You are on page 1of 95

นิติวทิ ยาศาสตร์

ศูนย์ พสิ ู จน์ หลักฐาน 4


โดย....
พ.ต.ท.หญิงชมพูนุท ไสยโสภณ
นักวิทยาศาสตร์ กลุ่มงานลายนิ้วมือแฝง
ขอบเขตการศึกษา

• การตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือ


- ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และ ฝ่ าเท้า
- ชนิดของลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และ ฝ่ าเท้า
- การตรวจหารอยลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้าแฝงด้วย
วิธีการต่างๆ
- ขั้นตอนการตรวจพิสูจน์
ขอบเขตของการศึกษา
• ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และ ฝ่ าเท้า
- ที่มาของลายนิ้วมือ
- ทฤษฎีลายนิ้วมือ
- รู ปแบบลายนิ้วมือ
- จุดลักษณะสาคัญของลายนิ้วมือ
ขอบเขตของการศึกษา
1.ชนิดของลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ และ ฝ่ าเท้ า
- ชนิดลายนิว้ มือทีม่ องเห็นด้ วยตาเปล่ า
- ชนิดลายนิว้ มือทีม่ องไม่ เห็นด้ วยตาเปล่ า
2. ประเภทและรู ปแบบของลายนิว้ มือ
- ประเภทโค้ ง มี 2 รู ปแบบ
- ประเภทมัดหวาย มี 2 รู ปแบบ
- ประเภทก้ นหอย มี 5 รู ปแบบ
ขอบเขตของการศึกษา
1. การตรวจเก็บลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้ าแฝง
2. ประเภทของลายนิว้ มือในสถานทีเ่ กิดเหตุ
- ลายนิ้วมือที่มองเห็นด้วยตาเปล่า
- ลายนิ้วมือที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า
ขอบเขตของการศึกษา
หลักการตรวจหาลายนิว้ มือในสถานทีเ่ กิดเหตุ
- การตรวจหารอยลายนิ้วมือด้วยวิธีปัดฝุ่ น
- การตรวจหารอยลายนิ้วมือด้วยวิธีทางเคมี
- การหล่อร่ องรอยด้วยปูนปลาสเตอร์
- การใช้แสงเลเซอร แสงดพลีไลท์ในการหารอยลายนิ้วมือ
ขอบเขตของการศึกษา
• การตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือ
- ตรวจเปรี ยบเทียบ 10 นิ้ว กับ แฝง
- ตรวจเปรี ยบเทียบ 10 นิ้ว กับ10นิ้ง
- ตรวจเปรี ยบเทียบ แฝง กับ แฝง
ประเภทของวัตถุพยาน
• สาหรับพยานหลักฐานตามกฎหมายนั้นได้
มีการแบ่งออกไว้เป็ น 3 ประเภท ได้แก่
- พยานบุคคล
- พยานเอกสาร และ
- วัตถุพยาน
พยานบุคคล
• พยานบุคคล หมายถึง พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นจากคาเบิกความของบุคคล
ต่อศาล :ซึ่งผูท้ ี่มาเบิกความเป็ นพยานเรี ยกว่า พยาน (Witness) แต่ตวั
บุคคลไม่ใช่พยานหลักฐาน ถ้อยคาหรื อข้อเท็จจริ งที่บุคคลผูน้ ้ นั เบิกความ
ต่อศาลต่างหากที่เป็ นพยานหลักฐาน แม้ศาลจะได้บนั ทึกคาเบิกความไว้
ในเอกสารก็ยงั คงเรี ยกว่าเป็ น “พยานบุคคล” แต่หากมีการนาเอกสารที่
บันทึกถ้อยคาพยานนั้นไปใช้ในคดีเรื่ องอื่น พยานหลักฐานนั้นก็จะ
เรี ยกว่า “พยานเอกสาร” หรื ออาจกล่าวได้วา่ พยานบุคคลเป็ นพยานที่
สาคัญที่สุดโดยเฉพาะในคดีอาญา และแม้ในคดีแพ่งที่ใช้เอกสารเป็ น
พยานมากก็ตาม ก็ตอ้ งอาศัยพยานบุคคลเบิกความเกี่ยวกับข้อเท็จจริ งใน
เอกสารนั้นอยูด่ ี ซึ่งพยานบุคคลนั้นจะมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายพิสูจน์หลักฐานที่
ปฏิบตั ิการสนับสนุนในการค้นหาและการพิสูจน์พยานหลักฐาน
พยานเอกสาร
• พยานเอกสาร คือ ข้อความที่บนั ทึกไว้ไม่วา่ จะด้วยวิธีใด และไม่วา่ จะ
บันทึกในวัสดุใดที่สามารถสื่ อ หรื อแสดงความหมายของสิ่ งที่บนั ทึกไว้
ให้ศาลเข้าใจได้ ข้อความนั้นจะเป็ นตัวอักษร ตัวเลข เครื่ องหมาย
สัญลักษณ์ จะเกิดขึ้นด้วยการเขียน พิมพ์ แกะสลัก และจะทาลงบน
กระดาษ ผ้า ผนัง ก้อนหิ น ไม้ โลหะก็ได้ท้ งั สิ้ น ขอเพียงแต่
เสนอพยานนั้นเพื่อสื่ อความหมายที่บนั ทึกอยูใ่ นพยานชิ้นนั้น บางครั้ง
จึงสับสนระหว่างพยานเอกสารกับพยานวัตถุ เช่น นาสื บว่าข้อความที่
สลักลงบนก้อนหิ นมีความหมายอย่างไร เป็ นการนาสื บข้อความใน
ก้อนหิ นในฐานะเป็ นพยานเอกสาร แต่ถา้ นาสื บว่าได้มีการสลัก
ข้อความไว้ที่กอ้ นหิ นหรื อไม่ เป็ นการนาสื บก้อนหิ นที่มีขอ้ ความใน
ฐานนะเป็ นพยานวัตถุ
วัตถุพยาน
• วัตถุพยานหมายถึง สิ่ งใด ๆ ก็ตามที่เสนอต่อศาลเพื่อให้ศาลตรวจดู
มิใช่การอ่านหรื อพิจารณาข้อความในวัสดุน้ นั เช่น นาสื บมีดที่คนร้าย
ใช้แทงผูต้ ายว่ามีความกว้างยาวเท่าใด นาสื บบาดแผลบนตัวผูเ้ สี ยหาย
ว่าเป็ นกรณี เสี ยโฉมหรื อไม่ และในทางการตรวจพิสูจน์ น้ันจึงเป็ นการ
ประยุกต์ใช้ความรู ้ทางวิชาการทางด้านต่างๆ ผนวกเข้ากับการบังคับใช้
ทางกฎหมาย เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อกระบวนการยุติธรรม ให้สามารถ
อานวยความยุติธรรมให้กบั ผูเ้ สี ยหาย และผูต้ อ้ งหาได้เป็ นอย่างดี ซึ่ง
จาเป็ นอย่างยิง่ ที่ประเทศไทยจะต้องส่ งเสริ มให้มีการพัฒนา ทางด้านการ
ตรวจวิเคราะห์ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น รวมถึงการนาเอานิติวิทยาศาสตร์น้ ี
มา ส่ งเสริ มกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยให้ทดั เทียมกับ
อารยประเทศ ซึ่งจะส่ งผลอย่างดียงิ่ ต่อประชาชนคนไทย
ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และ ฝ่ าเท้า
• ลายนิว้ มือ
- ที่มาของลายนิ้วมือ
- ทฤษฎีลายนิ้วมือ
- รู ปแบบลายนิ้วมือ
- จุดลักษณะสาคัญของลายนิ้วมือ
ที่มาของลายนิ้วมือ

