You are on page 1of 5

สรุปสาระสาค ัญของการประก ันชวี ต


3.1 ล ักษณะของสญญา ั
การประกันภัย เป็ นการตกลงกันของบุคคล 2 ฝ่ าย คือ ผู ้รับประกันภัย (บริษัท) กับ ผู ้เอาประกันภัย
(ลูกค ้า) ในรูปแบบของสัญญาทีเ่ รียกว่า “สัญญาประกันภัย” หรือ “สัญญาประกันชีวต ิ ”
ซึง่ สัญญานีจ
้ ะเริม่ มีผลบังคับ นับตัง้ แต่วันทีม
่ ก
ี ารตกลงรับประกันเกิดขึน

และหลังจากทีผ ่ ู ้รับประกันภัยได ้ตอบตกลงรับประกันภัยแล ้ว
ก็จะออกเอกสารแสดงข ้อตกลงของสัญญาให ้แก่ผู ้เอาประกันภัย (ลูกค ้า) ไว ้เป็ นหลักฐาน
โดยเอกสารนีจ ้ ะต ้องมีเนือ ้ ความทีม่ ก
ี ารตกลงทาสัญญากันไว ้ เราเรียกเอกสารนีว้ า่ “กรมธรรม์ประกันภัย”

ผูเ้ กีย ั
่ วข้องก ับสญญาประก ันชวี ต
ิ มี 3 ฝ่าย
1). ผู ้รับประกันภัย
2). ผู ้เอาประกันภัย
3). ผู ้รับประโยชน์

ผูร้ ับประโยชน์
1. ผู ้รับประโยชน์ประเภทเปลีย ่ นแปลงได ้
โดยทั่วไปผู ้รับประโยชน์จะเป็ นประเภทนีซ ้ งึ่ สามารถเปลีย
่ นแปลงได ้ตามความต ้องการของผู ้เอาประกันภั
ย โดยแจ ้งเป็ นลายลักษณ์อก ั ษรไปยังผู ้รับประกันภัย
ซึง่ การเปลีย่ นแปลงนีจ
้ ะมีผลต่อเมือ
่ ผู ้มีอานาจของบริษัทผู ้รับประกันภัยเซ็นสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย

2. ผู ้รับประโยชน์ประเภทเปลีย ่ นแปลงไม่ได ้
เป็ นผู ้รับประโยชน์ประเภททีผ
่ ู ้เอาประกันภัยไม่สามารถเปลีย ่ นแปลงได ้อีก เว ้นแต่จะได ้รับความยินยอม
ซึง่ สามารถกระทาได ้โดยผู ้เอาประกันภัยส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยให ้แก่ผู ้รับประโยชน์และผู ้รับประโยช
น์ได ้แจ ้งความประสงค์เป็ นลายลักษณ์อก ั ษรแก่ผู ้รับประกันภัยว่า
ตนถือเอาประโยชน์จากกรมธรรม์ประกันภัยนี้


3.2 สญญาประก ันชวี ต ้ ได้อย่างไร
ิ เกิดขึน
1). การขอเอาประกันภัย
2). การพิจารณารับประกันภัย
3). การตอบรับและออกกรมธรรม์ประกันภัย

3.3 รูปแบบของการประก ันชวี ต ิ


- 2 ชนิด คือ มีเงินปั นผล ไม่มเี งินปั นผล
- 3 ประเภท คือ สามัญ อุตสาหกรรม กลุม ่
- 4 แบบพืน้ ฐาน คือ ชัว่ ระยะเวลา ตลอดชีพ สะสมทรัพย์ เงินได ้ประจา
- 2 แบบพิเศษทีม ่ ก
ี ารลงทุนเพิม ่ คือ Universal Life และ Unit Link

3.3.1 กรมธรรม์ประก ันชวี ต ิ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด


(1.) ชนิดมีเงินปั นผล (2.) ชนิดไม่มเี งินปั นผล
เงินปั นผล คือเงินทีจ่ ด
ั สรรมาจากส่วนเกินของผลกาไร ทีเ่ กิดจากการประกอบธุรกิจของบริษัท

