You are on page 1of 22

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)


2 ชัวโมง

1 สาระสำคัญ/ความคิ ดรวบยอด
พระสัทธรรม 3 ปญั ญาวุฒธิ รรม 4 พละ 5 อุบาสกธรรม 5 เป็ นข้อธรรมในหมวด มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ)
นำไปสูค่ วามหมดทุกข์ หมดปญั หา ผูป้ ฏิบตั ยิ อ่ มสามารถพัฒนาตนไปสูค่ วามเจริญได้

2 ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วดั
ส 1.1 ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาทีต่ นนับถือ
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- วิเคราะห์ผลการกระทำของบุคคลตามหลักธรรม พระสัทธรรม 3 ปญั ญาวุฒธิ รรม 4 พละ 5
อุบาสกธรรม 5 และนำไปประยุกต์ปฏิบตั ไิ ด้

3 สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 อริยสัจ 4
1) มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ)
- พระสัทธรรม 3 - ปญั ญาวุฒธิ รรม 4
- พละ 5 - อุบาสกธรรม 5
- มงคล 38  สงเคราะห์บุตร  สงเคราะห์ภรรยา  สันโดษ
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ น่
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4 สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิ ด
1) ทักษะการวิเคราะห์ 2) ทักษะการสรุปลงความเห็น 3) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
(ชั่วโมงที่
1)
5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซื่อสัตย์สจุ ริต 2. มีวนิ ยั 3. มุง่ มันในการทำงาน

176
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
6 กิ จกรรมการเรียนรู้
วิ ธีสอนตามแนว วัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT)
 นักเรียนสวดมนต์บชู าพระรัตนตรัยและทำสมาธิก่อนเรียนทุกชัวโมง

ชัวโมงที
่ ่1

ขัน้ ที่ 1 สร้างคุณค่าและประสบการณ์ของสิ่ งที่เรียน (พัฒนาสมองซีกขวา)


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : —
ครูให้นกั เรียนแต่ละคนคิดถึงบุคคลทีน่ กั เรียนมีความ
ประทับใจในความเจริญก้าวหน้าหรือประสบความสำเร็จในชีวติ
ด้านต่างๆ และผลัดกันออกมาเล่าให้เพื่อนฟงั ทีห่ น้าชัน้ เรียน ตาม
หัวข้อต่อไปนี้
- บุคคลนัน้ คือใคร
- บุคคลนัน้ ประสบความสำเร็จหรือมีความเจริญก้าวหน้า
ในชีวติ อย่างไร

ขัน้ ที่ 2 วิ เคราะห์ประสบการณ์ (พัฒนาสมองซีกซ้าย)


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : —
ครูให้นกั เรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า เพราะเหตุใด
บุคคลทีน่ กั เรียนประทับใจนัน้ จึงประสบความสำเร็จในชีวติ ครูคอย
กระตุน้ ให้นกั เรียนแสดงความคิดเห็นเพิม่ เติมในส่วนทีแ่ ตกต่างกัน

ขัน้ ที่ 3 ปรับประสบการณ์เป็ นความคิ ดรวบยอด (พัฒนาสมองซีกขวา)


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : — คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. นักเรียนช่วยกันสรุปความคิดรวบยอดว่า การทีบ่ ุคคลมี  ผูท้ ี่ใช้ปัญญาในการทำกิ จการงานต่างๆ นัน้ จะ
ความเจริญก้าวหน้าหรือประสบความสำเร็จในชีวติ นัน้ ต้องปฏิ บตั ิ ตนอย่างไร
เพราะมีการดำเนินชีวติ ตามหลักธรรม มรรค (ธรรมทีค่ วร (1. คบหาสมาคมกับคนดี
เจริญ) เช่น 2. เอาใจใส่ในการหาความรูด้ ว้ ยความจริงใจ
- ใช้ปญั ญาในการทำกิจการงานต่างๆ 3. ใช้เหตุผลไตร่ตรอง
- มีความเพียรพยายาม 4. ปฏิบตั ติ นในทางสุจริต)
- มีสติและสัมปชัญญะ
- ประพฤติดที งั ้ กาย วาจา ใจ
2. นักเรียนตอบคำถามกระตุ
(ชั่วโมงทีน
้ ่ ความคิด
1)
ขัน้ ที่ 4 พัฒนาความคิ ดรวบยอด (พัฒนาสมองซีกซ้าย)
สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ :
1. หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.4
2. หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
3. ห้องสมุด

177
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
4. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
ครูอธิบายความรูเ้ รือ่ ง มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) ให้นกั เรียน
ฟงั ในหัวข้อต่อไปนี้
1) พระสัทธรรม 3
2) ปญั ญาวุฒธิ รรม 4
3) พละ 5
4) อุบาสกธรรม 5
แล้วให้นกั เรียนศึกษาความรูเ้ พิม่ เติมจากหนังสือเรียน
หนังสือ-ค้นคว้าเพิม่ เติม ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ จาก
นัน้ นำ ความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาบันทึกลงในแบบบันทึกการอ่าน

ขัน้ ที่ 5 ลงมือปฏิ บตั ิ จากกรอบความคิ ดที่กำหนด (พัฒนาสมองซีกซ้าย)


สือ่ การเรียนรู้ : ใบงานที่ 3.5-3.8 คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1) แล้ว 1. นักเรียนจะปฏิ บตั ิ ตนตามหลักอุบาสกธรรมได้
ให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มทำใบงานคนละ 1 ใบงาน ดังนี้ อย่างไรบ้าง จงยกตัวอย่าง
- สมาชิกคนที่ 1 ทำใบงานที่ 3.5 เรื่อง พระสัทธรรม 3 (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
- สมาชิกคนที่ 2 ทำใบงานที่ 3.6 เรื่อง ปัญญาวุฒิธรรม ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
4 2. นักเรียนสามารถปฏิ บตั ิ ตามหลักพละ 5 ได้
- สมาชิกคนที่ 3 ทำใบงานที่ 3.7 เรื่อง พละ 5
อย่างไร และคาดว่าผลที่ได้รบั จะเป็ นอย่างไร
- สมาชิกคนที่ 4 ทำใบงานที่ 3.8 เรื่อง อุบาสกธรรม 5
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
2. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันอธิบายคำตอบในใบงานที่ ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
ตนรับผิดชอบให้สมาชิกคนอื่นๆ ฟงั แล้วผลัดกันซักถาม
ความรูจ้ นมีความเข้าใจกระจ่างชัดเจน
3. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2