• ลายนิว้ มือเกิดขึน้ ได้ อย่ างไร


ลายนิ้วมือของมนุษย์เราเริ่ มก่อตัวตั้งแต่งมีการ
ปฏิสนธิในครรภ์ของมารดา โดย หลังจาก
ปฏิสนธิในสัปดาห์ที่ 3 อวัยวะส่ วนที่เป็ นมือได้
เริ่ มก่อร่ างสร้างตัวขึ้นมา
ที่มาของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 3-5 (ดังภาพ)
ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 5.5 (ดังภาพ)

เริ่มพัฒนาเป็ นกระดูกและมองเห็นเนื้อเยือ้ บางๆ


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 6 (ดังภาพ)

• เริ่มมองเห็นกระดูกและเห็นข้ อต่ อต่ างๆ


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 6 .5 (ดังภาพ)

• เริ่มพัฒนาเป็ น volar pads ( ส่ วนทีน่ ูนขึน้ ในบริเวณปลายนิว้ และฝ่ ามือ)


ซึ่งจุดทีน่ ูนขึน้ นั้นจะมีรูปแบบต่ างๆ
ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 6 - 7 (ดังภาพ)

ในการเกิด volar pads จะเริ่มเห็นได้ ชัดเจนที่นิว้ หัวแม่ มือ


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 7 - 8 (ดังภาพ)

หลังจากเห็น volar pad ได้ อย่างชัดเจนที่นิว้ หัวแม่ มือแล้ว จากนั้นก็จะเกิดการแบ่ ง


เนินออกเป็ นส่ วนๆ เริ่มเห็นลักษณะเป็ นลายเส้ นของรอยพับ
ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 8 - 9 (ดังภาพ)

Epidermids จะหนาขึน้ 1 ชั้นเซลล์ กระดูกนิว้ จะแข็งเห็นเป็ นนิว้ อย่ างชัดเจน


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 9.5 (ดังภาพ)

• Epidermids จะหนาขึน้ 3-4ชั้นเซลล์กระดูกฟอร์ มตัวได้ ดแี ล้ ว


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 9-16 (ดังภาพ)

Volar padge เริ่ มยุบ ( ดูคล้ายหดตัวลง)เพราะมือมีการขยายตัวใหญ่ข้ ึน


9-10 เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ volar padge
10-12 อัตราการเติบโตเริ่ มช้าลงvolar padge เริ่ มมองไม่เห็น
ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 10 (ดังภาพ)

เริ่มมีเซลล์ จาก epidermids เริ่มพัฒนามายึดกับ เซลล์ ของ dermids


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 11 (ดังภาพ)

เป็ นช่ วงการสร้ างตัวในเบื้องต้ นของเส้ นนูนกับเส้ นร่ อง


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 12 (ดังภาพ)

• ยังอยู่ในช่ วงของ primary ridge ซึ่ง secondary ridge ยังไม่ พฒ


ั นาขึน้ มา
ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 13-15 (ดังภาพ)

