหลัก จับประเด็นหลักของเรื่องได้ จับประเด็นหลักของเรื่องได้บ้าง
ของเรื่องได้ ครบถ้วนทุกประเด็น บอกใจความ ไม่ครบทุกประเด็น
สาคัญของเรื่องได้

๒.สรุปสาระสาคัญ สรุปสาระสาคัญของเรื่องได้ชัดเจน สรุปสาระสาคัญของเรื่องได้


ของเรื่องได้ ลาดับเรื่อง/เหตุการณ์ได้ ถูกต้อง การลาดับเรื่อง/เหตุการณ์ได้
ไม่สับสนวกวน ยังสับสนวกวน

๓.บอกข้อคิด/อธิบาย บอกข้อคิด/อธิบายคุณค่าจากเรื่อง บอกข้อคิด/อธิบายคุณค่าจากเรื่องได้


คุณค่า จากเรื่องได้ อย่างมีเหตุผล

๔.สรุปข้อคิดไปใช้ใน สรุปข้อคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน สรุปข้อคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน


ชีวิตประจาวันได้ ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง มี ชีวติ ประจาวันได้
เหตุผล

๕.รูปแบบการเขียน กรอกข้อมูลตามรูปแบบบันทึกการ กรอกข้อมูลตามรูปแบบบันทึกการอ่าน


บันทึกการอ่าน อ่านถูกต้อง ครบถ้วน บอกผู้แต่ง ไม่ถูกต้องครบถ้วน ไม่บอกผู้แต่ง
แหล่งที่มา สานักพิมพ์ ฯลฯ วัน แหล่งที่มา สานักพิมพ์ ฯลฯ วันเดือนปี
เดือนปีที่อ่าน/สืบค้นข้อมูล ที่อ่าน/สืบค้นข้อมูล

เกณฑ์การประเมิน
๘ – ๑๐ คะแนน หมายถึง ดี
๕ – ๗ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๔ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๔

เกณฑ์การประเมินการเขียนแผนภาพความคิด

ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
๑.ประเด็นหัวข้อ การเขียนแผนภาพ เขียนแผนภาพโดย เขียนแผนภาพโดย เขียนแผนภาพได้
ชัดเจน โดยแยกประเด็นหัวข้อ แยกประเด็นหัวข้อ แยกรายละเอียด แต่รายละเอียด
ชัดเจนมีรายละเอียดของแต่ละ ชัดเจนมีรายละเอียด ย่อยไม่มีหัวข้อชัดเจน ต่าง ๆ ปะปนกัน
ประเด็นครบถ้วน รูปแบบ ของแต่ละประเด็น แต่ก็มีรูปแบบที่ทาให้ ไม่เรียงลาดับหัวข้อ
และการใช้คาเข้าใจง่าย พอสมควร รูปแบบ เข้าใจได้ ไม่มีหัวข้อ
และใช้คาเข้าใจง่าย
๒.ความสอดคล้องเป็น เนื้อเรื่องแสดงถึงความเป็นเหตุ เนื้อเรื่องแสดงถึงความ เนื้อเรื่องแสดงถึงความ เนื้อหาไม่แสดงถึง
เหตุเป็นผล เป็นผล สนับสนุนซึ่งกันและกัน เป็นเหตุเป็นผล สนับสนุน เป็นเหตุเป็นผล ความเป็นเหตุเป็นผล
มีการยกตัวอย่างหรืออ้างอิง ซึ่งกันและกัน มีการ สนับสนุน ซึ่งกันและ และไม่มีการ
ประกอบได้สอดคล้อง ยกตัวอย่างหรืออ้างอิง กัน มีการยกตัวอย่าง ยกตัวอย่างหรือ
ประกอบได้ค่อนข้าง หรืออ้างอิงประกอบ อ้างอิงประกอบ
สอดคล้อง แต่ไม่สอดคล้อง
๓.ระบุข้อคิด/คุณค่า สรุป บอกข้อคิด อธิบายคุณค่า สรุป บอกข้อคิด อธิบาย บอกข้อคิด และ บอกข้อคิด
การนาไปใช้ในชีวิต ของเรื่องที่อ่านได้ ถูกต้อง คุณค่าของเรื่องที่อ่านได้ ประโยชน์ที่ได้เรื่องที่ เรื่องที่อ่านได้
ครบถ้วนสามารถนาไป ถูกต้องครบถ้วน อ่านได้
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้

เกณฑ์การประเมิน
๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถึง ดี
๖ – ๙ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๕ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๕

เกณฑ์การประเมินการเขียนสรุปข้อคิด

ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
๑.เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระถูกต้องครบถ้วน เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระ
ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนบางส่วน ไม่ถูกต้องครบถ้วน
๒.แบบแผนความคิด เรียงลาดับเรื่องราวที่แสดง เรียงลาดับเรื่องราวที่ เรียงลาดับเรื่องราวที่ เรียงลาดับเรื่องราว
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แสดงความสัมพันธ์ แสดงความสัมพันธ์ ไม่สัมพันธ์เชื่อมโยง
อย่างต่อเนื่อง ชัดเจน เชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกันอย่าง กัน
ค่อนข้างชัดเจน ต่อเนื่องเป็นบางส่วน
๓.การเขียนสรุปข้อคิด ใช้ถ้อยคาได้ถูกต้องตาม ใช้ถ้อยคา สื่อความหมาย ใช้ถ้อยคาภาษาของ ใช้ถ้อยคาภาษาใน
หลักเกณฑ์การเขียน สรุป ได้ชัดเจนเป็นส่วนใหญ่ ตนเองได้อย่างถูกต้อง การเขียนไม่ถูกต้อง
ข้อคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ สรุปข้อคิดเพื่อนาไป สละสลวยร้อยรัด สรุปข้อคิดไม่ได้
ในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา กลมกลืน สื่อ
เหตุผล ได้ ความหมายได้ชัดเจน
เป็นบางส่วน

เกณฑ์การประเมิน
๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถึง ดี
๖ – ๙ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๕ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๖

เกณฑ์การประเมินการอ่านในใจ

ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
๑.ระยะเวลาในการ อ่านได้ครบถ้วนภายใน อ่านได้ร้อยละ ๑๐ อ่านได้ร้อยละ ๗๐ อ่านได้ไม่ถึง
อ่าน เวลาที่กาหนด ของข้อมูล ของข้อมูล ร้อยละ ๕๐
ของข้อมูล
๒.หลักการอ่านในใจ อ่านในใจได้ถูกต้องตาม อ่านในใจได้ถูกต้องตา อ่านในใจได้ถูกต้อง อ่านในใจไม่ถูกต้อง
หลักการอ่าน หลักการอ่านเป็นส่วน ตามหลักการอ่าน ตามหลักการอ่าน
ใหญ่ เป็นบางส่วน

๓.บุคลิกภาพ ท่าทาง นั่งในท่าที่เหมาะสม นั่งในท่าที่เหมาะสม นั่งในท่าที่ นั่งในท่าที่


ในการอ่าน ใช้สายตามองกวาด ใช้สายตามองกวาด ไม่เหมาะสมใช้ ไม่เหมาะสม
ตัวหนังสือ ไม่ชี้หรือ ตัวหนังสือ ถูกต้อง สายตามองกวาด ใช้นิ้วชี้ตามตัวอักษร
ส่ายหน้าตามตัวอักษร เป็นส่วนใหญ่ ส่ายหน้าตาม และส่ายหน้าตาม
ตัวหนังสือถูกต้อง ตัวอักษร
เป็นส่วนน้อย
๔.การนาเสนอ ทากิจกรรมหลังการอ่าน ทากิจกรรมหลังการ ทากิจกรรมหลังการ ทากิจกรรมหลังการ
ได้ถูกต้อง อ่านได้ถูกต้องเป็น อ่านได้ถูกต้องเป็น อ่านไม่ถูกต้อง
ส่วนใหญ่ บางส่วน

เกณฑ์การประเมิน
๑๓ – ๑๖ คะแนน หมายถึง ดี
๘ – ๑๒ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๗ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๗