ขัน้ ที่ 6 สร้างชิ้ นงานเพื่อสะท้อนความเป็ นตนเอง (พัฒนาสมองซีกขวา)


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : —
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนการปฏิบตั ติ นตามหลัก
ธรรมทีน่ กั เรียนได้ศกึ ษาเกีย่ วกับเรือ่ ง มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ)
และให้สมาชิกแต่ละคนลองนำไปปฏิบตั ิ
(ชั่วโมงที่
2)
ชัวโมงที
่ ่2

ขัน้ ที่ 7 วิ เคราะห์คณ


ุ ค่าและการประยุกต์ใช้ (พัฒนาสมองซีกซ้าย)
สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : —
สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันเล่าการกระทำของตนที่

178
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

ปฏิบตั ติ ามหลักธรรม มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) ปญั หาและ


อุปสรรคทีพ่ บและช่วยกันเสนอแนะแนวทางแก้ไข

ขัน้ ที่ 8 แลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้กบั ผูอ้ ื่น (พัฒนาสมองซีกขวา)


สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : —
นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปภาพรวมของการปฏิบตั ติ นตามหลัก
ธรรม มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) ลงในกระดาษ A4 จากนัน้ ส่งตัว
แทนกลุ่มออกมานำเสนอผลงานทีห่ น้าชัน้ เรียน แล้วรวบรวมผล
งานส่งครูตรวจ

 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนปฏิ บตั ิ ตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เป็ นเวลา 1 ภาคเรียน หรือ


ตามความเหมาะสม ในหัวข้อธรรม ภาวนา 4 พระสัทธรรม 3 ปัญญาวุฒิธรรม 4 พละ 5 อุบาสกธรรม 5 สันโดษ
แล้วบันทึกผลการปฏิ บตั ิ ตนตามหลักธรรมพร้อมหลักฐาน อีกทัง้ วิ เคราะห์ผลของการปฏิ บตั ิ ตนตามหลักธรรม
ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาที่เป็ นประโยชน์ ต่อตนเองและผูอ้ ื่น โดยให้ครอบคลุมประเด็น ตาม
ทีกำ
่ หนด ดังนี้
1) การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมภาวนา 4
2) การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมมรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ)
3) การเขียนรายงานบันทึกผลการปฏิบตั ติ นตามหลักธรรม
4) การวิเคราะห์ผลการปฏิบตั ติ นตามหลักธรรม

7 การวัดและประเมิ นผล
วิ ธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 3.5 ใบงานที่ 3.5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 3.6 ใบงานที่ 3.6 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 3.7 ใบงานที่ 3.7 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 3.8 ใบงานที่ 3.8 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบบันทึกการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

179
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความซื่อสัตย์สจุ ริต มีวนิ ยั และมุง่ มันใน
่ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
การทำงาน
ตรวจรายงานผลการปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมทาง แบบประเมินรายงานผลการปฏิบตั ติ นตาม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
พระพุทธศาสนา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.4
2)หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
(1) เสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2545. ธรรมนอกธรรมาสน์ . กรุงเทพมหานคร : มติชน.
(2) ธรรมปิฎก. พระ(ประยุทธ์ ปยุตฺโต). 2544. พุทธธรรม, ฉบับเดิ ม. กรุงเทพมหานคร :
สำนักพิมพ์ดวงแก้ว.
3)ใบงานที่ 3.5 เรือ่ ง พระสัทธรรม 3
4)ใบงานที่ 3.6 เรือ่ ง ปญั ญาวุฒธิ รรม 4
5)ใบงานที่ 3.7 เรือ่ ง พละ 5
6)ใบงานที่ 3.8 เรือ่ ง อุบาสกธรรม 5
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://kruanchalee.com/index.php?option=com_frontpage&Itemid=1

180
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

การประเมิ น ชิ้ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)


แบบประเมินรายงานผลการปฏิบตั ิ ตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิ น
4 3 2 1
1 การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมภาวนา 4
การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมมรรค
2
(ธรรมทีค่ วรเจริญ)
การเขียนรายงานบันทึกผลการปฏิบตั ติ นตามหลัก
3
ธรรม
4 การวิเคราะห์ผลการปฏิบตั ติ นตามหลักธรรม
รวม

ลงชือ่ ...................................................ผูป้ ระเมิน


............../.................../................

เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดีมาก = 4 คะแนน
14 - 16 ดีมาก
ดี = 3 คะแนน
11 - 13 ดี
พอใช้ = 2 คะแนน
8 - 10 พอใช้
ปรับปรุง= 1 คะแนน
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

181
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

ใบงานที่
3.5 พระสัทธรรม 3
คำชี้แจง ให้นกั เรียนวิเคราะห์ขอ้ ความหรือการกระทำของบุคคลในตาราง แล้วขีด  ลงในช่องทีม่ คี วาม
สอดคล้องกัน
ปริ ยตั ิ ปฏิ บตั ิ ปฏิ เวธ
ลำดับที่ ข้อความ/การกระทำ
สัทธรรม สัทธรรม สัทธรรม
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4/10 ได้รบั การยกย่องจากทาง
1
โรงเรียนว่าเป็นผูป้ ระพฤติดี
2 พระพุทธวจนะทีบ่ นั ทึกไว้ในพระไตรปิ ฎก
ชะเอมไปเรียนในหลักสูตรนักธรรมตรีและสามารถสอบผ่านได้
3
คะแนนสูงสุด
นักเรียนในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทุกคนต้องเรียนหลัก
4
ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนับถือ
เกสรประสบความสำเร็จในการสอบเข้าเรียนในระดับ
5
อุดมศึกษา เพราะเธอปฏิบตั ติ นตามหลักอิทธิบาท 4
นิดบอกกับหน่อยว่าเธอพยายามปฏิบตั ติ นตามหลัก
6
อุบาสกธรรม 5
นิยมเป็นมัคทายกของวัด เขาเป็นบุคคลทีค่ นทัวไปชื
่ น่ ชม
7
ความประพฤติของเขา
คุณครูสภุ าบอกกับนักเรียนอยูเ่ สมอว่า เป็ นชาวพุทธจะต้อง
8
ศึกษาคำสังสอนของพระพุ
่ ทธเจ้า
แม่ของกานต์มกั ชวนกานต์ไปทำบุญและฟงั ธรรมทีว่ ดั
9
เป็ นประจำ
กำนันแพนิมนต์พระสงฆ์มาเทศนาสังสอนชาวบ้
่ านเป็ นประจำ
10 ทุกเดือนเพือ่ ให้ชาวบ้านต่างก็มคี วามพึงพอใจและเลื่อมใส
ศรัทธา