• เมื่อ ridge ยื่นลงในผิวหนังแท้ กจ็ ะทาให้ เกิดรู ต่อมต่ างๆ ขึน้ ซึ่งถ้ าเป็ นเส้ นนูน
ข้ างบนนูนขึน้ ข้ างล่ างก็จะยื่นลง แต่ ถ้าเป็ นเส้ นร่ องจะยื่นลงด้ วยกันทั้งหมด
ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 15 (ดังภาพ)

primary ridge จะหยุดการพัฒนาลง และ secondary ridgeจะเริ่มพัฒนาขึน้ และ


ใน secondary ridge นีจ้ ะไม่ มรี ูต่อมเหงื่อต่ างๆ
ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 17 (ดังภาพ)

secondary ridge จะหยุดการเจริญเติบโตและจะเกิดความถาวรในลายเส้ นของลายนิว้ มือขึน้


ทีม่ าของลายนิว้ มือ
• การปฏิสนธิในสั ปดาห์ ที่ 17-24 (ดังภาพ)

พัฒนาการทุกอย่ างของลายนิว้ มือจะสมบูรณ์ ridge จะมีความคงทนถาวรไม่ มีการ


เจริญต่ อไปอีก
ทฤษฎีลายนิว้ มือ
ลายนิว้ มือคืออะไร
ลายนิว้ มือคือ ลักษณะของลายเส้ นบนนิว้ มือ ฝ่ ามือ
และฝ่ าเท้ าซึ่งมีลกั ษณะเป็ นเส้ นนูนและเส้ นร่ องปรากฏบน
ผิวหนังในบริเวณนิว้ มือ ฝ่ ามือและนิว้ เท้ าและฝ่ าเท้ าของ
ทุกคน ทีม่ คี ุณลักษณะเฉพาะของแต่ ละบุคคล
ทฤษฎีลายนิว้ มือ

• ส่ วนประกอบของผิวหนังลายนิว้ มือ
- ผิวหนังในร่ างกายแบ่ งออกเป็ น 2 ชั้น คือ
- ชั้นของ Epidermis
- ชั้นของ Dermis
Epidermis คือผิวหนังชั้นนอกสุ ด ทาหน้าที่ปกป้องสิ่ งต่างๆที่จะเข้าสู่
ร่ างกาย
Dermis คือชั้นของผิวหนังชั้นใน ทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างผิวหนัง
ชั้นนอกกับผิวหนังชั้นในเข้าด้วยกัน
ทฤษฎีลายนิ้วมือ
ส่ วนประกอบของผิวหนัง

ส่ วนประกอบของผิวหนัง
ส่ วนประกอบของลายเส้ นในลายนิว้ มือ
• ลายเส้ นของลายนิว้ มือ
ลายนิว้ มือหรื อลายเส้ นบนผิวหนัง มาจากคาใน
ภาษาอังกฤษว่ า dermal ridge หรื อ dermatoglyphics
ซึ่งจะหมายรวมถึง ลายฝ่ ามือ ( palmprint ) ลายนิว้ มือ
( fingerprint ) และลายฝ่ าเท้ า ( footprint )
ส่ วนประกอบของลายเส้ ยในลายนิว้ มือ
• ลายนิว้ มือประกอบด้ วยลายเส้ น 2 เส้ นคือ เส้ นนูน กับ
เส้ นร่ อง
- เส้นนูน คือ ridge ที่สมบูรณ์มีลกั ษณะรอยนูนสู งขึ้นมาพ้น
จาก ผิวหนังส่ วนนอกของนิ้วมือ ฝ่ ามือ นิ้วเท้าและฝ่ า
เท้า
- เส้นร่ อง คือ ridge ที่สมบูรณ์มีลกั ษณะรอยลึกซึ่ งอยูต่ ่าลง
ไปกว่าระดับของเส้นนูน
คุณสมบัตขิ องลายนิว้ มือ
• ลายนิว้ มือ (ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ า) ของมนุษย์ มี
คุณลักษณะเฉพาะตัวทีส่ ามารถนามาใช้
ในการตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ บุคคล
( Personal Identification) ได้ ดที สี่ ุ ดแขนง
หนึ่งในบรรดาวิชาการตรวจพิสูจน์
เอกลักษณ์ ของบุคคล
คุณสมบัติของลายนิว้ มือ
• จากการศึกษาค้ นค้ วาของนักวิทยาศาสตร์ มาเป็ นเวลานาน พบว่ า
ลักษณะของลายเส้ นทีป่ รากฏบนนิว้ มือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ า ของมนุษย์ น้ันมี
ความเป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวทีส่ ามารถนามาใช้ ในการตรวจพิสูจน์
ยืนยันบุคคลได้ ดที สี่ ุ ด เนื่องจากในลายเส้ นของลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ า
นั้นมีความจริงอยู่ 2 ประการคือ
1.ลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ าของแต่ ละบุคคล ไม่ เหมือนกัน (Unipueness)
2. ลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ าของแต่ ละบุคคลไม่ เปลีย่ นแปลง
( Permanence)
ประโยชน์ ของลายนิว้ มือ

• ลายนิว้ มือของมนุษย์ ใช้ เป็ นหลักฐานในการยืนยันตัว


บุคคลได้ เนื่องจาก มีความเป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว
บุคคลบนความจริง 3 อย่ างคือ
- คงทนถาวร
- ไม่ซ้ ากัน
- ไม่เปลี่ยนแปลง
ประโยชน์ ของลายนิว้ มือ