การขอรับหรือใช ้สิทธิไ์ ด ้ 4 วิธคี อ


ื …
- 1. รับเป็ นเงินสด
- 2. หักชาระเบีย ้ ประกันชีวต ิ
- 3. สะสมไว ้กับบริษัท
- 4. ซือ้ ทุนประกันชีวติ เพิม่

3.3.2 กรมธรรม์ประก ันชวี ต ิ แบ่งเป็น 3 ประเภท


(1.) การประกันชีวต
ิ ประเภทสามัญ
- ออกกรมธรรม์ 1 ฉบับ ให ้ผู ้เอาประกัน 1 คน
- ผู ้เอาประกันมีฐานะปานกลางถึงสูง
- ทุนประกันเฉลีย ่ ตัง้ แต่ปานกลาง-สูง
- การชาระเบีย ้ ประกันภัยใช ้รายปี เป็ นหลัก
- มีทัง้ การแถลงและการตรวจสุขภาพ ขึน ้ อยูก
่ บ
ั อายุ,ทุนประกันภัยและประวัตส
ิ ข
ุ ภาพ
- มีเบีย ้ ประกันพิเศษได ้
- สิทธิโ์ ต ้แย ้งความไม่สมบูรณ์ของสัญญา 2 ปี

(2.) การประกันชีวต ิ ประเภทอุตสาหกรรม


- ออกกรมธรรม์ประกันภัย 1 ฉบับ ให ้ผู ้เอาประกันภัย 1 คน
- ผู ้เอาประกันภัยรายได ้น ้อย
- ทุนประกันภัยเฉลีย ้ ประกันภัยใช ้รายเดือนเป็ นหลัก
่ ตา่ เบีย
- ไม่มก ี ารตรวจสุขภาพ ไม่มเี บีย ้ ประกันพิเศษ
- มีระยะเวลารอคอย (180วัน)

(3.) การประกันชีวต ิ ประเภทกลุม่


- ให ้ความคุ ้มครอง 5-10 คนขึน้ ไป ภายใต ้กรมธรรม์ประกันภัยฉบับเดียว
- เหมาะสาหรับสร ้างสวัสดิการให ้กับพนักงาน
- ทุนประกันภัยแต่ละบุคคล ขึน ้ กับตาแหน่ง,เงินเดือน,ลักษณะงาน
- ไม่มกี ารตรวจสุขภาพ
- เน ้นคุ ้มครองมรณกรรม ไม่มก
ี ารออมทรัพย์
- มีการจ่ายเงินคืนตามประสบการณ์

การประก ันกลุม ่
- การชาระเบีย้ ประกันภัยมี 2 แบบคือ…
- 1.นายจ ้างชาระทัง้ หมด กรณีนต ี้ ้องมีลก
ู จ ้างทาประกันภัย 100% ของผู ้มีสท ิ ธิ์
- 2.นายจ ้างกับลูกจ ้างร่วมกันชาระ กรณีนต ี้ ้องมีลก ิ ธิ์
ู จ ้างทาประกันไม่ตา่ กว่า 75% ของผู ้มีสท
- บริษัทจะออกใบสาคัญ ให ้สมาชิกทุกคนภายใต ้กรมธรรม์ประกันภัยหลัก
- นายจ ้างหรือผู ้ถือกรมธรรม์ประกันภัยเป็ นผู ้เรียกร ้องผลประโยชน์

3.3.3 กรมธรรม์ประก ันชวี ต ิ แบ่งออกเป็นด ังนี้


3.3.3.1 แบบการประกันชีวต ิ ทีเ่ ป็ นพืน
้ ฐานมี 4 แบบ
(1) การประกันชีวต ิ แบบชัว่ ระยะเวลา
- คล ้ายกับการประกันวินาศภัยทีเ่ ป็ นเบีย ้ ประกันสูญเปล่า
- มีระยะเวลาคุ ้มครองทีแ ่ น่นอน เช่น 5ปี 10 ปี เป็ นต ้น
- จะจ่ายทุนประกันภัยเฉพาะกรณีผู ้เอาประกันเสียชีวต ิ ในระหว่างสัญญามีผลบังคับเท่านัน