เกณฑ์การประเมินการพูดรายงาน

ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระถูกต้อง เนื้อหาสาระ
ครบถ้วน ครบถ้วนเป็นส่วนใหญ่ ครบถ้วนบางส่วน ไม่ถูกต้องครบถ้วน
๒.ด้าน เรียงลาดับเรื่องราวที่ เรียงลาดับเรื่องราวที่แสดง เรียงลาดับเรื่องราวที่ เรียงลาดับเรื่องราว
ความคิด แสดงความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แสดงความสัมพันธ์ ไม่สัมพันธ์
เชื่อมโยงกัน อย่างต่อเนื่องค่อนข้าง เชื่อมโยงกัน เชื่อมโยงกัน
อย่างต่อเนื่อง ชัดเจน ชัดเจน อย่างต่อเนื่องเป็นบางส่วน
๓.การนาเสนอ ใช้ถ้อยคาภาษาอย่าง ใช้ถ้อยคาภาษาอย่าง ใช้ถ้อยคาภาษาอย่าง ใช้ถ้อยคาภาษา
ถูกต้อง สละสลวย ร้อย ถูกต้อง สละสลวย ร้อยรัด ถูกต้อง สละสลวย ร้อยรัด ไม่ถูกต้อง น้าเสียง
รัดกลมกลืน น้าเสียง กลมกลืน น้าเสียงเป็น กลมกลืน น้าเสียงเป็น ไม่เป็นธรรมชาติ
เป็นธรรมชาติสื่อ ธรรมชาติสื่อความหมาย ธรรมชาติสื่อความหมาย สื่อความหมาย
ความหมายได้ชัดเจน ได้ชัดเจนเป็นส่วนใหญ่ ได้ชัดเจนเป็นบางส่วน ไม่ชัดเจน
ตลอดเรื่อง
๔.ขั้นตอน กล่าวทักทายผู้ฟัง กล่าวทักทายผู้ฟัง แนะนา กล่าวทักทายผู้ฟัง แนะนา ไม่กล่าวทักทายผู้ฟัง
การพูด แนะนาตนเอง แสดง ตนเอง แสดงความเคารพ ตนเอง ไม่แสดงความ ไม่แนะนาตนเอง
ความเคารพต่อผู้ฟัง ต่อผู้ฟัง เคารพต่อผู้ฟัง ไม่แสดงความ
ทั้งเริ่มต้นและลงท้าย เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งเริ่มต้นและลงท้าย เคารพต่อผู้ฟัง
ทั้งเริ่มต้นและ
ลงท้าย

เกณฑ์การประเมิน
๑๖ - ๒๐ คะแนน หมายถึง ดี
๑๐ - ๑๕ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ - ๙ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๘

เกณฑ์การประเมินการเขียนเรื่องสั้น

ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.เขียนเรื่องสั้นๆ ใช้คาที่กาหนดเขียน ใช้คาที่กาหนดเขียน ใช้คาที่กาหนดเขียน ใช้คาที่กาหนดเขียน
เรื่องสั้นๆโดยมีเนื้อ เรื่องสั้นๆโดยมีเนื้อ เรื่องสั้นๆโดยมี เรื่องสั้นๆ
เรื่องน่าสนใจแสดงถึง เรื่อง และ การดาเนิน เนื้อเรื่อง และ เนือ้ เรื่อง และ
ความคิดสร้างสรรค์ เรื่องต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ การดาเนิน การดาเนินเรื่อง
การดาเนินเรื่อง ต้นจน และใช้ภาษา ต่อเนื่องกัน ยังขาดความต่อเนื่อง
ต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้น กระชับ ใช้ภาษาบกพร่อง การใช้ภาษายังต้อง
จน และใช้ภาษาได้ สื่อความหมายได้ เล็กน้อย ปรับปรุง
ถูกต้อง เหมาะสม ชัดเจน
๒.มารยาทในการ มีสมาธิ และมีความ มีความตั้งใจ มีความตั้งใจ ไม่มีความตั้งใจ
เขียน ตั้งใจในการเขียน ในการเขียนอย่าง ในการเขียนพอสมควร ในการเขียน พูด คุย
อย่างสม่าเสมอ สม่าเสมอ ไม่พูด คุย พูด คุย เล่น ระหว่าง เล่น ระหว่างทางาน
ไม่พูด คุย เล่น เล่น ระหว่างทางาน ทางาน ตลอดเวลา ต้องคอย
ระหว่างทางาน ผลงานความสะอาด เป็นบางครั้งผลงานไม่ ตักเตือนผลงานไม่มี
ผลงานความสะอาด ไม่มีรอยลบขีดฆ่า มีรอยลบขีดฆ่าเป็น รอยลบขีดฆ่าเป็นบาง
สวยงาม ไม่มีรอยลบ เสร็จตามเวลาที่ บางแห่ง เสร็จตาม แห่ง เสร็จตามเวลาที่
ขีดฆ่า เสร็จตามเวลา กาหนด เวลาที่กาหนด กาหนด
ที่กาหนดผลงานเป็น
ตัวอย่างต่อผู้อื่นได้

เกณฑ์การประเมิน
๗ – ๘ คะแนน หมายถึง ดี
๔ – ๖ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๓ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๘๙

เกณฑ์ประเมินการพูดแสดงความคิดเห็น

ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.การเขียนหรือพูด พูดแสดงแสดงความ พูดแสดงแสดงความ พูดแสดงแสดงความ พูดแสดงแสดงความ
แสดงความคิดเห็น คิดเห็นและแสดง คิดเห็นและแสดง คิดเห็นและแสดง คิดเห็นสั้นๆไม่แสดง
เหตุผลประกอบอย่าง เหตุผลประกอบ เหตุผลประกอบ เหตุผลประกอบ
ชัดเจน พอสมควร เล็กน้อย
๒.การนาเสนอเนื้อหา การแนะนาตนเอง การแนะนาตนเอง การแนะนาตนเอง การแนะนาตนเอง
เนื้อหาถูกต้อง เนื้อหาถูกต้อง ชัดเจน เนื้อหาถูกต้อง ชัดเจน เนื้อหาไม่ถูกต้อง
ชัดเจนใช้ภาษา ใช้ภาษากะทัดรัด ใช้ภาษากะทัดรัด ไม่ชัดเจน ใช้ภาษา
กะทัดรัด เข้าใจง่าย เข้าใจง่าย เรียงลาดับ เข้าใจง่าย เรียงลาดับ ไม่เหมาะสม
เรียงลาดับเรื่องราว เรื่องราวไม่วกวน นา เรื่องราวไม่วกวน เรียงลาดับเรื่องราว
ไม่วกวนน้าเสียง เสียงชัดเจน ถูกต้อง น้าเสียงไม่ชัดเจน ตาม วกวน น้าเสียงเบา พูด
ชัดเจน ถูกต้องตาม ตามอักขรวิธี อักขรวิธี พบ ไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี
อักขรวิธี พบข้อผิดพลาดบ้าง ข้อผิดพลาด มีข้อผิดพลาดมาก
เป็นส่วนใหญ่
๓.มารยาท - - แต่งกายสุภาพ แต่งกายไม่เรียบร้อย
ในการพูดและ การใช้สายตาสื่อสาร ไม่ใช้สายตาสื่อสารกับ
บุคลิกภาพ กับผู้ฟัง ขณะพูด นั่ง/ ผู้ฟัง ขณะพูดเอามือ
ยืนตัวตรงในท่าสบาย ล้วงแคะแกะเกาหรือ
ไม่เอามือล้วงแคะแกะ เอามือไขว้หลัง ใช้
เกาหรือเอามือไขว้ น้าเสียงราบเรียบ ใช้
หลัง ถ้อยคามีข้อบกพร่อง
ใช้น้าเสียงนุ่มนวล ใช้ บ้าง
ถ้อยคาสุภาพ

เกณฑ์การประเมิน
๘ –๑๐ คะแนน หมายถึง ดี
๕– ๗ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ – ๔ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
๙๐