• จากความจริง 3 อย่ างจึงเป็ นเหตุผลทีน่ าลายนิว้ มือ


ของมนุษย์ มาใช้ ตรวจพิสูจน์ ยืนยันตัวบุคคลใน
อาชญากรรมต่ างๆทีไ่ ด้ ผลอย่ างแน่ นอน
• ในขณะทีล่ ายฝ่ ามือฝ่ าเท้ าก็มคี ุณสมบัตเิ ช่ นเดียวกัน
กับลายนิว้ มือ
ชนิดและรูปแบบของลายนิว้ มือ
• ลายนิว้ มือ แบ่ งออกเป็ น 3 ชนิด
และมี 9 รูปแบบดังนี้ คือ
1. ลายนิว้ มือชนิดโค้ ง แบ่ งออกเป็ น 2 รู ปแบบ คือ
1.1 รู ปแบบโค้ งราบ (Plain Arch)
1.2 รู ปแบบโค้ งกระโจม (Tented Crch)
ชนิดและรูปแบบของลายนิว้ มือ
1.1 รู ปแบบโค้ งราบ (Plain Arch) คือลายนิว้ มือทีม่ ีลกั ษณะของ
ลายเส้ นตั้งต้ นจากขอบเล็บด้ านหนึ่งไปยังขอบเล็บอีกด้ านหนึ่ง
ชนิดและรูปแบบของลายนิว้ มือ
1.2 โค้ งกระโจม (Tented Crch) คือลักษณะลายเส้ นใน
ลายนิว้ มือทีม่ อี ยู่รูปแบบโค้ งราบนั้นเองเพียงแต่ มลี กั ษณะ
แตกต่ างกันดังนี้
ข้ อแตกต่ างของโค้งราบกับโค้ งกระโจม
1. มีลายเส้ น เส้ นหนึ่งหรื อมากกว่ า ซึ่งอยู่ตรงกลางไม่ ได้
วิง่ หรื อไหลออกไปยังอีกข้ างหนึ่ง
2. ลายเส้ นตรงกลางของลายนิว้ มือ เกิดเป็ นเส้ นพุ่งขึน้ จาก
แนวนอน
3. มีเส้ น 2 เส้ นมาพบกันเป็ นมุมแหลมคมหรื อมุมฉาก
ชนิดและรูปแบบของลายนิว้ มือ
2. ลายนิว้ มือชนิดมัดหวายแบ่ งออกเป็ น
2 รูปแบบคือ
2.1. รู ปแบบมัดหวายปัดขวา : ( Right
Slant Loop)
2.2 รู ปแบบมัดหวายปัดซ้ าย : ( Left
Slant Loop)
ชนิดและรูปแบบของลายนิว้ มือ
2.1. รู ปแบบมัดหวายปัดขวา : ( Right Slant Loop)
คือ มัดหวายรู ปใดทีม่ ีปลายเส้ น
เกือกม้ าปัดปลายไปทางมือขวา
หรื อทางด้ านขวา
เรียกว่ ามัดหวายปัดขวา
ชนิดและรูปแบบของลายนิว้ มือ
• 2. รู ปแบบมัดหวายปัดซ้ าย : ( Left Slant Loop)
คือ มัดหวายรู ปใดทีม่ ีปลายเส้ น
เกือกม้ าปัดปลายไปทางมือซ้ าย
หรื อทางด้ านซ้ าย
เรียกว่ ามัดหวายปัดซ้ าย
กฎของความเป็ นมัดหวาย
1. ต้ องมีสันดอนข้ างใดข้ างหนึ่งเพียงข้ างเดียว
2. ต้ องมีเส้ นวกกลับที่เห็นได้ ชัดอย่ างน้ อย 1 รู ป
3. ต้ องมีจุดใจกลางและต้ องนับเส้ นจากจุดสั นดอนไปถึงจุดใจ
กลางได้ อย่ างน้ อย 1 เส้ น โดยเส้ นนั้นจะต้ องเป็ นเส้ นของ
เส้ นวกกลับอย่ างน้ อย 1 เส้ น
ชนิดและรูปแบบของลายนิว้ มือ
3.ลายนิว้ มือชนิดก้นหอย แบ่ งเป็ น 5 รู ปแบบคือ
3.1.รู ปแบบก้ นหอยธรรมดา ( Plain Whorl )
3.2 ก้ นหอยกระเป๋ากลาง(central pocket)
3.3 ก้นหอยกระเป๋ าข้าง
3.4 มัดหวายคู่(double loop)
3.5 ซ้าซ้ อน(accidental whorl)
ลายนิว้ มือชนิดก้ นหอย
3.1.รู ปแบบก้นหอยธรรมดา ( Plain Whorl ) คือลายนิว้ มือทีม่ ีเส้ น
เวียนรอบเป็ นวงจรซึ่งวงจรนีอ้ าจมีลกั ษณะเหมือนลานนาฬิ กา
หรื อรู ปไข่ เหมือนวงกลม หรื อลักษณะอื่นๆ
ลักษณะความเป็ นก้ นหอย
• 1.ต้ องมีจุดสั นดอน 2 แห่ ง และหน้ าจุดสั นดอนเข้ าไป
จะต้ องมีรูปวงจร หรื อเส้ นเวียนรอบอยู่ข้างหน้ าจุดสั น
ดอนทั้ง 2 จุด
• 2.ถ้ าลากเส้ นสมมุติจากสั นดอนข้ างหนึ่งไปยังสั นดอนอีก
ข้ างหนึ่งเส้ นสมมุติจะต้ องสั มผัสเส้ นวงจรหน้ าจุดสั น
ดอนทั้ง 2 ข้ างอย่ างน้ อย 1 เส้ น
ลายนิว้ มือชนิดก้ นหอย
3.2. ก้นหอยกระเป๋ากลาง(central pocket) คือ ลายนิว้ มือแบบ
ก้ นหอยธรรมดา แต่ ลากเส้ นสมมุตจิ ากสั นดอนข้ างหนึ่ง