- เหมาะสาหรับบุคคลทีม ่ รี ายได ้ไม่สงู มากนัก ทีต ่ ้องการความคุ ้มครองสูง
หรือคุ ้มครองหนีส ้ นิ จากการเช่าซือ ้ หรือต ้องการความคุ ้มครองระยะสัน้

(2) การประกันชีวต ิ แบบตลอดชีพ


- มีระยะเวลาคุ ้มครองตลอดชีพ หรือจนถึง ผู ้เอาประกันภัยมีอายุ 90
ปี โดยจ่ายทุนประกันภัยให ้ผู ้รับประโยชน์เมือ ่ ผู ้เอาประกันภัยเสียชีวต

หรือจ่ายทุนประกันภัยให ้กับผู ้เอาประกันภัยเมือ ่ อายุ 90 ปี
- มีทัง้ ความคุ ้มครองและการออมทรัพย์
- เหมาะสาหรับคนทีต ่ ้องการเงินทุนสาหรับค่าใช ้จ่ายครัง้ สุดท ้ายของชีวต

- ชาระเบีย ้ ประกันภัยได ้ 3 แบบ…
1.ชาระตลอดชีพ
2.ชาระจากัดระยะเวลา
3.ชาระครัง้ เดียว
(3) การประกันชีวต ิ แบบสะสมทรัพย์
- มีระยะเวลาประกันภัยแน่นอน เช่น 10 ปี 20 ปี หรือครบอายุ 60 ปี
- จ่ายทุนประกันภัยเมือ ่ ผู ้เอาประกันภัยเสียชีวติ หรืออยูจ
่ นครบสัญญา
- ประกอบด ้วยการประกันสองแบบมารวมกัน คือแบบชัว่ ระยะเวลากับแบบสะสมทรัพย์แท ้จริง
- เหมาะสาหรับเป็ นกองทุนการศึกษาให ้กับบุตร

(4) การประกันชีวต ิ แบบเงินได ้ประจา(บานาญ)


- เหมาะสาหรับบุคคลทีต ่ ้องการเงินไว ้ใช ้จ่ายยามชรา อันเนือ ่ งมาจากการสูญเสียรายได ้ทางเศรษฐกิจ
- มีระยะเวลาทีแ ่ น่นอนในการกาหนดวันเริม ่ จ่ายเงินได ้ประจา (บานาญ) เช่น ทีอ ่ ายุ 55,60 หรือ 65 ปี
- คุ ้มครองรายได ้ทีส ่ มา่ เสมอเมือ่ เกษี ยณอายุ,ทุพพลภาพ
โดยบริษัทจ่ายเงินให ้เป็ นงวดๆจนเสียชีวต ิ หรือสูงสุดไม่เกิน 85 ปี (งวดรายเดือน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1
ปี )
- ส่งเบีย้ ประกันภัยเป็ นงวดๆ ไปจนถึงอายุทต ี่ กลงกันไว ้ เช่น อายุ 55 ปี หรือ 60 ปี เป็ นต ้น

3.3.3.2 แบบการประกันชีวต ิ แบบพิเศษทีม ่ ก


ี ารการลงทุนเพิม ้ ประกันชีวต
่ เป็ นการซือ ิ ทีม
่ ก
ี ารลงทุนด ้วย
(1) แบบยูนเิ วอร์แซลไลฟ์ (Universal Life)
- อีกชือ ่ หนึง่ คือ Flexible Premium Adjustable Life
- เงินทีผ ่ ู ้เอาประกันภัยได ้รับ เท่ากับทุนประกันภัย + ผลประโยชน์จากผลตอบแทนจากการลงทุน
ดังนัน้ จึงได ้รับเงินสูงกว่าเบีย ้ ประกันภัยเสมอ
- บริษัทประกันชีวต ิ เป็ นผู ้บริหารการลงทุน
(2) การประกันชีวต ิ ควบการลงทุน (Unit Link)
- เบีย ้ ประกันชีวต ิ แยกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนทีเ่ ป็ นความคุ ้มครอง ส่วนทีน ่ าไปลงทุนในกองทุนรวม
และส่วนทีเ่ ป็ นค่าใช ้จ่าย-ค่าธรรมเนียมต่างๆ
- ผู ้เอาประกันภัยเป็ นผู ้เลือกลงทุนในกองทุนรวมต่างๆ
- เงินลงทุนทีไ่ ด ้อาจน ้อยกว่าหรือมากกว่าเบีย ้ ประกันภัยในส่วนลงทุน ดังนัน ้
เงินครบกาหนดทีไ่ ด ้รับอาจน ้อยกว่าเบีย ้ ประกันภัยทีจ่ า่ ย