เกณฑ์ประเมิน มารยาทในการอ่าน
ประเด็นการประเมิน
๑. ไม่ควรอ่านเรื่องที่เป็นส่วนตัวของบุคคลอื่น เช่น จดหมาย สมุดบันทึก
๒. ในขณะที่มีผู้อ่านหนังสือ ไม่ควรชะโงกไปอ่านข้างหลังให้เป็นที่ราคาญและไม่ควร แย่งอ่าน
๓. ไม่อ่านออกเสียงดัง ในขณะที่ผู้อื่นต้องการความสงบ
๔. ไม่แกล้งอ่านเพื่อล้อเลียนบุคคลอื่น
๕. ไม่ควรถือวิสาสะหยิบหนังสือของบุคคลอื่นมาอ่านโดยไม่ได้รับอนุญาต
๖. ไม่อ่านหนังสือเมื่ออยู่ในวงสนทนาหรือมีการประชุม
๗. เมื่ออ่านหนังสือในห้องสมุดหรือสถานที่ซึ่งจัดไว้ให้อ่านหนังสือโดยเฉพาะ ไม่ส่งเสียงดัง ควรปฏิบัติตามระเบียบ
กฎเกณฑ์ของสถานที่เหล่านั้นอย่างเคร่งครัด
ตารางประเมินมารยาทการอ่าน
รายการประเมิน

๔. ไม่แกล้งอ่านเพื่อล้อเลียนบุคคลอื่น
ชะโงกไปอ่านข้างหลังให้เป็นที่ราคาญ

๖. ไม่อ่านหนังสือเมื่ออยู่ในวงสนทนา
บุคคลอื่นมาอ่านโดยไม่ได้รับอนุญาต
๕. ไม่ควรถือวิสาสะหยิบหนังสือของ
๑. ไม่ควรอ่านเรื่องที่เป็นส่วนตัวของ
บุคคลอื่น เช่น จดหมาย สมุดบันทึก

โดยเฉพาะ ไม่ส่งเสียงดัง ควรปฏิบัติ


๓. ไม่อ่านออกเสียงดัง ในขณะที่ผู้อนื่

๗. เมื่ออ่านหนังสือในห้องสมุดหรือ
๒. ในขณะที่มีผู้อ่านหนังสือไม่ควร

ตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสถานที่
สถานที่ซึ่งจัดไว้ให้อ่านหนังสือ
ที่ ชื่อ-สกุล รวม สรุป

เหล่านั้นอย่างเคร่งครัด
ปฏิบัติ
และไม่ควรแย่งอ่าน

ต้องการความสงบ

หรือมีการประชุม
ได้
(ข้อ)

ลงชื่อ......................................................ผู้ประเมิน
(......................................................)
เกณฑ์การประเมิน ข้อละ ๑ คะแนน
ปฏิบัติได้ ๖ – ๗ ข้อ หมายถึง ดี
ปฏิบัติได้ ๔ – ๕ ข้อ หมายถึง พอใช้
ปฏิบัติได้ ๑ – ๓ ข้อ หมายถึง ปรับปรุง
๙๑

ตารางสรุปผลการประเมินพฤติกรรมนักเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

ที่ ชื่อ-สกุล รวม สรุป

(................................................) ผู้ประเมิน
................/.................../..............
๙๒

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

ที่ ชื่อ-สกุล รวม สรุป

(................................................) ผู้ประเมิน
................/.................../..............
๙๓

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

การเขียน กระบวนการ
ผังความคิด ทางานกลุ่ม รวม สรุป
ที่ ชื่อ-สกุล จากการอ่าน (๒๗)
(๑๒) (๑๕)

(................................................) ผู้ประเมิน
................/.................../..............
๙๔

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

ตอบคาถาม กระบวนการ
ที่ ชื่อ-สกุล จากเรื่องที่อา่ น ทางานกลุ่ม รวม สรุป
(๑๐) (๑๕) ๒๕

(................................................) ผู้ประเมิน
................/.................../..............
๙๕

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

สรุป การเล่า การเขียน การทา กระบวนการ


ความรู้ นิทาน เรื่องตาม นิทานเล่ม ทางานกลุ่ม
ที่ ชื่อ-สกุล ข้อคิด การพูด ความ เล็ก/นิทาน รวม สรุป
จากเรื่อง นาเสนอ สนใจ หน้าเดียว (คะแนน)

(................................................) ผู้ประเมิน
................/.................../..............
๙๖

ตารางบันทึกคะแนนประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี ๙
จานวน ๑๐ ชั่วโมง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

เฉลี่ย สรุป

รวมคะแนน
ที่ ชื่อ-สกุล ร้อยละ ผ่าน/

แผนที่ ๑

แผนที่ ๒

แผนที่ ๓

แผนที่ ๔

แผนที่ ๕
(๑๐๐) ไม่ผา่ น

หมายเหตุ การสรุปผลการประเมิน นักเรียนต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่า ร้อยละ ๗๐ จึงจะถือว่า “ผ่าน”

(................................................) ผูป้ ระเมิน


........../...................../...........
๓๐

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙
มุ่งลิขิต คิดเหตุผล

  ท ๙/ผ.๑

แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ รอบรู้สู่การแก้ปัญหา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕


.......................................................................................................................................
คาชี้แจง นักเรียนทำเครื่องหมำย × ทับตัวอักษรหน้ำคำตอบที่ถูกต้อง
๑. ข้อใดเป็นข้อเท็จจริง
ก. กำรดูโทรทัศน์เป็นหนึ่งปัจจัยที่คนเรำชอบ
ข. กำรดูโทรทัศน์ก็ถูกกล่ำวโทษว่ำอำจเป็นสำเหตุที่ทำให้อ้วน
ค. กลุ่มตัวอย่ำงที่ดูภำพยนตร์ไม่ควรจะนำขนมขบเคี้ยวเข้ำไปรับประทำน
ง. ขณะดูหนังมักกินขนมขบเคี้ยวมำกกว่ำเดิมเกือบสองเท่ำซึ่งอำจนำไปสู่ควำมอ้วน
๒. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น
ก. เชื้อแบคทีเรียมีมำกที่สุดในแตงกวำ ร้อยละ ๙๔
ข. ผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่ำงผักสดเครื่องเคียงในร้ำนอำหำร
ค. เชื้อแบคทีเรียจะสร้ำงสำรพิษที่อำจจะทำให้ท้องเสียได้
ง. น้ำใบบัวบกสำมำรถลดเชื้อที่ปนเปื้อนได้ดีกว่ำน้ำสะอำดถึง ๑.๕ เท่ำ
๓. พระบรมรำโชวำทมีคุณค่ำด้ำนใดมำกที่สุด
ก. ด้ำนสังคม ข. ด้ำนเนื้อหำ
ค. ด้ำนกำรใช้ภำษำไทย ง. ด้ำนกำรนำไปใช้ในชีวิต
๔. กำรเขียนหนังสือให้ถูกต้อง ชัดเจน มีประโยชน์ด้ำนใดมำกที่สุด
ก. ด้ำนผลกำรเรียน ข. ด้ำนกำรสื่อสำร
ค. ด้ำนกำรเขียนจดหมำย ง. ด้ำนกำรแสดงควำมคิดเห็น
๕. นักเรียนใช้หลักกำรตำมข้อใดในกำรเลือกสินค้ำจำกคำโฆษณำ
ก. ควำมสมเหตุสมผล ข. รูปแบบกำรนำเสนอ
ค. ตรงกับควำมต้องกำร ง. คุณประโยชน์ของสินค้ำ

  ท ๙/ผ.๑

๖. จำกคำโฆษณำต่อไปนี้ข้อใดน่ำเชื่อถือมำกที่สุด
ก. ยิ้มสวยทุกองศำ ด้วยยำสีฟันตรำใบข่อย
ข. หุ่นดี สุขภำพดี ออกกำลังกำยที่ศูนย์นภำ
ค. ข้ำวอบแกงเขียวหวำน ทำง่ำยเหมือนร่ำยมนต์
ง. สบู่ตรำแสงจันทร์ ใช้ทุกวันผิวพรรณขำวผ่องเป็นยองใย