182
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

ใบงานที่
3.5 พระสัทธรรม 3
คำชี้แจง ให้นกั เรียนวิเคราะห์ขอ้ ความหรือการกระทำของบุคคลในตาราง แล้วขีด  ลงในช่องทีม่ คี วาม
สอดคล้องกัน
ปริ ยตั ิ ปฏิ บตั ิ ปฏิ เวธ
ลำดับที่ ข้อความ/การกระทำ
สัทธรรม สัทธรรม สัทธรรม
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4/10 ได้รบั การยกย่องจากทาง
1   
โรงเรียนว่าเป็นผูป้ ระพฤติดี
2 พระพุทธวจนะทีบ่ นั ทึกไว้ในพระไตรปิ ฎก 

ชะเอมไปเรียนในหลักสูตรนักธรรมตรีและสามารถสอบผ่านได้
3 
คะแนนสูงสุด
นักเรียนในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทุกคนต้องเรียนหลัก
4 
ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนับถือ
เกสรประสบความสำเร็จในการสอบเข้าเรียนในระดับ
5   
อุดมศึกษา เพราะเธอปฏิบตั ติ นตามหลักอิทธิบาท 4
นิดบอกกับหน่อยว่าเธอพยายามปฏิบตั ติ นตามหลัก
6  
อุบาสกธรรม 5
นิยมเป็นมัคทายกของวัด เขาเป็นบุคคลทีค่ นทัวไปชื
่ น่ ชม
7   
ความประพฤติของเขา
คุณครูสภุ าบอกกับนักเรียนอยูเ่ สมอว่า เป็ นชาวพุทธจะต้อง
8 
ศึกษาคำสังสอนของพระพุ
่ ทธเจ้า
แม่ของกานต์มกั ชวนกานต์ไปทำบุญและฟงั ธรรมทีว่ ดั
9 
เป็ นประจำ
กำนันแพนิมนต์พระสงฆ์มาเทศนาสังสอนชาวบ้
่ านเป็ นประจำ
10 ทุกเดือนเพือ่ ให้ชาวบ้านต่างก็มคี วามพึงพอใจและเลื่อมใส 
ศรัทธา

ใบงานที่

183
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

3.6 ปัญญาวุฒิธรรม 4
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านกรณีศกึ ษา แล้วตอบคำถาม

กรณี ศึกษา เรื่อง ผูม้ ีปัญญา


ชุมชนบ่อฝ้ายเป็ นชุมชนทีส่ มาชิกส่วนใหญ่มฐี านะปานกลาง มีบางครอบครัวทีค่ อ่ นข้างยากจนแต่สมาชิกทุก
คนในชุมชนต่างก็เอื้อเฟื้ อช่วยเหลือกัน ทุกเช้าของวันอาทิตย์จะมีสมาชิกบางคนมานัง่ ทีร่ า้ นกาแฟเป็ นการพบปะกันใน
กลุ่มย่อย และต่างก็จะมีเรือ่ งเล่าสูก่ นั ฟงั
เม่น : ผมเพิง่ ไปงานรับปริญญาของหนูสร้อยสุดาหลานสาวของผม เมือ่ สัปดาห์ทแ่ี ล้วอยากจะเล่าเพือ่ ให้เป็ น
ตัวอย่างแก่เด็กหนุ่มเด็กสาวสมัยนี้ คือ เด็กคนนี้พอ่ แม่มลี กู หลายคนและฐานะยากจน แต่เด็กคนนี้
ขยันหมันเพี่ ยรเรียนหนังสือ เวลาว่างก็ชว่ ยแม่ทำงานบ้าน ใครชวนไปเทีย่ วเตร่กไ็ ม่ไป
เฟื อง : ผมก็เคยคุยกับเด็กคนนี้อยู่บ่อยๆ เหมือนกัน แกพูดจามีเหตุผลนะ และเพือ่ นทีห่ นูสร้อยสุดาคบอยูน่ นั ้
มีอยูไ่ ม่กค่ี นก็จริง แต่ละคนก็ขยันเรียนและเห็นเขาชวนกันไปห้องสมุดอยู่เสมอ
ชัย : ลูกสาวของผมเคยเอางานไปให้หนูสร้อยสุดาพิมพ์เหมือนกัน เป็ นรายได้พเิ ศษนอกเหนือจากการเรียน
ชอบ : เด็กในชุมชนของเราส่วนใหญ่จะมีความประพฤติดแี ละประสบความสำเร็จในการเรียนและการทำงาน
ด้วย เช่น อเนกทีอ่ ยูข่ า้ งบ้านผม เขาเรียนจบแค่มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 แต่เขาได้เพือ่ นดีพาไปฝึกงาน
ตกแต่งสวน เดีย๋ วนี้เขากลายเป็ นผูร้ บั เหมาจัดสวนสวยงาม มีรายได้มนคงและเป็
ั่ นทีร่ จู้ กั กันในวงการ
จัดสวนสวยงาม นอกจากนัน้ เขายังเป็ นคนดีซ่อื สัตย์ต่อลูกค้า ถึงแม้จะมีโอกาสเอาเปรียบ ใช้วสั ดุทไ่ี ม่
ดีมาตกแต่งสวนเขาก็ไม่ทำ

่ี หลักธรรมปญั ญาวุฒธิ รรม 4 ไปปฏิบตั ิ จงยกตัวอย่างประกอบ พร้อมผลทีไ่ ด้รบั


 ใครเป็ นผูท้ นำ

กรณี ศึกษา เรื่อง ผูม้ ีปัญญา


ชุมชนบ่อฝ้ายเป็ นชุมชนทีส่ มาชิกส่วนใหญ่มฐี านะปานกลาง มีบางครอบครัวทีค่ อ่ นข้างยากจนแต่สมาชิกทุก
คนในชุมชนต่างก็เอื้อเฟื้ อช่วยเหลือกัน ทุกเช้าของวันอาทิตย์จะมีสมาชิกบางคนมานัง่ ทีร่ า้ นกาแฟเป็ นการพบปะกันใน
กลุ่มย่อย และต่างก็จะมีเรือ่ งเล่าสูก่ นั ฟงั
เม่น : ผมเพิง่ ไปงานรับปริญญาของหนูสร้อยสุดาหลานสาวของผม เมือ่ สัปดาห์ทแ่ี ล้วอยากจะเล่าเพือ่ ให้เป็ น
ใบงานที่ ตัวอย่างแก่เด็กหนุ่มเด็กสาวสมัยนี้ คือ เด็กคนนี้พอ่ แม่มลี กู หลายคนและฐานะยากจน แต่เด็กคนนี้