3.4 เงือ ่ นไขหรือข้อกาหนดทีส ั


่ าค ัญในสญญาประก ันชวี ต ิ
3.4.1 การแถลงข ้อความ (Representation)
- มีการกาหนดให ้ใบคาขอเอาประกันชีวต ิ และใบแถลงสุขภาพ ซึง่ แนบติดกับกรมธรรม์ประกันชีวต ิ
เป็ นสัญญาประกันภัย
- ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 865 กาหนดไว ้ว่า “ ถ ้าในเวลาทาสัญญาประกันภัย
ผู ้เอาประกันภัยก็ด ี หรือในกรณีสญ ั ญาประกันชีวต ิ บุคคลนัน ้
การใช ้เงินย่อมอาศัยการทรงชีพหรือมรณะชองเขานัน ้ ก็ด ี รู ้อยูแ
่ ล ้วละเว ้นเสีย
ได ้เปิ ดเผยข ้อความจริงซึง่ อาจจูงใจผู ้รับประกันภัยให ้เรียกเบีย ้ ประกันภัยสูงขึน ้ อีก
หรือให ้บอกปั ดไม่ยอมทาสัญญา หรือว่ารู ้อยูแ ่ ล ้ว
แถลงข ้อความนัน ้ เป็ นเท็จไซร ้ ท่านว่าสัญญานัน ้ เป็ นโมฆียะ”

3.4.2 ระยะเวลาบอกล ้างสัญญา (Incontestible Period)


- ในสัญญาประกันชีวต ิ ทัว่ ไป กาหนดให ้ระยะเวลาบอกล ้างสัญญาเป็ น 2 ปี นับแต่วน
ั ทีส ั ญามีผลบังคับ
่ ญ
หรือ 1 เดือนนับแต่ผู ้รับประกันภัยทราบข ้อมูลอันจะบอกล ้างได ้
- ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 865 วรรคสอง ได ้กาหนดระยะเวลาบอกล ้างสัญญา
เนือ
่ งจากการแถลงข ้อความเป็ นเท็จ และการปกปิ ดความจริง ไว ้เป็ น 5 ปี นับแต่วันทาสัญญา หรือ 1
เดือน นับแต่ผู ้รับประกันภัยทราบข ้อมูล อันจะบอกล ้างได ้
- กรณีทเี่ ป็ นคุณกับประชาชน อาจใช ้ข ้อน ้อยหรือมากกว่าทีก
่ ฎหมายกาหนดไว ้ได ้

3.4.3 การแถลงอายุคลาดเคลือ ่ น
(1) แถลงตา่ กว่าความเป็ นจริง
- ลดเงินเอาประกันภัยตามส่วน
(2) แถลงสูงกว่าความเป็ นจริง
- บริษัทคืนเบีย
้ ประกันชีวต

(3) แถลงนอกเหนือพิกด ั การค ้า
- สัญญาเป็ นโมฆียกรรม

3.4.4 ระยะเวลาพิจารณาเอาประกันชีวต
ิ (Free Look Period)
- กรมธรรม์ประกันชีวต
ิ ปกติ 15 วัน
- Tele Marketing 30 วัน
3.4.5 ระยะเวลารอคอย (Waiting Period)
- ประกันสุขภาพ 30 วัน
- อุตสาหกรรม 180 วัน (6 เดือน)
3.4.6 ระยะเวลาผ่อนผัน (Grace Period)
- ประเภทสามัญ 30 วัน หรือ 31 วัน
- ประเภทอุตสาหกรรม 60 วัน
นับจากวันครบกาหนดชาระเบีย ้ ประกันภัย