๗. ข้อใดเขียนเพื่อโน้มน้ำวใจ ได้สมเหตุสมผลที่สุด
ก. ประณีตแบบวิถีไทย ขนมเรไรจำกร้ำนน้องอร
ข. ซำหริ่มสวย มำกด้วยคุณภำพ จำกร้ำนจ๊ำบศรี
ค. อร่อยแบบไทย ปลำยจวักกุลสตรีที่ครัวสมหญิง
ง. ไม่ใส่ผงชูรส งดวัตถุกันเสียแน่ ต้องน้ำพริกแม่จอม

๘. “แม่ของฉันแกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมำก” จำกประโยคนี้ ข้อใดเป็นภำคแสดง


ก. แกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมำก ข. แกงส้มผักบุ้ง
ค. อร่อยมำก ง. ของฉัน

๙. ข้อใดเป็นประโยชน์มำกที่สุดจำกกำรอ่ำนวรรณคดี
ก. กำรใช้ภำษำในกำรเขียน
ข. ควำมบันเทิงจำกเรื่องที่อ่ำน
ค. กำรสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทย
ง. กำรนำข้อคิดไปใช้ในกำรดำเนินชีวิต

๑๐. จำกวรรณคดีเรื่อง “กระเช้ำของนำงสีดำ” ให้คุณธรรมเรื่องใด


ก. ควำมมีวินัย ข. ควำมมีน้ำใจ
ค. ควำมกตัญญู ง. ควำมรับผิดชอบ
...............................................................................................................................................

 ท ๙/ผ.๑

ใบความรู้
การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น

การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง หมำยถึง เหตุกำรณ์ที่มีจริง หรือเป็นจริง พิสูจน์ได้
ข้อคิดเห็น หมำยถึง ควำมเห็น ควำมรู้สึกนึกคิดของผู้ส่งสำรที่สอดแทรกอยู่ใน
เหตุกำรณ์ซึ่งแสดงตำรำงเปรียบเทียบ ดังนี้

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๑. มีควำมเป็นไปได้ ๑. แสดงควำมรู้สึก
๒. มีควำมสมจริง ๒. แสดงกำรคำดคะเน
๓. มีหลักฐำนเชื่อถือได้ ๓. แสดงกำรเปรียบเทียบหรืออุปมำอุปไมย
๔. มีควำมสมเหตุสมผล ๔. แสดงกำรเสนอแนะควำมคิดของผู้พูดหรือ
ผู้เขียน

ตัวอย่างที่เป็นข้อเท็จจริง
๑. พ่อขุนรำมคำแหงมหำรำชทรงประดิษฐ์อักษรไทย
ในปีพ.ศ. ๑๘๒๖ ๑๘๒๖
(พิสูจน์ได้ด้วยหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์)
๒. ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (พิสูจน์ได้จำกประสบกำรณ์)
ตัวอย่างข้อความที่เป็นความคิดเห็น
๑. คนที่เดินนำหน้ำมักเป็นผู้ชำยเสมอ (ไม่มีข้อยืนยัน)
๒. อำกำศในภำคเหนือของไทยดีที่สุด (ไม่มีข้อวินิจฉัย)

 ท ๙/ผ.๑

ใบความรู้
การอ่านจับใจความสาคัญ

การอ่านจับใจความ

ความหมายของการอ่านจับใจความสาคัญ
ใจความสาคัญ หมำยถึง ใจควำมที่เด่นที่สุดในย่อหน้ำ เป็นแก่นของย่อหน้ำ
ที่สำมำรถครอบคลุมเนื้อควำมในประโยคอื่น ๆ ในย่อหน้ำนั้นหรือประโยคที่สำมำรถ
เป็นหัวเรื่องของย่อหน้ำนั้นได้ ถ้ำตัดเนื้อควำมของประโยคอื่นออกหมด โดยไม่ต้องมี
ประโยคอื่นประกอบ ซึ่งในแต่ละย่อหน้ำจะมีประโยคใจควำมสำคัญเพียงประโยคเดียว
หรืออย่ำงมำกไม่เกิน ๒ ประโยค

หลักการอ่านจับใจความสาคัญ
๑. ตั้งจุดมุ่งหมำยในกำรอ่ำนให้ชัดเจน
๒. อ่ำนเรื่องรำวอย่ำงคร่ำว ๆ พอเข้ำใจ และเก็บใจควำมสำคัญของแต่ละย่อหน้ำ
๓. เมื่ออ่ำนจบให้ตั้งคำถำมตนเองว่ำ เรื่องที่อ่ำน มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร
อย่ำงไร
๔. นำสิ่งที่สรุปได้มำเรียบเรียงใจควำมสำคัญใหม่ด้วยสำนวนของตนเองเพื่อให้เกิด
ควำมสละสลวย

 ท ๙/ผ.๑

ใบงานขั้นนา

คาชี้แจง ดูภำพและอ่ำนข่ำวเรื่อง “กำรดูโทรทัศน์จะบริโภคอำหำรมำกกว่ำเดิม”


แล้วเขียนแสดงควำมคิดเห็นตำมหัวข้อที่กำหนด

การดูโทรทัศน์จะบริโภคอาหารมากกว่าเดิม

กำรดูโทรทัศน์เป็นหนึ่งปัจจัยที่คนเรำชอบ และกำรดูโทรทัศน์ก็ถูกกล่ำวโทษ
อำจเป็นสำเหตุที่ทำให้ “อ้วน” ซึ่งคำกล่ำวนี้ก็ไม่ได้เกินจริงมำกนัก เพรำะ เชื่อว่ำทุกคน
ต้องแอบกินจุบกินจิบระหว่ำงที่ดูไปด้วยไม่เพียงเท่ำนั้น ผลกำรวิจัยจำกมหำวิทยำลัย
ในสหรัฐอเมริกำ ยังพบอีกด้วยว่ำ ประเภทของรำยกำรที่ดูมีทั้งข่ำวในพระรำชสำนัก
ข่ำวทั่วไป ข่ำวบันเทิง ข่ำวกีฬำฯลฯ ก็มีผลต่อกำรบริโภคด้วยเช่นกันผลกำรวิจัยดังกล่ำว
พบว่ำ ผู้ทชี่ มโทรทัศน์ในประเภทรำยกำรที่เป็นภำพยนตร์มีแนวโน้มที่จะทำให้อ้วนมำกขึ้น
กำรศึกษำได้เปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่ำง โดยให้ชมภำพยนตร์ เปรียบเทียบกับรำยกำรทีวี
ที่เป็นรำยกำรสัมภำษณ์ พบว่ำ กลุ่มตัวอย่ำงที่ดูภำพยนตร์จะรับประทำนอำหำร และ
ขนมขบเคี้ยวที่เตรียมไว้มำกกว่ำถึงเกือบสองเท่ำเลยทีเดียว ซึ่งคำดว่ำน่ำจะนำไปสู่ควำมอ้วน
ในที่สุด

 ท ๙/ผ.๑

ใบงานขัน้ นา

๑. เขียนประโยคที่เป็นข้อเท็จจริงจำกข่ำว ๒ ประโยค

ประโยคที่ ๑ คือ ............................................................................................................


ประโยคที่ ๒ คือ ............................................................................................................
.........................................................................................................................................
๒. แต่งประโยคที่เป็นข้อเท็จจริงตำมจินตนำกำร ๑ ประโยค
ประโยคตำมจินตนำกำร : ..................................................................................................
๓. เขียนประโยคที่เป็นข้อคิดเห็นจำกข่ำว ๒ ประโยค
ประโยคที่ ๑ คือ ...........................................................................................................
ประโยคที่ ๒ คือ ...........................................................................................................
..........................................................................................................................................
๔. แต่งประโยคที่เป็นข้อคิดเห็นตำมจินตนำกำร ๑ ประโยค
ประโยคตำมจินตนำกำร : .......................................................................................