ไปยังอีกสั นดอนอีกข้ างหนึ่ง เส้ นสมมุตจิ ะไม่ สัมผัสเส้ น
เวียนรอบที่อยู่ตอนใน
ลายนิว้ มือชนิดก้ นหอย
3.3. ก้นหอยกระเป๋าข้ างคือ ลายนิว้ มือชนิดมัดหวายคู่แต่ มี
ส้ นดอนอยู่ข้างเดียวกัน
ลายนิว้ มือชนิดก้ นหอย
3.4. มัดหวายคู่(double loop) คือ ลายนิว้ มือทีม่ ีรูปคล้ ายกับ
ลายนิว้ มือแบบมัดหวาย 2 รู ปมากลา้ กันหรื อเกีย่ วกัน มีส้นดอน
2 ส้ นดอน รู ปมัดหวาย 2 รู ปทีป่ รากฏไม่ จาเป็ นต้ องมีขนาด
เท่ ากัน
ลายนิว้ มือชนิดก้ นหอย
3.5 ลายนิว้ มือแบบซ้าซ้ อน(accidental whorl) คือ
ลายนิ้วมือที่มีหลายรู ปแบบมาผสมกัน และมีส้นดอน 2
ส้นดอน หรื อมากกว่า
การตรวจหารอยลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ
และฝ่ าเท้ าแฝง
การตรวจหารอยลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้ าแฝง
• ลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้าแฝง หมายถึง ลายนิ้วมือ
ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้า ที่คนร้ายหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้องใน
คดีน้ นั ๆ ได้เข้าไปจับหรื อสัมผัสกับวัตถุในสถานที่
เกิดเหตุทาให้เกิดร่ องรอยลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้า
บนวัตถุน้ นั ๆ และจะต้องใช้เทคนิคทางวิทยาศาสตร์
ในการตรวจเก็บ
ประเภทของลายนิว้ มือแฝง(ในสถานทีเ่ กิดเหตุ)
• ลายนิว้ มือที่มองเห็นด้ วยตาเปล่ า ได้ แก่
- ลายนิ้วมือแฝงชนิด 2 มิติ คือ มองเห็นทั้งส่ วนกว้างและ
ยาว เช่น ลายนิ้วมือที่ติดเลือด ลายนิ้วมือที่ติดสี ลายนิ้วมือ
ที่เปื้ อนฝุ่ น ฯลฯ
- ลายนิ้วมือชนิด 3 มิติคือ เห็นทั้งส่ วนกว้าง ยาว และ ลึก
เช่นรอยลายนิ้วมือบนดินเหนียว ดินน้ ามัน ฯลฯ
ประเภทของลายนิว้ มือในสถานทีเ่ กิดเหตุ
ลายนิว้ มือที่มองไม่ เห็นด้ วยตาเปล่า(ลายนิว้ มือแฝง)
แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิดคือ
- เห็นได้เพียงส่ วนใดส่ วนหนึ่ง เช่น ลายนิ้วมือที่ติดบน
กระจก แก้วน้ า กระเบื้องฯลฯ
- ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า เช่น ลายนิ้วมือที่
ติดบนกระดาษเอกสารต่างๆ เสื้ อผ้า ผิวหนัง ฯลฯ
หลักการตรวจหาหรื อตรวจเก็บ
รอยลายนิว้ มือในสถานทีเ่ กิดเหตุ
หลักการตรวจหาหรื อตรวจเก็บรอยลายนิว้ มือในสถานทีเ่ กิดเหตุ
- การตรวจหารอยลายนิ้วมือด้วยวิธีปัดฝุ่ น
- การตรวจหารอยลายนิ้วมือด้วยวิธีทางเคมี
- การหล่อร่ องรอยด้วยปูนปลาสเตอร์
- การใช้แสงเลเซอร แสงดพลีไลท์ในการหารอยลายนิ้วมือ
การตรวจหาหรื อตรวจเก็บ
รอยลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ าแฝง
• การตรวจหารอยลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้าแฝงนั้นกระทาได้
หลายวิธีดงั นี้
1. การตรวจหารอยลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้า แฝง ด้วยผงฝุ่ น
เคมี(Dusting) วิธีน้ ีเหมาะกับวัตถุที่มีพ้นื ผิวเรี ยบเป็ นมัน
ไม่ดูดซึ มและไม่เปี ยก
อุปกรณ์ ที่ใช้ ในการปัดผงฝุ่ น
วิธีการตรวจเก็บลายนิ้วมือด้วยสารละลายนินไฮดริ น
2.สารเคมี
เป็ นการตรวจเก็บรอยลายนิว้ มือ
ฝ่ ามือ ฝ่ าเท้ าแฝง ทีข่ องกลางบาง
ชนิดไม่ สามารถปัดฝุ่ นได้ เช่ น