3.4.7 การต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัย
- ต ้องขอต่อภายใน 5 ปี นับจากวันทีข ่ าดอายุ
- ผู ้เอาประกันภัยต ้องเสียค่าใช ้จ่ายเอง
- กรณีผู ้เอาประกันภัย เลือกวิธเี วนคืนเป็ นเงินสดไปแล ้ว ไม่สามารถขอต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัยได ้

การต่ออายุกรมธรรม์ฯ ได ้ 2 แบบคือ
1.การต่ออายุแบบธรรมดาหรือแบบย ้อนหลัง ชาระเบีย ้ ตัง้ แต่งวดทีค
่ ้างชาระทัง้ หมดพร ้อมดอกเบีย ้
2.การต่อแบบพิเศษหรือแบบเปลีย ่ นแปลงวันเริม
่ สัญญาใหม่ชาระเบีย ้ ประกันภัยต่อจากทีช่ าระไว ้แล ้ว
โดยปรับเบีย
้ ประกันภัยใหม่ให ้สูงขึน
้ ตามอายุของผู ้เอาประกัน ณ วันเริม ่ สัญญาใหม่

3.4.8 มูลค่ากรมธรรม์ประกันภัย
(1) มูลค่าเวนคืนเงินสด (Cash Surrender Value)
(2) มูลค่าใช ้เงินสาเร็จ (Reduced Paid-Up)
(3) มูลค่าขยายเวลา (Extended Term Insurance)

ต ัวอย่าง ตารางมูลค่ากรมธรรม์ฯ แบบสะสมทรัพย์ 10/10


อายุ 30 ปี ต่อจานวนเงินเอาประกัน 1,000 บาท
การขยายเวลา
ี่ ลค่าเวนคืนเงินสดมูลค่าใชเ้ งินสาเร็ จ
ิ้ ปี กรมธรรม์ทมู
สน
ปี ว ัน เงินเหลือ
2 58 82 2 112 -
3 155 228 5 68 -
4 258 361 6 - 120
5 368 511 5 - 285

(1) มูลค่าเวนคืนเงินสด
จากช่องมูลค่าเวนคืนเงินสด ณ สิน ้ ปี ท ี่ 2 = 58 ต่อจานวนเงินเอาประกันภัย 1,000 บาท
วิธค
ี านวณ
- ถ ้าจานวนเงินเอาประกันภัย 1,000 บาท จะมีมล ู ค่าเวนคืนเงินสด 58 บาท
- ถ ้าจานวนเงินเอาประกันภัย 100,000 บาทจะมีมล ู ค่าเวนคืนเงินสด
(58 x 100,000) / 1,000 = 5,800 บาท
ดังนัน้ ถ ้าผู ้เอาประกันภัยขอเงินสด ณ สิน ้ ปี ท ี่ 2 จะได ้รับเงิน = 5,800 บาท

(2) มูลค่าใชเ้ งินสาเร็จ


จากช่องมูลค่าใช ้เงินสาเร็จ ณ สิน ้ ปี ท ี่ 2 = 82 ต่อ 1,000 บาท
วิธค
ี านวณ
- ถ ้าจานวนเงินเอาประกันภัย 1,000 บาทจะมีมล ู ค่าใช ้เงินสาเร็จ 82 บาท
- ถ ้าจานวนเงินเอาประกันภัย 100,000 บาท
- จะมีมลู ค่าใช ้เงินสาเร็จ = (82 x 100,000) / 1,000 = 8,200 บาท
ิ้ ปี ท ี่ 2 จนครบสัญญาในปี ท ี่ 10 หากผู ้เอาประกันภัยเสียชีวต
หมายความว่านับตัง้ แต่สน ิ
บริษัทจะจ่ายเงินเอาประกันให ้ = 8,200 บาท และหากผู ้เอาประกันภัยไม่เสียชีวต ิ จนกระทั่งครบสัญญา
บริษัทก็จะจ่ายเงินจานวน 8,200 บาทนีใ้ ห ้เช่นกัน