3.6 ปัญญาวุฒิธรรม 4
ขยันหมันเพี่ ยรเรียนหนังสือ เวลาว่างก็ชว่ ยแม่ทำงานบ้าน ใครชวนไปเทีย่ วเตร่กไ็ ม่ไป
เฟื อง : ผมก็เคยคุยกับเด็กคนนี้อยู่บ่อยๆ เหมือนกัน แกพูดจามีเหตุผลนะ และเพือ่ นทีห่ นูสร้อยสุดาคบอยูน่ นั ้
มีอยูไ่ ม่กค่ี นก็จริง แต่ละคนก็ขยันเรียนและเห็นเขาชวนกันไปห้องสมุดอยู่เสมอ
ชัย : ลูกสาวของผมเคยเอางานไปให้หนูสร้อยสุดาพิมพ์เหมือนกัน เป็ นรายได้พเิ ศษนอกเหนือจากการเรียน
คำชีชอบ
้แจง ให้ นกั เรียนอ่านกรณีศกึ ษา แล้วตอบคำถาม
: เด็กในชุมชนของเราส่วนใหญ่จะมีความประพฤติดแี ละประสบความสำเร็จในการเรียนและการทำงาน
ด้วย เช่น อเนกทีอ่ ยูข่ า้ งบ้านผม เขาเรียนจบแค่มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 แต่เขาได้เพือ่ นดีพาไปฝึกงาน
ตกแต่งสวน เดีย๋ วนี้เขากลายเป็ นผูร้ บั เหมาจัดสวนสวยงาม มีรายได้มนคงและเป็
ั่ นทีร่ จู้ กั กันในวงการ
จัดสวนสวยงาม นอกจากนัน้ เขายังเป็ นคนดีซ่อื สัตย์ต่อลูกค้า ถึงแม้จะมีโอกาสเอาเปรียบ ใช้วสั ดุทไ่ี ม่
ดีมาตกแต่งสวนเขาก็ไม่ทำ 184
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

่ี หลักธรรมปญั ญาวุฒธิ รรม 4 ไปปฏิบตั ิ จงยกตัวอย่างประกอบ พร้อมผลทีไ่ ด้รบั


 ใครเป็ นผูท้ นำ
1. สร้อยสุดา ปฏิบตั ติ ามหลักธรรมปญั ญาวุฒธิ รรม 4 คือ
1) ตัง้ ใจเรียนหนังสือ เอาใจใส่ในการเรียน
2) คบเพือ่ นทีด่ ี ชวนกันศึกษาหาความรูอ้ ยูเ่ สมอ
3) ใช้เหตุผลไตร่ตรอง ถึงแม้วา่ จะมีเพือ่ นมาชวนไปเทีย่ วเตร่ แต่กใ็ ช้เหตุผลไตร่ตรองแล้วปฏิเสธ
4) ปฏิบตั ติ นตามคลองธรรม นำความรูม้ าใช้ในทางสุจริต เช่น รับพิมพ์หนังสือเป็ นรายได้พเิ ศษ
2. เอนก ปฏิบตั ติ ามหลักธรรมปญั ญาวุฒธิ รรม 4 คือ
1) เอาใจใส่ในการเรียนจนจบชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 6 แล้วขวนขวายหาความรูเ้ พิม่ เติม เรือ่ ง การจัดสวนสวยงาม
2) คบเพือ่ นดี ชักชวนเขาไปทำงานทีส่ จุ ริต คือ งานตกแต่งสวนสวยงาม
3) ใช้เหตุผลไตร่ตรอง เขาใช้ความคิดในการพัฒนาการตกแต่งสวนสวยงามอย่างถูกวิธี
4) ปฏิบตั ติ นตามคลองธรรมเขามีความซือ่ สัตย์ไม่เบียดเบียนหรือเอาเปรียบลูกค้าเกีย่ วกับการใช้วสั ดุ
ทีไ่ ม่ดมี าตกแต่งสวน กรณี ศึกษา เรื่อง ครรลองของชีวิต
โชติ ได้รบั เลือกให้เป็ นบุคคลตัวอย่างของจังหวัด เขาได้รบั เชิญให้ไปเล่าประสบการณ์ชวี ติ ให้บุคคลกลุ่มต่างๆ ฟ งั
อยูเ่ สมอ ชี่ วติ ของโชติ เมือ่ ครัง้ เป็ นเด็กนัน้ ค่อนข้างลำบากเพราะพ่อแม่มลี กู หลายคน นอกจากจะเรียนหนังสือแล้วยังต้อง
ใบงานที
ช่วยพ่อเลีย้ งไก่ เก็บไข่ไก่ไปขายในตอนเย็นและในวันหยุดราชการ บางครัง้ โชติจะมีความท้อแท้ เวลาในการอ่านหนังสือและ
3.7 พละ 5
ทำการบ้านก็มนี ้อย ทำการบ้านส่งครูไม่ทนั แต่จากการทีโ่ ชติได้เรียนธรรมะทำให้เขาพอรูค้ ุณค่าและประโยชน์ของหลักธรรม
ทำให้เขาเชือ่ มันว่่ าถ้าทำความดีและขยันหมันเพี ่ ยรอย่างสม่ำเสมอชีวติ ย่อมมีความสุขและประสบแต่สงิ่ ทีด่ งี ามในชีวติ ถึง
แม้้แวา่จง
คำชี โชติจะเหนื
ให้น่อกั ยยากต่
เรียนอ่อาการเรี ยนและการทำงานช่
นกรณี วยพ่อแม่ แต่เขาก็มพี ลังทีจ่ ะต่อสูด้ ว้ ยความอดทน เมือ่ เขาเรียนจบ
ศกึ ษา แล้วตอบคำถาม
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย เขาคิดจะสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยของรัฐ แต่เมือ่ มาคิดทบทวนแล้วคงไม่มเี งินทุนเรียน
จนจบได้แน่นอน เขาจึงใช้วธิ ทำ ี งานเป็ นลูกจ้างในสวนผลไม้ แล้วเรียนในมหาวิทยาลัยเปิดทีไ่ ม่ตอ้ งไปเรียนทุกวัน เขามี
ความตัง้ ใจอย่างสูงในการเรียนและคอยเตือนตนเองไม่ให้เกียจคร้าน ไม่คบเพือ่ นทีต่ ดิ อบายมุข ในทีส่ ดุ เขาก็เรียนจบระดับ
ปริญญาตรีดา้ นการเกษตร และนำความรูม้ าพัฒนางานทีเ่ ขาทำอยู่ จากประสบการณ์ทเ่ี ขามีอยู่เดิม และความรูจ้ ากการ
ศึกษาทำให้เขาสามารถลงทุนทำสวนผลไม้จนประสบความสำเร็จ มีอาชีพทีม่ รี ายได้มนคง ั ่ และเขาก็ขยายผลเผยแพร่ความรู้
ให้แก่คนทัวไป ่ ไม่หวงวิชาความรูไ้ ว้ทต่ี นแต่ผเู้ ดียว 185
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