2.1วิธีนินไฮดรีน(ninhydrin)
นินไฮดรีน 0.5 กรัม+อะซิโตน
100 ซีซี ทาบนกระดาษทิง้ ไว้ 24 ชม.
หรื อใช้ เตารีดเพื่อให้ เกิดปฏิกริ ิยาเร็วขึน้
(สารนีท้ าลายเอกสาร)
การตรวจเก็บลายนิว้ มือด้ วยสารละลายซิลเวอร์ ไนเตรด
2.2 ซิลเวอร์ ไนเตรด
ซิลเวอร์ ไนเตรด 3 กรัม+นา้
100ซีซี มองไม่ เห็นค่ อยเห็นด้ วย
ตาเปล่ า ให้ นาไปส่ องด้ วยอุลตร้ าไวโอเลต
หรื อแสงแดด ทาให้ ลายนิว้ มือเปลีย่ นเป็ นสี ดา
วิตตอเรียเพรียวบูล
• นาผลึก วิตตอเรียเพรียวบูล+เอทานอล
1000ซีซี นาเทปที่ต้องการหาลายนิว้ มือ
แช่ ในนา้ ยาที่ผสมจนเห็นลายนิว้ มือ
ปรากฎขึน้ มาแล้วนาไปล้างนา้ ผึง่ ไว้ ให้
แห้ ง
วิธีซุปเปอร์ กลู
เครื่ องหนัง,แก้ ว,เบาะรถใช้ วธิ ีซุปเปอร์ กูล มีส่วนผสม ไซยาโนไครเรต สารนี้
ได้ รับความร้ อน ละเหยเป็ นไอแล้ วทาปฏิกริ ิยากับกรดอะมิโนหรื อโปตีนและ
เหงื่อ ปรากฏเป็ นรอยสี ขาว
วิธีซุปเปอร์ กลู เหมาะกับของกลางประเภท
เครื่ องหนัง,แก้ ว,ผ้ า,โลหะต่ างๆ และ เบาะรถ ซุปเปอร์ กลู
ซึ่งมีส่วนผสมของ Cyanoachylate Ester สารนีเ้ มื่อได้ รับความ
ร้ อนจะ ระเหยเป็ นไอแล้ วทาปฏิกริ ิยากับกรดอะมิโนหรื อโปตีน
และนา้ ในเหงื่อ แล้ วทาให้ ปรากฏรอยลายนิว้ มือเป็ นสี ขาว
วิธีการถ่ ายภาพ,แสงเลเซอร์ ,โพลีไลท์
-การถ่ ายภาพ
ลายนิว้ มือแฝงที่เก็บโดยวิธี นินไฮดรีน, สารเคมี,
วิตตอเรียเพรียวบูล ฯลฯ นั้นการถ่ ายภาพจะเป็ น
การถ่ ายภาพโดยใช้ แสงปกติ หรื อแสงเฉียงส่ อง
แล้ วถ่ ายบันทึกภาพปกติธรรมดา
แสงเลเซอร์
แสงเลเซอร์ เป็ นแสงทีม่ พี ลังงานสู งมากแสง
เลเซอร์ จะใช้ ในกรณีทาการตรวจเก็บ
ลายนิว้ มือหรื อร่ องรอยดอกยางต่ างๆโดย
การฉายแสงเลเซอร์ ลงบนวัตถุทตี่ ้ องการ
ตรวจหาลายนิว้ มือ จากนั้นลายนิว้ มือแฝง
จะเกิดการเรื องแสง
แสงโพลีไลท์
การใช้ แสงโพลีไลท์ ในการตรวจหารอย
ลายนิว้ มือแฝงบนวัตถุทคี่ าดว่ าคนร้ ายได้
ทิง้ รอยลายนิว้ มือเอาไว้ เช่ น รอยลายนิว้ มือ
ทีเ่ ปื้ อนเลือด คราบอสุ จิ รอยเท้ า โดยการ
ส่ องไปบริเวณทีค่ ดิ ว่ามีลายนิว้ มือ รอยเท้ า
แล้ วบันทึกเพื่อเก็บวัตถุพยาน
วิธีหล่ อร่ องรอย
• ใช้ หล่อร่ องรอยทีต่ ิดบนวัตถุทสี่ ภาพพืน้ ผิวมีความเหนียว และร่ องรอย
เป็ นลักษณะ 3 มิติ เช่ นบนดินเหนียว ดินนา้ มัน ฯลฯ
อุปกรณ์
- ปูนพลาสเตอร์ 1 กิโลกรัม
- นา้ สะอาด 1 ลิตร
- ไม้ ท่อนสั้ นๆ 2-3 ท่ อน
- กรอบโลหะหรื อกรอบพลาสติก
- ถังผสมปูน
วิธีการและขั้นตอนการตรวจพิสูจน์
การตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือ / ลายนิว้ มือแฝง
• การตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือเป็ นการตรวจเปรียบเทียบของ 2 อย่ าง
เช่ น ในกรณีที่เป็ นการตรวจลายนิว้ มือแฝงก็จะเป็ นการตรวจ
ลายนิว้ มือที่เก็บมาจากสถานที่เกิดเหตุเปรียบเทียบกับลายนิว้ มือของ
ผู้ต้องสงสั ยหรื อผู้เกีย่ วข้ อง และถ้ าเป็ นการตรวจลายนิว้ มือ 10 นิว้
ของผู้ต้องสงสั ย ก็จะเป็ นการเปรียบเทียบระหว่ างลายพิมพ์ นิว้ มือ 10
นิว้ กับลายพิมพ์ นิว้ มือ 10 ในสารบบทะเบียนประวัติอาชญากร
ขั้นตอนการตรวจพิสูจน์
ลายนิว้ มือ ฝ่ ามือ และ ฝ่ าเท้ าแฝง
• การตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือ
- ตรวจเปรี ยบเทียบ 10 นิ้ว กับ แฝง
- ตรวจเปรี ยบเทียบ 10 นิ้ว กับ10นิ้ง
- ตรวจเปรี ยบเทียบ แฝง กับ แฝง
ขั้นตอนการตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือ
• 1. เมื่อ พงส.หรื อ งานตรวจสถานที่เกิดเหตุนาส่ งของ
กลาง(รอยลายนิว้ มือแฝง)ที่งานพิสูจน์ หลักฐาน
• 2. เจ้ าหน้ าที่งานพิสูจน์ หลักฐานลงรับของกลาง เพื่อส่ ง
ให้ ผู้ชานาญการทาการตรวจ
• 3. ผู้ชานาญการเมื่อได้ รับของกลางแล้ ว บันทึก
รายละเอียดลงในสมุดคุม ก่ อนทาการตรวจ
ขั้นตอนการตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือ
4. ถ้ าแฝงดังกล่าวไม่ เพียงพอในการตรวจผู้ชานาญจะออกรายงานส่ งให้
พงส.เพื่อประกอบสานวนคดีต่อไป
5. ถ้ ากรณีทมี่ ีเฉพาะรอยลายนิว้ มือแฝงและลายนิว้ มือนั้นมีจุดลักษณะ
สาคัญของลายเส้ นเพียงพอในการตรวจ แต่ ไม่ มีลายพิมพ์นิว้ มือ 10 นิว้
ส่ งให้ ตรวจเปรียบเทียบ ผู้ชานาญจะต้ องนาส่ งเปรียบเทียบกับลาย
พิมพ์นิว้ มือ 10 นิว้ ในสารบบทะเบียนประวัตอิ าชญากรต่ อไป
6. หลังจากการตรวจในข้ อ 5 ได้ ผลว่ าพบหรื อไม่ พบประวัติ แล้วต้ อง
ส่ งกลับให้ ผู้ชานาญการออกรายงานผลเพื่อส่ งให้ พงส. เจ้ าของคดีใช้
ประกอบสานวนคดีต่อไป
ขั้นตอนการตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือ
กรณีของกลางทีน่ าส่ ง มีท้งั ลายนิว้ มือแฝงและลายพิมพ์นิว้ มือ 10 นิว้ ของ
ผู้เสี ยหายหรื อผู้ต้องสงสั ย มีข้นั ตอนดังนี้
1. ทาการตรวจแฝงในเบื้องต้ นก่อนว่ ารอยลายนิว้ มือดังกล่าวมีจุด
ลักษณะสาคัญของลายเส้ นเพียงพอในการตรวจหรื อไม่
2. ถ้ าแฝงดังกล่าวเพียงพอในการตรวจผู้ชานาญจะทาการตรวจ
เปรียบเทียบระหว่ างแฝงกับ 10 นิว้ ดังกล่ าวนั้น
3. ถ้ าผลการตรวจใน ข้ อ 2 ตรงกับผู้ต้องสงสั ย จะต้ องนารอย
ลายนิว้ มือแฝงและลายพิมพ์นิว้ มือ 10 นิว้ ทีต่ รงกันมาถ่ ายภาพขยาย
เพื่อชี้จุดเปรียบเทียบเสร็จแล้วผู้ชานาญจะออกรายงานส่ งให้ พงส.
เพื่อประกอบสานวนคดีต่อไป
หลักการการตรวจพิสูจน์ ลายนิว้ มือแฝง
• การตรวจพิสูจน์ลายนิ้วมือ ฝ่ ามือ และฝ่ าเท้าแฝงตาม
หลักนิติวทิ ยาศาสตร์น้ นั มี 2 ขั้นตอนคือ
- ขั้นตอนการตรวจด้วยตัวผูช้ านาญการเฉพาะ
ทางด้านลายนิ้วมือ
- ขั้นตอนการตรวจด้วยระบบคอมพิวเตอร์
หลักการตรวจพิสูจน์
• การตรวจพิสูจน์เปรี ยบเทียบด้วยผูช้ านาญการเฉพาะ
ทางด้านลายนิ้วมือ
- แผ่นรอยลายนิ้วมือแฝง
- แผ่นลายพิมพ์นิ้วมือ 10 นิ้ว
- ผูต้ อ้ งสงสัย
- ผูเ้ สี ยหาย / ผูเ้ กี่ยวข้อง
หลักการตรวจพิสูจน์
• การตรวจพิสูจน์เปรี ยบเทียบด้วยด้วยระบบคอมพิวเตอร์
- แผ่นรอยลายนิ้วมือแฝง
- แผ่นลายพิมพ์นิ้วมือ 10 นิ้ว ในระบบฐานข้อมูล
ทะเบียนประวัติอาชญากร
- บุคคลพ้นโทษ
- บุคลสู ญหาย
จุดลัก
หลักการตรวจพิสูจน์ ษณะ
สาคัญพิเศษของลายนิว้ มือ
จุดลักษณะสาคัญพิเศษของลายเส้ นในลายนิว้ มือ
Ridge
เส้ นคด Change over
เส้ นประ Fragnant
เส้ นเล็ก ๆ Short ridge ทะเลสาบ ake
เส้ นต่ อ Deviated Break ตะขอ Hook
กลม Enclosure
เส้ นขาด Interuption จุด Point/Dot
เส้ นแยก Bifucation เส้ นตัด Intersection
วกกลับ Return
เส้ นตัดInterjunction จุดสิ้นสุ ดRidge ending
จุดลักษณะสาคัญพิเศษของลายเส้ นในลายนิว้ มือ