 ท ๙/ผ.๑–๐๑

ใบงานที่ ๐๑
การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น

คาชี้แจง อ่ำนข่ำวเรื่อง “ฮือฮำ น้ำใบบัวบกล้ำงผักสดลดเชื้อโรคได้” แล้วเขียนข้อเท็จจริง


และข้อคิดเห็นลงในแผนภำพควำมคิดที่กำหนด

ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้

นำยสำมำรถ สุวรรณภักดี เป็นนักวิชำกำรสำธำรณสุขชำนำญกำรประจำโรงพยำบำล


ส่งเสริมสุขภำพตำบลบ้ำนหัวคู อำเภอท่ำศำลำ จังหวัดนครศรีธรรมรำช พบว่ำ วิถีชีวิต
กำรกินอยู่ของประชำชนน่ำจะรับประทำนผักสดเป็นผักเครื่องเคียงทั้งในครัวเรือนและ
ร้ำนอำหำรทั่วไป ผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่ำงผักสดเครื่องเคียงในร้ำนอำหำร เช่น แตงกวำ
ใบมันปู กะหล่ำปลี มำทดสอบด้วยชุดทดสอบน้ำยำตรวจเชื้อแบคทีเรียตำมมำตรฐำน
ของกรมอนำมัย ผลปรำกฏว่ำ ตรวจพบเชื้อแบคทีเรียมำกสุดในแตงกวำร้อยละ ๙๔
กะหล่ำปลีร้อยละ ๘๙ใบมันปูและถั่วงอกพบร้อยละ ๘๓คนไทยส่วนใหญ่อำจจะรับประทำน
ผักที่มีเชื้อแบคทีเรียปนเปื้อนจำนวนมำก หรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เชื้อโรคเหล่ำนี้
จะไปเกำะติดกับผนังลำไส้จะสร้ำงสำรพิษที่อำจจะทำให้เกิดอำกำรท้องเสียได้ และพบว่ำ
กำรล้ำงด้วยน้ำใบบัวบกสำมำรถลดเชื้อที่ปนเปื้อนได้ดีกว่ำน้ำสะอำดถึง ๑.๕ เท่ำ เนื่องจำก
ในใบบัวบกมีสำรทีมีฤทธิ์ในกำรฆ่ำเชื้อแบคทีเรียได้ดี ซึ่งขั้นตอนกำรล้ำงผักเครื่องเคียงนั้น
ทำได้ง่ำยมำก โดยกำรนำใบบัวบกที่หำได้ตำมท้องถิ่นมำต้ม จำกนั้นใช้กระชอนกรอง
ใบบัวบกออก แล้วนำน้ำใบบัวบกที่กรองแล้วไปล้ำงผักเครื่องเคียงอย่ำงน้อย ๑๕ นำที
กวนหลำยๆครั้ง เมื่อล้ำงเรียบร้อยแล้วสำมำรถนำไปรับประทำนได้อย่ำงปลอดภัย
๑๐
 ท ๙/ผ.๑–๐๑

ใบงานที่ ๐๑
การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น

คาชี้แจง เขียนข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจำกกำรอ่ำนข่ำวเรื่อง“ฮือฮำ น้ำใบบัวบกล้ำงผักสด


ลดเชื้อโรคได้”ลงในแผนภำพควำมคิดที่กำหนด

แผนภาพความคิด

เรื่อง“ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้”

ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
...............

..................................................................... ...................................................................
.................................................................... ...................................................................
..................................................................... ...................................................................
..................................................................... ...................................................................
..................................................................... ...................................................................
..................................................................... ...................................................................
..................................................................... ...................................................................
..................................................................... ...................................................................
..................................................................... ...................................................................
๑๑

 ท ๙/ผ.๑–๐๒

ใบงานที่ ๐๒
ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน

คาชี้แจง ตอบคำถำมจำกกำรอ่ำนเรื่อง “ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้”

๑. ใจควำมสำคัญของเรื่อง “ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้” คือ


............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

๒. ข้อคิดที่ได้จำกเรื่อง “ฮือฮา น้าใบบัวบกล้างผักสดลดเชื้อโรคได้” คือ


.............................................................................................................................................................

๓. นักเรียนนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันโดย .....................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
๑๒
๑๒

 ท ๙/ผ.๒

ขั้นนา

พระบรมฉายาลักษณ์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

คาชี้แจง เขียนคำอ่ำนจำกคำรำชำศัพท์ที่กำหนด

คาราชาศัพท์ที่กาหนด
๑. พระบรมฉำยำลักษณ์ อ่ำนว่ำ ......................................................................................
๒. พระบรมรำโชวำท อ่ำนว่ำ ......................................................................................
๓. พระรำชดำรัส อ่ำนว่ำ ......................................................................................
๔. พระรำชทำน อ่ำนว่ำ .....................................................................................
๑๓

 ท ๙/ผ.๒

ใบความรู้
พระบรมราโชวาท

พระบรมราโชวาท หมำยถึง คำสั่งสอนของพระมหำกษัตริย์


พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว พระรำชทำนพระบรมรำโชวำทแก่พสกนิกร
ไว้จำนวนมำก ในวโรกำสต่ำง ๆ แต่ละครั้งเปี่ยมไปด้วยข้อคิด คติเตือนใจ
รวมถึงแนวทำงปฏิบัติที่สำมำรถนำมำใช้ในกำรดำเนินชีวิตได้เป็นอย่ำงดี

ตัวอย่างพระบรมราโชวาท
ในบ้ำนเมืองนั้น มีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มีใครที่จะทำให้ทุกคน
เป็นคนดีได้ทั้งหมด กำรทำให้บ้ำนเมืองมีควำมปกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่
กำรทำให้ทุกคนเป็นคนดี หำกแต่อยู่ที่กำรส่งเสริมคนดี ให้คนดีปกครอง
บ้ำนเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนำจ ไม่ให้ก่อควำมเดือดร้อนวุ่นวำย
๑๔
 ท ๙/ผ.๒-๐๓

ใบงานที่ ๐๓
การอ่านพระบรมราโชวาท
คาชี้แจง อ่ำนพระบรมรำโชวำทเรื่อง “คนดี” แล้วตอบคำถำจำกเรื่องที่อ่ำน

คนดี

ในบ้ำนเมืองนั้น มีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มีใครที่จะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด


กำรทำให้บำ้ นเมืองมีควำมปกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่กำรทำให้ทุกคนเป็นคนดี
หำกแต่อยู่ที่กำรส่งเสริมคนดี ให้คนดีปกครองบ้ำนเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้
มีอำนำจไม่ให้ก่อควำมเดือดร้อนวุ่นวำยได้

๑. ในพระบรมรำโชวำททรงมีพระรำชประสงค์ ...................................................................
...................................................................................................................................................
๒. ข้อคิดที่ได้จำกพระบรมรำโชวำท คือ ..............................................................................
...................................................................................................................................................
๓. นักเรียนนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน......................................................................
..................................................................................................................................................
๑๕
 ท ๙/ผ.๒

ใบความรู้
การคัดลายมือ

กำรคัดลำยมือมีจุดมุ่งหมำยเพื่อให้เด็กได้ฝึกเขียนพยัญชนะ สระ
และวรรณยุกต์ของไทยให้ถูกต้อง สวยงำม และเป็นระเบียบเรียบร้อย ตำมรูปแบบ
ที่รำชบัณฑิตยสถำนกำหนด ซึ่งมีข้อควรปฏิบัติดังนี้

๑. นั่ง วำงสมุด และจับดินสอให้ถูกต้อง


๒. ตั้งใจและมีสมำธิในกำรคัด
๓. เขียนตัวอักษรถูกต้องตำมแบบกำรเขียนอักษรไทย
๔. เขียนพยัญชนะจรดเส้นบรรทัดบน – บรรทัดล่ำง
๕. เว้นระยะช่องไฟให้เท่ำกัน และสม่ำเสมอ
๖. วำงรูปพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ให้ถูกตำแหน่ง
๑๖