 โชติเป็ นบุคคลทีนำ
่ หลักธรรมพละ 5 มาใช้ในการดำเนินชีวติ อย่างไร และผลทีเ่ ขาได้รบั คืออะไร

ใบงานที่
3.7 พละ 5
กรณี ศึกษา เรื่อง ครรลองของชีวิต
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านกรณีศกึ ษา แล้วตอบคำถาม
โชติ ได้รบั เลือกให้เป็ นบุคคลตัวอย่างของจังหวัด เขาได้รบั เชิญให้ไปเล่าประสบการณ์ชวี ติ ให้บุคคลกลุ่มต่างๆ ฟ งั
อยูเ่ สมอ ชีวติ ของโชติ เมือ่ ครัง้ เป็ นเด็กนัน้ ค่อนข้างลำบากเพราะพ่อแม่มลี กู หลายคน นอกจากจะเรียนหนังสือแล้วยังต้อง
ช่วยพ่อเลีย้ งไก่ เก็บไข่ไก่ไปขายในตอนเย็นและในวันหยุดราชการ บางครัง้ โชติจะมีความท้อแท้ เวลาในการอ่านหนังสือและ
ทำการบ้านก็มนี ้อย ทำการบ้านส่งครูไม่ทนั แต่จากการทีโ่ ชติได้เรียนธรรมะทำให้เขาพอรูค้ ุณค่าและประโยชน์ของหลักธรรม
ทำให้เขาเชือ่ มันว่
่ าถ้าทำความดีและขยันหมันเพี ่ ยรอย่างสม่ำเสมอชีวติ ย่อมมีความสุขและประสบแต่สงิ่ ทีด่ งี ามในชีวติ ถึง
แม้วา่ โชติจะเหนื่อยยากต่อการเรียนและการทำงานช่วยพ่อแม่ แต่เขาก็มพี ลังทีจ่ ะต่อสูด้ ว้ ยความอดทน เมือ่ เขาเรียนจบ
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย เขาคิดจะสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยของรัฐ แต่เมือ่ มาคิดทบทวนแล้วคงไม่มเี งินทุนเรียน
จนจบได้แน่นอน เขาจึงใช้วธิ ทำ ี งานเป็ นลูกจ้างในสวนผลไม้ แล้วเรียนในมหาวิทยาลัยเปิดทีไ่ ม่ตอ้ งไปเรียนทุกวัน เขามี
ความตัง้ ใจอย่างสูงในการเรียนและคอยเตือนตนเองไม่ให้เกียจคร้าน ไม่คบเพือ่ นทีต่ ดิ อบายมุข ในทีส่ ดุ เขาก็เรียนจบระดับ
ปริญญาตรีดา้ นการเกษตร และนำความรูม้ าพัฒนางานทีเ่ ขาทำอยู่ จากประสบการณ์ทเ่ี ขามีอยู่เดิม และความรูจ้ ากการ
ศึกษาทำให้เขาสามารถลงทุนทำสวนผลไม้จนประสบความสำเร็จ มีอาชีพทีม่ รี ายได้มนคง ั ่ และเขาก็ขยายผลเผยแพร่ความรู้
ให้แก่คนทัวไป่ ไม่หวงวิชาความรูไ้ ว้ทต่ี นแต่ผเู้ ดียว 186
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

 โชติเป็ นบุคคลทีนำ
่ หลักธรรมพละ 5 มาใช้ในการดำเนินชีวติ อย่างไร และผลทีเ่ ขาได้รบั คืออะไร
โชติเป็ นบุคคลทีนำ ่ หลักธรรมพละ 5 มาใช้ในการดำเนินชีวติ คือ
1) ศรัทธา ความเชือ่ มันในหลั ่ กธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา โดยเชือ่ ว่า การทำความดีและขยันหมันเพี ่ ยร
อย่างสม่ำเสมอจะทำให้ชวี ติ มีความสุขและประสบแต่สงิ ่ ดีงาม
2) วิรยิ ะ โชติมคี วามขยันทัง้ ในด้านการเรียนและการทำงานควบคูก่ นั ไป อดทนไม่ทอ้ ถอย
3) สติ โชติจะเตือนตนเองเสมอว่าไม่ให้ทอ้ ถอย คบเพือ่ นทีด่ ี ไม่คบเพือ่ นติดอบายมุข ไม่เกียจคร้าน
กรณี ศึกษา เรื่อง ชีวิตที่เป็ นสุข
4) สมาธิ โชติบงั คับจิตใจให้มงุ่ มันอยู ่ ก่ บั การเรียนจนเรียนจบ มุง่ มันในการทำงานเพื
่ อ่ หาประสบการณ์ความรู้
พ่5อ) ของกานต์
ั โชติมใอี ช้าชี
ปญญา ั พเป็ นพนักงานของบริ
ปญญาในการเข้ ษทั นแห่
าถึงความเป็ จริงงของชี
หนึ่ง วส่ติวในด้
นแม่าขนการทำงาน
องกานต์มอี าชี พขายของเบ็
ถึงแม้ ดเตล็ด ถึงจแม้
จะประสบความสำเร็ แล้ววา่
ครอบครัวของกานต์ จะไม่
แต่กค็ วรเผื ร่ำรวย
อ่ แผ่ ให้บุคมีคลอื
ฐานะปานกลางแต่ สมาชิกในครอบครั
น่ ด้วย โชติสามารถแก้ ไขปญั หาต่วาทุงๆกคนอยู
ทีเ่ กิดร่ขึว่ น้ มกั นอย่จนในที
มาได้ างมีความสุ
ส่ ดุ ก็หขมดป
พ่อและแม่
ญั หา ชอบ
ฟงั ธรรมมะจากเทปหรือซีดอี ยู่เสมอ และจะไปวัดเพือ่ ทำบุญและฟงั เทศน์เมือ่ มีโอกาส ส่วนกานต์นนั ้ จะหาโอกาสชวน
ผลทีโ่ ชติได้รบั คือ การดำเนินชีวติ ทีเ่ ป็ นสุขพอสมควรกับอัตภาพ และได้รบั การยกย่องเป็ นตัวอย่างทีด่ ขี องผูอ้ นื ่
เพือ่ นๆ ไปวัดถ้ามีเวลาว่าง บางครัง้ ก็ไปกับทางโรงเรียนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา บางครัง้ ก็ได้ไปอยูค่ า่ ยนักธรรม
ค่ายพุทธบุตร หรือค่ายพุทธธรรม ทุกเย็นหลังรับประทานอาหารแล้ว พ่อแม่ลกู จะสนทนากันเสมอ