(3) มูลค่าขยายเวลา
จากช่องมูลค่าขยายเวลา ณ สิน ้ ปี ท ี่ 2 ผู ้เอาประกันภัยสามารถขยายเวลาความคุ ้มครองออกไปเป็ นเวลา
2 ปี 112 วัน โดยไม่มเี งินครบกาหนด
หมายความว่า ผู ้เอาประกันภัยจะได ้รับความคุ ้มครองเท่ากับจานวนเอาประกันเดิมนับตัง้ แต่สน ิ้ ปี ท ี่ 2
เป็ นต ้นไปอีก 2 ปี 112 วัน คือหากผู ้เอาประกันภัยเสียชีวต ิ ในช่วงเวลาดังกล่าว
บริษัทจะจ่ายเงินเอาประกันให ้ 100,000 บาท
แต่หากผู ้เอาประกันภัยมีชวี ต ิ อยูจ
่ นครบระยะเวลาทีข ่ ยายออกไปก็จะไม่ได ้รับอะไรเลย
เพราะในกรณีนไ ี้ ม่มเี งินจ่ายเมือ
่ ครบกาหนด (ไม่มเี งินช่องเงินเหลือ)

3.4.9 การกู ้ยืมเงินโดยมีกรมธรรม์ประกันภัยเป็ นประกัน


ผู ้เอาประกันภัยสามารถกู ้เงินได ้ไม่เกินมูลค่าเวนคืนเงินสดในวันทีก
่ ู้
- กู ้เพือ่ ชาระเบีย
้ ประกันภัยโดยอัตโนมัต ิ (Automatic Premium Loan)
- กู ้เป็ นเงินสด

3.5 เบีย้ ประก ันชวี ต ิ


3.5.1 ปั จจัยในการคานวณอัตราเบีย ้ ประกันชีวต ิ
โดยอาศัยปั จจัย 3 ประการคือ...
(1) อัตรามรณะ คือ อัตราการเสียชีวต ิ ของผู ้เอาประกันภัยแยกตาม เพศ,อายุ
(2) ดอกเบีย ้ ทีค
่ าดว่าจะได ้รับจากการลงทุน
(3) ค่าใช ้จ่ายในการดาเนินงาน
จาก 3 ปั จจัยนี้ กรณีเกิดกาไร
จะนามาซึง่ เงินปั นผลทีจ ่ า่ ยคืนผู ้เอาประกันภัยในกรณีเป็ นการประกันภัยชนิดจ่ายเงินปั นผล

3.5.2 การชาระเบีย ้ ประกันชีวต



การชาระเบีย ้ ประกันภัย
(1) ชาระครัง้ เดียว (Single Premium)
(2) ชาระเป็ นระยะเวลา (Limited Payment) : กาหนดชาระ 10 ปี 15 ปี 20 ปี หรือตลอดชีพ
แล ้วกาหนดจ่ายเป็ นรายปี ราย 6 เดือน ราย 3 เดือน หรือรายเดือน
ซึง่ ผู ้เอาประกันภัยสามารถติดต่อบริษัทเพือ
่ ขอเปลีย
่ นวิธช
ี าระได ้

3.6 วิธรี ับเงินครบกาหนด หรือค่าสน ิ ไหมการประก ันชวี ต



(1) รับเป็ นเงินก ้อน
(2) รับเป็ นงวด ๆ (รายเดือน/รายปี )

3.7 เงินสารองประก ันชวี ต ิ


คือจานวนเงินทีบ ่ ริษัทจัดสรรไว ้ (จากเบีย ้ ประกันภัย)
ตามความผูกพันของกรมธรรม์ประกันภัยรวมกับดอกผลทีไ่ ด ้จากการลงทุน อันจะทาให ้บริษัทสามารถจ่า
ยผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยทีจ ่ ะเกิดขึน
้ ในอนาคต
(1) ทาให ้เกิดสิทธิต
์ า่ งๆเมือ
่ มี “มูลค่ากรมธรรม์ประกันชีวต ิ ”เกิดขึน
้ แล ้ว
(2) ไม่มใี นการประกันชีวต ิ แบบชัว่ ระยะเวลา
(3) การประกันชีวติ แบบสะสมทรัพย์ เมือ ่ ครบกาหนดสัญญา
เงินสารองจะเท่ากับจานวนเงินเอาประกันชีวต ิ พอดี

You might also like