 ท ๙/ผ.๒ -๐๔

ใบงานที่ ๐๔
การคัดลายมือ

คาชี้แจง คัดลำยมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑ จบ และครึ่งบรรทัด ๑ จบ


จำกเพลง “ผู้ปิดทองหลังพระ” ของคำรำบำว

เพลง ผู้ปิดทองหลังพระ

...หกสิบห้ำปีทำเพื่อรำษฎร์ ทวยไทยทั้งชำติสมควรภำคภูมิ มีพระมหำกษัตริย์


เฝ้ำคอยห่วงใย ทุ่มเทพระวรกำยเพื่อเรำ ค้นคิดแนวทำงพระรำชดำริ ตลอดกำรครองรำชย์
อันยืดยำว ในน้ำมีปลำในนำมีข้ำว ล้นเกล้ำชำวไทยมีพระองค์ท่ำน พระองค์ทรงเสียสละ
เพียงไหน มีใครเห็นใจสงสำร ก็ใครหนอใครค่ำเช้ำเฝ้ำทรงงำน เป็นผู้ปิดทองหลังพระ
พระบำทสมเด็จพระปรมินทร์ มหำภูมิพลอดุลยเดช มหิตลำธิเบศร รำมำธิบดี
จักรีนฤบดินทร สยำมมินทรธิรำช บรมนำถบพิตร ทรงสถิตเหนือเกล้ำชำวไทย
เป็นดวงใจของแผ่นดิน ทรงสถิตเหนือเกล้ำชำวไทย ศูนย์รวมใจแผ่นดิน
๑๗
 ท ๙ /ผ.๒ -๐๔

ใบงานที่ ๐๔
การคัดลายมือ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๑๘
 ท ๙ /ผ.๓

ใบความรู้
การเขียนโฆษณา

การเขียนหรือการพูดโฆษณาเป็นการเสนอข่าวสารการขาย หรือแจ้งข่าวสาร
ให้บุคคลที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทราบเกี่ยวกับสินค้าการบริการ หรือแนวความคิด
โดยเจ้าของหรือผู้อุปถัมภ์เปิดเผยตนเอง มีการจ่ายเงิน เพื่อการใช้สื่อและเป็นการเสนอ
ข้อมูลที่มิใช่เป็นการส่งบุคคลเข้าไปติดต่อโดยตรง
จุดมุ่งหมายหลักของการโฆษณา ก็คือ การขายสินค้า แต่จุดมุ่งหมายที่ต้องการ
ให้เกิดขึ้นฉับพลันก็คือ การติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการสื่อสารไปยัง
กลุ่มเป้าหมายที่แอบแฝงด้วย หน้าที่ที่สาคัญของการโฆษณามีหลายประการ คือ
ประโยชน์ของการโฆษณา คือ ประการแรกเป็นการป่าวประกาศให้
สาธารณชน ได้รู้จักสินค้า หรือบริการหลายอย่างหลายประเภท
ประการที่สองการโฆษณาจะต้องนาเสนอเนื้อหาสาระและรายการต่าง ๆ
มีข่าวสาร ความรู้ และความบันเทิง เป็นต้น อันเป็นประโยชน์แก่สาธารณชน
ตัวอย่างโฆษณา

- น้ามันมะรุมไทย ไม่เจือสี ไม่มีกลิ่น ใช้แล้วสิ้นปวดชา


- เชิญชมตลาดนัดของดี ที่ศูนย์แสดงสินค้านิภาพรรณ
- เพิ่มรสชาติอาหารให้ครอบครัวทั่วไทย เมื่อใช้ชูรสตรามงกุฎ
๑๙

 ท ๙ /ผ.๓

ตัวอย่างโฆษณาที่น่าสนใจ

ในโลกนี้ อาจมีคนที่มองเห็นอนาคตมากมาย แต่โลกนี้มีพระราชา


เพียงพระองค์เดียวที่ทรงมองเห็นอนาคต ทรงค้นคว้าเรื่องพลังงานทดแทน
ในขณะที่น้ามันยังมีราคาเพียงลิตรละไม่กี่บาท วันนี้พลังงานทดแทนที่ทรงดาริไว้
ทาให้ประเทศไทยลดการนาเข้าน้ามันได้ปีละนับพันล้าน เป็นโชคดีของคนไทย
เราไม่เพียงแต่มีพระราชาที่ยิ่งใหญ่ เรายังมีพระราชาที่ทรงมีความคิดที่ยิ่งใหญ่
อีกด้วย แนวพระราชดาริของพระองค์จะเป็นแรงบันดาลใจให้เราคิดไกล และ
มุ่งมั่นพัฒนาพลังงาน เพื่ออนาคตที่มั่นคงของไทย

จากกระทรวงพลังงาน
๒๐

 ท ๙ /ผ.๓

ใบความรู้
การเขียนโน้มน้าวใจ

การเขียนโน้มน้าวใจ คือการเขียนที่ต้องการให้ผู้อ่านเปลี่ยนแปลงความคิด
ทัศนคติความเชื่อและค่านิยมต่าง ๆ ให้คล้อยตามความคิดของผู้เขียน เช่น การเขียนให้
บริจาคเงินเพื่อสาธารณกุศล เป็นต้น
การเขียนโน้มน้าวใจอาจปรากฏอยู่ในรูปโฆษณาการหาเสียงเลือกตั้งและ
การเชิญชวนก็ได้

หลักการเขียนโน้มน้าวใจ มีดังนี้
๑. การวิเคราะห์ผู้อ่าน ต้องวิเคราะห์ว่าผู้อ่านเป็นใคร มีสถานะ เช่น เพศ วัย การศึกษา
อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม จะช่วยให้นาเสนอได้อย่างเหมาะสม
๒. การใช้หลักจิตวิทยา ผู้เขียนต้องเข้าใจธรรมชาติ ความสนใจ และความต้องการ
ของผู้อ่าน
๓. การใช้เหตุผล ต้องน่าเชื่อถือ และปฏิบัติได้
๔. การใช้ภาษา ต้องเป็นภาษาที่ไม่บังคับ เป็นไปในเชิงแนะนา ขอร้อง และ
เร้าความรู้สึกของผู้อ่านผู้เขียนจึงต้องรู้จักเลือกถ้อยคาที่สื่อความหมายได้ชัดเจน กระชับ
ก่อให้เกิดภาพพจน์ กระตุ้นอารมณ์ความรู้สึก อาจเป็นคาคล้องจอง เช่น คาขวัญ
ตัวอย่างการเขียนโน้มน้าวใจ
- โรงเรียนเราจะสะอาด ถ้าทุกคนช่วยกวาดและถู
- หนังสือคือประทีปส่องทาง ให้ความสว่างสร้างปัญญา
- ยาเสพติดเป็นพิษต่อตน กลายเป็นคนสิ้นคิด ชีวิตต้องอับปาง
- บ้านเรือนสกปรกเหมือนนรกในเรือนใจ บ้านเรือนสะอาดปราศจากโรคภัย
๒๑

 ท ๙ /ผ.๓ –๐๕

ใบงานที่ ๐๕
ตอบคาถามจากภาพโฆษณา

คาชี้แจง ดูภาพโฆษณาแล้วตอบคาถาม

คนรับสุขใจ คนให้ประหยัดเงิน เชิญท่านมาซื้อหาได้


ที่ร้านดอกไม้ อุ่นไอรัก
รับจัด และจาหน่ายดอกไม้ หอม สวย ด้วยราคามิตรภาพ

๑. ข้อความโฆษณาในภาพนี้เชื่อถือได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ...................................................................................................................
.............................................................................................................................................