กานต์ : พ่อครับ วันนี้คุณครูทส่ี อนวิชาพระพุทธศาสนาได้สอนหลักธรรมของอุบาสก คือ อุบาสกธรรม 5 ซึง่


ใบงานที่ เป็นหลักธรรมประจำใจของผูน้ บั ถือพระพุทธศาสนา และคุณครูให้นกั เรียนช่วยกันหาบุคคลตัวอย่างที่
ปฏิบตั ติ นตามอุบาสกธรรม 5 ด้วยครับ
3.8
พ่อ อุบาสกธรรม 5
: ตัวอย่างผูท้ ป่ี ฏิบตั ติ นตามอุบาสกธรรม 5 นัน้ หาไม่ยากหรอก เพราะคนไทยส่วนใหญ่จะประพฤติ
ปฏิบตั ติ ามอยูแ่ ล้ว
แม่ : แม่คดิ ว่าคนส่วนใหญ่ประพฤติตามอุบาสกธรรม 5 ก็จริง แต่บางคนปฏิบตั ไิ ม่ครบ 5 ข้อหรอก
คำชีพ่อ้แจง :ให้นแต่
กั เรีถา้ ยเรามี
นอ่าศนกรณี
รัทธา มีศคกึ วามเชื
ษา แล้ วตอบคำถาม
อ่ ในป ญั ญาตรัสรูข้ องพระพุทธเจ้า และเลื่อมใสว่าคำสอนของพระพุทธเจ้า
ดีจริง จะเป็ นแรงจูงใจให้พจิ ารณาคำสอน ใช้ปญั ญาและเหตุผลไตร่ตรองด้วยตนเองแล้วยอมรับและ
เชือ่ แล้วนำไปปฏิบตั ิ เช่น การรักษาศีล เราก็จะปฏิบตั ติ นให้เป็ นคนดีทงั ้ กาย วาจา และใจ ทำจิตใจให้
เป็ นปกติ ไม่ถูกครอบงำด้วยความโลภ ความโกรธ และความหลง
แม่ : ถ้าทุกคนทำได้ รักษาศีล ควบคุมกาย วาจา ใจ ได้จริง ก็แสดงว่าจะไม่มอี าชญากรรมประเภทฉก
ชิง วิง่ ราว การทำความผิดต่อทรัพย์ ชีวติ และร่างกายกัน
กานต์ : ผมรูแ้ ล้วล่ะว่า พวกมิจฉาชีพหรือพวกกระทำผิดอย่างทีแ่ ม่วา่ นัน้ ก็ไม่ใช่อุบาสก อุบาสิกา หรือเป็ น
พวกทีไ่ ม่มหี ลักธรรมอุบาสกธรรม 5 นันเอง ่
พ่อ : ผูท้ ม่ี หี ลักธรรมอุบาสก 5 นัน้ จะต้องไม่เชื่อโชคลาง แต่ควรเชือ่ เรือ่ งหลักกรรม เชือ่ ในกฎแห่งกรรมว่า
ทำอย่างไรได้ผลอย่างนัน้ และจะต้องยึดมันในการทำบุ ่ ญตามหลักพระพุทธศาสนา ทีเ่ รียกว่า
บุญกิรยิ าวัตถุ 10 ด้วย
แม่ : ถูกต้องจ้ะ แล้วอุบาสก อุบาสิกา จะต้องเอาใจใส่ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา คือ เข้าไปมีสว่ นร่วมใน
การปฏิบตั พิ ธิ กี รรมทางศาสนา หมันรั ่ กษาศีล ทำบุญตักบาตร ฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม บูรณะปฏิสงั ขรณ์
ศาสนา อุปถัมภ์พระภิกษุสงฆ์สามเณรให้ปฏิบตั ศิ าสนกิจได้อย่างสะดวก
กานต์ : ผมเข้าใจหลักธรรมอุบาสกธรรม 5 แล้วล่ะครับ และผมคิดว่า พ่อและแม่ของผมปฏิบตั ติ ามหลักธรรม
อุบาสกธรรม 5 ครบถ้วนด้วยครับ สามารถนำไปยกตัวอย่างได้เลย
187
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

1. พ่อของกานต์ได้กล่าวถึง อุบาสกธรรม 5 ในข้อใดบ้าง จงอธิบายขยายความข้อธรรมนัน้

2. แม่ของกานต์ได้กล่าวถึงอุบาสกธรรม 5 อย่างไรบ้าง จงอธิบาย

ใบงานที่
3.8 อุบาสกธรรม 5
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านกรณีศกึ ษา แล้วตอบคำถาม