๒. เขียนข้อเท็จจริงจากข้อความโฆษณาในภาพ
ตอบ..............................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

๓. เขียนข้อคิดเห็นจากข้อความโฆษณาในภาพ
ตอบ................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

๔. ประโยชน์ของสินค้าในโฆษณานี้คืออะไร
ตอบ...............................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๒๒
 ท ๙ /ผ.๓ –๐๖

ใบงานที่ ๐๖
การเขียนโฆษณา

คาชี้แจง ออกแบบโฆษณาสินค้าตามความสนใจ โดยหาภาพจากใบโฆษณา แล้วนามาตัดปะ


ลงในกรอบที่กาหนดให้ พร้อมทั้งบอกชนิดสินค้า ตั้งชื่อร้านและเขียนคาโฆษณา

ภาพประกอบ

ข้อความโฆษณา

....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
...................................................................................................................................
.................................................................................................................................
.................................................................................................................................
๒๓

 ท ๙ /ผ.๓ –๐๗

ใบงานที่ ๐๗
การเขียนโน้มน้าวใจ

คาชี้แจง จากภาพเขียนโน้มน้าวใจให้เพื่อนๆ ช่วยกันปลูกต้นไม้ในโรงเรียน โดยเขียน


ให้ถูกต้อง ชัดเจน และสวยงาม

........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………
๒๔
๒๔
 ท ๙ /ผ.๔-๐๘

ใบงานที่ ๐๘
การจาแนกส่วนประกอบของประโยค

คาชี้แจง จำแนกประโยคที่กำหนด โดยเติมลงในช่องภำคประธำน และภำคแสดง


พร้อมทั้งบอกชนิดของคำกริยำให้ถูกต้อง ชัดเจน

ประโยคที่กาหนด

๑. หม่ำดำรำตลกพูดสนุกมำก
๒. ลมในยำมเช้ำพัดเย็นสบำย
๓. น้ำเก็บองุ่นในไร่อย่ำงรวดเร็ว
๔. เด็ก ๆ ชั้นอนุบำลนอนอย่ำงมีควำมสุข
๕. พ่อของต้อยถำกหญ้ำในสวนทุกวัน
ภาคประธาน ภาคแสดง
ประธำน ขยำยประธำน กริยำ ขยำยกริยำ ชนิดกริยำ กรรม ขยำยกรรม

๑................. ........................ .............. ......................... ........................ .......... ....................

๒................. ........................ .............. ......................... ........................ .......... ....................

๓................. ........................ .............. ......................... ........................ .......... ....................

๔................. ........................ .............. ......................... ........................ .......... ....................

๕................. ........................ .............. ......................... ........................ .......... ....................


๒๕

 ท ๙/ผ.๔

ใบความรู้
ประโยคตามเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียน

ประโยคนอกจำกจะแบ่งตำมหลักไวยำกรณ์แล้ว ยังแบ่งตำมเจตนำของผู้พูด
หรือผู้เขียนได้เป็น ๓ ลักษณะใหญ่ ๆ คือ
๑. ประโยคแจ้งให้ทรำบ
๒. ประโยคถำมให้ตอบ
๓. ประโยคบอกให้ทำ
ในระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕ จะเรียนเพียงลักษณะของประโยค
ถำมให้ตอบ ซึ่งแบ่งเป็นลักษณะย่อย ดังนี้
๑. ประโยคที่ต้องการคาตอบเป็นเนื้อความจากผู้รับสาร เป็นประโยคที่มี
คำถำมว่ำ ใคร อะไร ผู้ใด ไหน ที่ไหน เมื่อไร ทำไม อย่ำงไร เท่ำไร เพียงใด แค่ไหน
เช่น
- ป้ำพูดเรื่องอะไร
- สมชำยไปแข่งกีฬำที่ไหน
- ทำไมครูจึงให้รำงวัลเธอคนเดียว
๒. ประโยคที่ต้องการคาตอบเป็นการยอมรับ หรือปฏิเสธ จะมีคำว่ำ
รึ หรือไม่ ใช่หรือไม่ หรือเปล่ำ หรือยัง ใช่ไหม เช่น
- น้องไปกับเธอหรือเปล่ำ
- เธอต้องกำรเรียนใช่หรือไม่
- เขำอ่ำนหนังสือหรือยัง
๓. ประโยคที่ต้องการคาตอบให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง จะมีคำว่ำ หรือ
หรือว่ำ เช่น
- เธอชอบหมูกรอบหรือข้ำวมันไก่
- เขำชอบหนังตะลุงหรือว่ำหมอลำ
๒๖
 ท ๙/ผ.๔ -๐๙

ใบงานที่ ๐๙
การแต่งประโยคตามเจตนาของผู้พูดหรือผู้เขียน

คาชี้แจง แต่งประโยคถำมให้ตอบตำมหัวข้อที่กำหนด ให้ถูกต้องชัดเจน


ชนิดละ ๓ ประโยค
ประโยคที่ต้องการคาตอบว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร ทาไม อย่างไร

๑....................................................................................................................
๒...................................................................................................................
๓...................................................................................................................

ประโยคที่ต้องการคาตอบว่า ใช่หรือไม่ หรือเปล่า หรือยัง ใช่ไหม รึ

๑....................................................................................................................
๒...................................................................................................................
๓...................................................................................................................
ประโยคที่ต้องการคาตอบว่า หรือ หรือว่า

๑....................................................................................................................
๒...................................................................................................................
๓...................................................................................................................
๒๗
๒๗

 ท ๙/ผ๕-๑๐

ใบงานที่ ๑๐
การระบุข้อคิดที่ได้จากวรรณคดี

คาชี้แจง อ่านนิทานไทยเรื่อง “กระเช้าสีดา”แล้วตอบคาถามของเรื่องที่อ่าน


ลงในแผนภาพความคิดที่กาหนด

...นางพรายน้าชอบใจความอารีและความสุจริตของขันทอง ขณะนั้น
ขันทองรู้สึกเหมือนมีมือน้อย ๆ เอาอะไรมาป้ายที่ตาเย็น ๆ แล้วก็เห็นตัวนางพราย
น้าสูงสักห้าสิบเซนติเมตร ขนาดเท่าตุ๊กตา ยืนยิ้มแฉ่งอยู่ตรงหน้า รูปร่างสะสวย
หน้าตาหมดจด แต่งตัวเหมือนกับขันทองทุกอย่าง ขันทองปราศรัยว่า “สวัสดี”
แล้วพูดต่อไปว่า “ฉันเห็นจะเป็นคนดีนะ จึงแลเห็นท่านได้ แม่ฉันอ่านหนังสือพบ
เรื่องพรายไม้ เล่าให้ฉันฟัง ฉันก็นึกอยากเห็นตัวเหลือเกิน เขาว่าต้องเป็นคนดี
จึงจะเห็นพรายไม้ได้ นี่ฉันเห็นท่านแล้ว ฉันก็เป็นคนดีนะ” นางพรายน้าบอกว่า
“หนูเป็นคนดีทีเดียวมีน้าใจอารีดีมาก และสุจริตด้วย ฉันชอบความอารีและ
สุจริตของหนู จึงทาให้หนูเห็นตัวฉัน ฉันไม่ใช่พรายไม้ พรายไม้เขาเป็นผู้ชาย
ฉันเป็นพรายน้า เมื่อหนูเห็นฉันได้ ก็แลเห็นพรายไม้ทั้งหลายได้เหมือนกัน
เดี๋ยวนี้พรายไม้กลับไปหมดแล้ว เหลือแต่ฉันเก็บกระเช้าอยู่...”

หนังสือวรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๒๘
 ท ๙/ผ๕-๑๐

แผนภาพความคิด
เรื่อง กระเช้าสีดา
(ตอนที่นามาให้อ่าน)

คาชี้แจง ตอบคาถาม จากเรื่องที่อ่าน ลงในแผนภาพความคิดที่กาหนด

ใจความสาคัญ
ข้อคิดที่ได้จากตอนที่อ่าน
...........................................................................
........................................................................
........................................................................... ..................................................................
........................................................................
...........................................................................
........................................................................
........................................................................... ..................................................................
...........................................................................
........................................................................ ..................................................................
........................................................................... ..................................................................
........................................................................
............................................................ ......
..................................................................
......
วรรณกรรม
เรื่อง กระเช้าสีดา
(ตอนที่กาหนดให้อ่าน)

การนาข้อคิดไปใช้ในชีวิต การใช้ภาษาไทยในการเขียน

........................................................................ ........................................................................
........................................................................ ........................................................................
........................................................................ ........................................................................
........................................................................
........................................................................
๒๙
 ท ๙/ผ๕-๑๑

ใบงานที่ ๑๑
การเขียนคาอ่านและแต่งประโยค
จากการอ่านวรรณกรรม

คาชี้แจง อ่านเรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี”แล้วเขียนคาอ่าน และแต่งประโยค


จากเรื่องที่อ่าน ตามคาที่กาหนด

....วันนั้นผมแกละพาฉันไปเที่ยว “อุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา” พวกเรา


คงได้เรียนวิชาประวัติศาสตร์ไทยมาบ้างแล้ว และคงทราบดีว่า เมื่อหลายร้อยปี
ที่ผ่านมากรุงศรีอยุธยาคือราชธานีอันยิ่งใหญ่ของไทย มีความเจริญรุ่งเรืองทั้งใน
ด้านการเมือง การปกครอง และศิลปวัฒนธรรม วรรณคดีไทยที่มีคุณค่าหลายเรื่อง
เกิดขึ้นในสมัยนี้ กรุงศรีอยุธยามีพระมหากษัตริย์ผู้ปรีชาสามารถหลายพระองค์ เช่น
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฯลฯ เรื่องราวเกี่ยวกับ
กรุงศรีอยุธยาได้รับการบันทึกถ่ายทอดไว้ในตานาน และคาบอกเล่าในพงศาวดาร
ในวรรณคดีและเอกสารอื่น ๆ จานวนมาก จึงอยู่ในความทรงจาของชาวไทยทั่วไป
นั่นคืออยุธยาในอดีต อยุธยาที่มั่งคั่งและรุ่งเรือง หลายครั้งที่ฉันออกท่องโลก
วรรณคดีไปกับผมแกละ ฉันได้มองเห็นความยิ่งใหญ่และงดงามของกรุงศรีอยุธยา
เห็นปราสาทราชวังและวัดวาอาราม ที่ก่อสร้างอย่างสวยงามราวกับฉาบทาด้วยทองคา
มองเห็นชีวิตอันเรียบง่ายแต่งดงามของชาวเมือง เห็นแม่น้าสีใส และทุ่งข้าวสีทอง
กว้างไกลสุดลูกหูลูกตา

หนังสือวรรณคดีลานา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
๓๐
 ท ๙/ผ๕-๑๑

ใบงานที่ ๑๑
การเขียนคาอ่านและแต่งประโยค
จากการอ่านวรรณกรรม
คาชี้แจง อ่านเรื่อง “ด้วยไทยล้วนรักสามัคคี” แล้วเขียนคาอ่าน และแต่งประโยค
จากเรื่องที่อ่าน ตามคาที่กาหนด

๑. อุทยาน อ่านว่า ...........................................................................


ประโยค : ......................................................................................................
๒. ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ...........................................................................
ประโยค : ......................................................................................................
๓. อยุธยา อ่านว่า ...........................................................................
ประโยค : ......................................................................................................
๔. ราชธานี อ่านว่า ...........................................................................
ประโยค : ......................................................................................................
๕. ศิลปวัฒนธรรม อ่านว่า ...........................................................................
ประโยค : ......................................................................................................
๖. คุณค่า อ่านว่า ...........................................................................
ประโยค : ......................................................................................................
๗. พงศาวดาร อ่านว่า ...........................................................................
ประโยค : ......................................................................................................
๘. ราชวัง อ่านว่า ...........................................................................
ประโยค : ......................................................................................................
๓๑
  ท ๙/ผ.๕

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ รอบรู้สู่การแก้ปญ ั หา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
.......................................................................................................................................
คาชี้แจง นักเรียนทาเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
๑. ข้อใดเป็นข้อเท็จจริง
ก. การดูโทรทัศน์เป็นหนึ่งปัจจัยที่คนเราชอบ
ข. การดูโทรทัศน์ก็ถูกกล่าวโทษว่าอาจเป็นสาเหตุที่ทาให้อ้วน
ค. กลุ่มตัวอย่างที่ดูภาพยนตร์ไม่ควรจะนาขนมขบเคี้ยวเข้าไปรับประทาน
ง. ขณะดูหนังมักกินขนมขบเคี้ยวมากกว่าเดิมเกือบสองเท่าซึ่งอาจนาไปสู่ความอ้วน
๒. ข้อใดเป็นข้อคิดเห็น
ก. เชื้อแบคทีเรียมีมากที่สุดในแตงกวา ร้อยละ ๙๔
ข. ผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างผักสดเครื่องเคียงในร้านอาหาร
ค. เชื้อแบคทีเรียจะสร้างสารพิษที่อาจจะทาให้ท้องเสียได้
ง. น้าใบบัวบกสามารถลดเชื้อที่ปนเปื้อนได้ดีกว่าน้าสะอาดถึง ๑.๕ เท่า
๓. พระบรมราโชวาทมีคุณค่าด้านใดมากที่สุด
ก. ด้านสังคม ข. ด้านเนื้อหา
ค. ด้านการใช้ภาษาไทย ง. ด้านการนาไปใช้ในชีวิต
๔. การเขียนหนังสือให้ถูกต้อง ชัดเจน มีประโยชน์ด้านใดมากที่สุด
ก. ด้านผลการเรียน ข. ด้านการสื่อสาร
ค. ด้านการเขียนจดหมาย ง. ด้านการแสดงความคิดเห็น
๕. นักเรียนใช้หลักการตามข้อใดในการเลือกสินค้าจากคาโฆษณา
ก. ความสมเหตุสมผล ข. รูปแบบการนาเสนอ
ค. ตรงกับความต้องการ ง. คุณประโยชน์ของสินค้
๓๒
  ท ๙/ผ.๕

๖. จากคาโฆษณาต่อไปนี้ข้อใดน่าเชื่อถือมากที่สุด
ก. ยิ้มสวยทุกองศา ด้วยยาสีฟันตราใบข่อย
ข. หุ่นดี สุขภาพดี ออกกาลังกายที่ศูนย์นภา
ค. ข้าวอบแกงเขียวหวาน ทาง่ายเหมือนร่ายมนต์
ง. สบู่ตราแสงจันทร์ ใช้ทุกวันผิวพรรณขาวผ่องเป็นยองใย
๗. ข้อใดเขียนเพื่อโน้มน้าวใจ ได้สมเหตุสมผลที่สุด
ก. ประณีตแบบวิถีไทย ขนมเรไรจากร้านน้องอร
ข. ซาหริ่มสวย มากด้วยคุณภาพ จากร้านจ๊าบศรี
ค. อร่อยแบบไทย ปลายจวักกุลสตรีที่ครัวสมหญิง
ง. ไม่ใส่ผงชูรส งดวัตถุกันเสียแน่ ต้องน้าพริกแม่จอม
๘. “แม่ของฉันแกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมาก” จากประโยคนี้ ข้อใดเป็นภาคแสดง
ก. แกงส้มผักบุ้งได้อร่อยมาก ข. แกงส้มผักบุ้ง
ค. อร่อยมาก ง. ของฉัน
๙. ข้อใดเป็นประโยชน์มากที่สุดจากการอ่านวรรณคดี
ก. การใช้ภาษาในการเขียน
ข. ความบันเทิงจากเรื่องที่อ่าน
ค. การสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทย
ง. การนาข้อคิดไปใช้ในการดาเนินชีวิต
๑๐. จากวรรณคดีเรื่อง “กระเช้าของนางสีดา” ให้คุณธรรมเรื่องใด
ก. ความมีวินัย ข. ความมีน้าใจ
ค. ความกตัญญู ง. ความรับผิดชอบ
...............................................................................................................................................
๓๓

You might also like