188
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

กรณี ศึกษา เรื่อง ชีวิตที่เป็ นสุข


พ่อของกานต์มอี าชีพเป็ นพนักงานของบริษทั แห่งหนึ่ง ส่วนแม่ของกานต์มอี าชีพขายของเบ็ดเตล็ด ถึงแม้วา่
ครอบครัวของกานต์จะไม่ร่ำรวย มีฐานะปานกลางแต่สมาชิกในครอบครัวทุกคนอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข พ่อและแม่ชอบ
ฟงั ธรรมมะจากเทปหรือซีดอี ยู่เสมอ และจะไปวัดเพือ่ ทำบุญและฟงั เทศน์เมือ่ มีโอกาส ส่วนกานต์นนั ้ จะหาโอกาสชวน
เพือ่ นๆ ไปวัดถ้ามีเวลาว่าง บางครัง้ ก็ไปกับทางโรงเรียนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา บางครัง้ ก็ได้ไปอยูค่ า่ ยนักธรรม
ค่ายพุทธบุตร หรือค่ายพุทธธรรม ทุกเย็นหลังรับประทานอาหารแล้ว พ่อแม่ลกู จะสนทนากันเสมอ

กานต์ : พ่อครับ วันนี้คุณครูทส่ี อนวิชาพระพุทธศาสนาได้สอนหลักธรรมของอุบาสก คือ อุบาสกธรรม 5 ซึง่


เป็นหลักธรรมประจำใจของผูน้ บั ถือพระพุทธศาสนา และคุณครูให้นกั เรียนช่วยกันหาบุคคลตัวอย่างที่
ปฏิบตั ติ นตามอุบาสกธรรม 5 ด้วยครับ
พ่อ : ตัวอย่างผูท้ ป่ี ฏิบตั ติ นตามอุบาสกธรรม 5 นัน้ หาไม่ยากหรอก เพราะคนไทยส่วนใหญ่จะประพฤติ
ปฏิบตั ติ ามอยูแ่ ล้ว
แม่ : แม่คดิ ว่าคนส่วนใหญ่ประพฤติตามอุบาสกธรรม 5 ก็จริง แต่บางคนปฏิบตั ไิ ม่ครบ 5 ข้อหรอก
พ่อ : แต่ถา้ เรามีศรัทธา มีความเชือ่ ในปญั ญาตรัสรูข้ องพระพุทธเจ้า และเลื่อมใสว่าคำสอนของพระพุทธเจ้า
ดีจริง จะเป็ นแรงจูงใจให้พจิ ารณาคำสอน ใช้ปญั ญาและเหตุผลไตร่ตรองด้วยตนเองแล้วยอมรับและ
เชือ่ แล้วนำไปปฏิบตั ิ เช่น การรักษาศีล เราก็จะปฏิบตั ติ นให้เป็ นคนดีทงั ้ กาย วาจา และใจ ทำจิตใจให้
เป็ นปกติ ไม่ถูกครอบงำด้วยความโลภ ความโกรธ และความหลง
แม่ : ถ้าทุกคนทำได้ รักษาศีล ควบคุมกาย วาจา ใจ ได้จริง ก็แสดงว่าจะไม่มอี าชญากรรมประเภทฉก
ชิง วิง่ ราว การทำความผิดต่อทรัพย์ ชีวติ และร่างกายกัน
กานต์ : ผมรูแ้ ล้วล่ะว่า พวกมิจฉาชีพหรือพวกกระทำผิดอย่างทีแ่ ม่วา่ นัน้ ก็ไม่ใช่อุบาสก อุบาสิกา หรือเป็ น
พวกทีไ่ ม่มหี ลักธรรมอุบาสกธรรม 5 นันเอง ่
พ่อ : ผูท้ ม่ี หี ลักธรรมอุบาสก 5 นัน้ จะต้องไม่เชื่อโชคลาง แต่ควรเชือ่ เรือ่ งหลักกรรม เชือ่ ในกฎแห่งกรรมว่า
ทำอย่างไรได้ผลอย่างนัน้ และจะต้องยึดมันในการทำบุ
่ ญตามหลักพระพุทธศาสนา ทีเ่ รียกว่า
บุญกิรยิ าวัตถุ 10 ด้วย
แม่ : ถูกต้องจ้ะ แล้วอุบาสก อุบาสิกา จะต้องเอาใจใส่ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา คือ เข้าไปมีสว่ นร่วมใน
การปฏิบตั พิ ธิ กี รรมทางศาสนา หมันรั ่ กษาศีล ทำบุญตักบาตร ฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม บูรณะปฏิสงั ขรณ์
ศาสนา อุปถัมภ์พระภิกษุสงฆ์สามเณรให้ปฏิบตั ศิ าสนกิจได้อย่างสะดวก
กานต์ : ผมเข้าใจหลักธรรมอุบาสกธรรม 5 แล้วล่ะครับ และผมคิดว่า พ่อและแม่ของผมปฏิบตั ติ ามหลักธรรม
อุบาสกธรรม 5 ครบถ้วนด้วยครับ สามารถนำไปยกตัวอย่างได้เลย

189
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

1. พ่อของกานต์ได้กล่าวถึง อุบาสกธรรม 5 ในข้อใดบ้าง จงอธิบายขยายความข้อธรรมนัน้


1) มีศรัทธา คือ มีความเชือ่ ในปญั ญาของพระพุทธเจ้า เลือ่ มใสว่าคำสอนของพระพุทธเจ้าดีจริงจะเป็ นแรงจูงใจ

ให้พจิ ารณาคำสอน ใช้ปญญาและเหตุ ผลไตร่ตรองด้วยตนเอง แล้วยอมรับและเชือ่ แล้วนำไปปฏิบตั ิ
2) รักษาศีล ปฏิบตั ติ นให้เป็ นคนดีทงั ้ กาย วาจา ใจ ทำจิตใจให้เป็ นปกติ ไม่ถกู ครอบงำด้วยความโลภ ความโกรธ
ความหลง
3) ไม่เชือ่ โชคลาง แต่ควรเชือ่ เรือ่ งหลักกรรม เชือ่ ในกฎแห่งกรรมว่า ทำอย่างไรได้ผลอย่างนัน้
4) ยึดมันในการทำบุ
่ ญตามหลักพระพุทธศาสนา ทีเ่ รียกว่า บุญกิรยิ าวัตถุ 10

2. แม่ของกานต์ได้กล่าวถึงอุบาสกธรรม 5 อย่างไรบ้าง จงอธิบาย


1) ถ้าทุกคนรักษาศีล ควบคุมกาย วาจา ใจ ได้จริง ก็ยอ่ มไม่ทำผิด ไม่มอี าชญากรรมประเภทฉกชิงวิง่ ราว
การทำความผิดต่อทรัพย์ ชีวติ และร่างกาย
2) อุบาสก อุบาสิกา จะต้องเอาใจใส่ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา คือ เข้าไปมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ิพิธกี รรมทางศาสนา
่ กษาศีล ทำบุญตักบาตร ฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม บูรณปฏิสงั ขรณ์ศาสนา อุปถัมภ์พระภิกษุสงฆ์ สามเณร
หมันรั
ให้ปฏิบตั ศิ าสนกิจได้อย่างสะดวก

190
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

แบบบันทึกการอ่าน
ชือ่ หนังสือ ชือ่ ผูแ้ ต่ง นามปากกา
สำนักพิมพ์ สถานทีพ่ มิ พ์ ปีทพ่ี มิ พ์
จำนวนหน้า ราคา บาท อ่านวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา

1. สาระสำคัญของเรือ่ ง

2. วิเคราะห์ขอ้ คิด/ประโยชน์ทไ่ี ด้จากเรือ่ งทีอ่ ่าน

3. สิง่ ทีส่ ามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

4. ข้อเสนอแนะของครู

ลงชือ่ นักเรียน ลงชือ่ ผูป้ กครอง


( ) ( )

ลงชือ่ ครูผสู้ อน
( )

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานมีความสมบูรณ์ชดั เจน ให้ 4 คะแนน ผล
งานมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้ อย ให้ 3 คะแนน ผลงานมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน

191
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

แบบประเมิ น การนำเสนอผลงาน
่ หนด แล้วขีด  ลงในช่อง
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน ประเมินการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการทีกำ
ทีต่ รงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิ น
4 3 2 1
1 ความถูกต้องของเนื้อหา
2 ความคิดสร้างสรรค์
3 วิธกี ารนำเสนอผลงาน
4 การนำไปใช้ประโยชน์
5 การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ผลงานหรือพฤติกรรมสมบู รณ์ชดั เจน ให้ ระดับ4คุณภาพ
ช่วงคะแนน
คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อ14
บกพร่
- 17องบางส่วน ให้ดี 3
คะแนน 10 - 13 พอใช้
ผลงานหรือพฤติกรรมมีขต่ำกว่
้อบกพร่า 10องเป็ นส่วนใหญ่ปรัให้บปรุง 2
คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1
คะแนน

192
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

แบบสังเกตพฤติ กรรม การทำงานรายบุคคล


ชือ่ ชัน้
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิ น
4 3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น
2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื
3 การทำงานตามหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
4 ความมีน้ำใจ
5 การตรงต่อเวลา
รวม

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่าช่งสม่ำเสมอ
วงคะแนน ให้ ระดับ4คุณภาพ
คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั 14ง้ - 17ให้ 3 คะแนน
ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั10ง้ - 13ให้ 2 คะแนน
พอใช้
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครั ง้ า 10ให้
ต่ำกว่ 1 ปรัคะแนน
บปรุง

แบบสังเกตพฤติ กรรม การทำงานกลุ่ม

193
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

การแก้ไข
ความ การแสดง การรับฟัง
ความตัง้ ใจ ปัญหา/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ความคิ ด ความคิ ด
ทำงาน ปรับปรุง ผล 20
ที่ ของผูร้ บั การประเมิ น ทำกิ จกรรม เห็น เห็น
งานกลุ่ม คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่าช่งสม่ำเสมอ
วงคะแนน ให้ ระดับ4คุณภาพ
คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั ง

14 - 17 ให้ 3 คะแนน
ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั10ง้ - 13ให้ 2 คะแนน
พอใช้
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้
ต่ำกว่ า 10 1 ปรับปรุง
คะแนน

แบบประเมิ น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

194
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมือ่ ได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ
กษัตริ ย์ เพลงชาติ
1.2 ปฏิบตั ติ นตามสิทธิและหน้าทีข่ องนักเรียน
1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำงานกับสมาชิกในโรงเรียน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีส่ ร้างความสามัคคี
ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถือ ปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนา
ตามโอกาส
1.6 เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสถาบันพระมหากษัตริยต์ ามทีโ่ รงเรียนและ
ชุมชนจัดขึน้
2. ซื่อสัตย์ สุจริ ต 2.1 ให้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง และเป็ นจริง
2.2 ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีถ่ ูกต้อง ทำตามสัญญาทีต่ นให้ไว้กบั เพือ่ น พ่อแม่ หรือผู้
ปกครอง และครู
2.3 ปฏิบตั ติ นต่อผูอ้ ่นื ด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ถูกต้อง
3. มีวินัย รับผิด 3.1 จัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนฝึกปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อ
ชอบ บังคับของครอบครัว โรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ
ในชีวติ ประจำวัน และรับผิดชอบในการทำงาน
4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูต้ ่างๆ
4.2 มีการจดบันทึกความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ
4.3 สรุปความรูไ้ ด้อย่างมีเหตุผล
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ ของตนเอง เช่น สิง่ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุม้ ค่า
และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม
5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุม้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
5.3 ปฏิบตั ติ นและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
5.4 ไม่เอาเปรียบผูอ้ ่นื และไม่ทำให้ผอู้ ่นื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมือ่ ผูอ้ ่นื
กระทำผิดพลาด

195
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)

คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
5.5 วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชวี ติ ประจำวันบนพืน้ ฐานของ
ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
5.6 รูเ้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและ
แบบบันทึกหลังแผนการสอน
ปรับตัว อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสุข
6. มุ่งมันในการ
่ 6.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบตั หิ น้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
ทำงาน 6.2 ตัง้ ใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ
6.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานอย่างรอบคอบ
6.4 ทุม่ เท ทำงาน อดทน ไม่ทอ้ ต่อปญั หาและอุปสรรค
6.5 พยายามแก้ปญั หาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ
6.6 ชืน่ ชมผลงานความสำเร็จด้วยความภาคภูมใิ จ
7. รักความเป็ นไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทำงาน
8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ และแบ่งปนั สิง่ ของให้ผอู้ ่นื
8.3 รูจ้ กั การดูแล รักษาทรัพย์สมบัตแิ ละสิง่ แวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน
ชุมชน
8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน 104 - 124 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน 183 - 103 ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 62 - 82 พอใช้
ต่ำกว่า 62 ปรับปรุง

196
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 5 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
Ÿ ด้านความรู้

Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Ÿ ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ญั หาของนักเรียนเป็ นรายบุคคล (ถ้ามี))

Ÿ ปญั หา/อุปสรรค

Ÿ แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมาย


ข้อเสนอแนะ

ลงชือ่
( )
ตำแหน่ง

197
พระพุทธศาสนา ม.4

You might also like