เส้ นต่ างๆในลายนิว้ มือ


1. เส้ นแตก
2. เส้ นขาด
3. เส้ นสั้ นๆ
4. เส้ นทะเลสาบ
5. จุด
ลักษณะเส้ นต่ างๆในลายนิว้ มือ
• 2. เส้ นขาด
ลักษณะเส้ นต่ างๆในลายนิว้ มือ
• 3. เส้ นสั้ นๆ
ลักษณะเส้ นต่ างๆในลายนิว้ มือ
4. เส้ นทะเลสาบ
ลักษณะเส้ นต่ างๆในลายนิว้ มือ
• จุด
ภาพประกอบรายงานที่๐๙๑๗-๑/๒๕๕๔
๑๑ ๑๐ ๑๑
ภาพประกอบรายงานที๐่ ๙๑๗-๒/๒๕๕๔
ระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิว้ มืออัตโนมัติ AFIS
( Automated Fingerprint Identification System )
ระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิว้ มืออัตโนมัติ AFIS
( Automated Fingerprint
Identification System )
เป็ นโครงการทีใ่ ช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เก็บข้ อมูลภาพลายพิมพ์นิว้ มือของ
ผู้ต้องหา ลายนิว้ มือแฝง ลายฝ่ ามือฝ่ าเท้ า เป็ นต้ น เก็บไว้ ใช้ เป็ นฐานข้ อมูล
ด้ วยวิธีการสแกน ให้ ค่า ตรวจสอบ รายงาน และเก็บข้ อมูล แล้วนามา
ตรวจสอบกับแผ่ นพิมพ์ลายนิว้ มือใหม่ หมุนเวียนกันไปเช่ นนี้ ปัจจุบันมี
มากกว่ า 15 ล้านราย
ปี 2548 จะเป็ นการดาเนินการในระยะขั้นที่ 3 โดยพัฒนาให้ หน่ วยระดับ
เขตทั้ง 12 แห่ ง ตรวจสอบและรายงานผลเอง โปรแกรมจะสามารถให้ ค่า
Minutiae เอง ระบบจะเชื่ อมโยงโดย Lead Line ทาให้
โครงการสมบูรณ์ มากยิง่ ขึน้
ขีดความสามารถคอมพิวเตอร์ระบบ AFIS
เปรียบเทียบรอยลายนิว้ มือแฝงกับลายพิมพ์นิว้ มือ 10 นิว้ ในสารบบ
จุดประสงค์
- เพื่อหาตัวผู้กระทาผิด
เปรียบเทียบลายพิมพ์นิว้ มือ 10 นิว้ ของผู้ต้องสงสั ยกับลายนิว้ มือ 10 นิว้ ใน
สารบบ
จุดประสงค์
- เพื่อหาประวัติการกระทาผิด
ขีดความสามารถคอมพิวเตอร์ระบบ AFIS

• เปรียบเทียบลายพิมพ์นิว้ มือ 10 นิว้ ของผู้ต้องสงสั ยกับลายนิว้ มือแฝงใน


สารบบ
จุดประสงค์
- เพื่อหาว่ าผู้ต้องสงสั ยกระทาผิดในคดีอื่นอีกหรื อไม่

• เปรียบเทียบลายพิมพ์นิว้ มือแฝงกับรอยลายนิว้ มือแฝงในสารบบ


จุดประสงค์
- เพื่อหาว่ าคดีทเี่ กิดขึน้ เกิดจากบุคคลคนเดียวกันหรื อไม่
ทฤษฎีลายพิมพ์นิว้ มือที่ใช้ ในระบบ AFIS
เส้ นโค้ ง Continuous
Ridge
เส้ นคด Change over
เส้ นประ Fragnant
เส้ นเล็ก ๆ Short ridge ทะเลสาบ ake
เส้ นต่ อ Deviated Break ตะขอ Hook
กลม Enclosure
เส้ นขาด Interuption จุด Point/Dot
เส้ นแยก Bifucation เส้ นตัด Intersection
วกกลับ Return
เส้ นตัดInterjunction จุดสิ้นสุ ดRidge ending
ส่ วนประกอบสาคัญของลายพิมพ์นิ้วมือ
ที่ใช้วิธีประมวลผลด้วยเครื่ องคอมพิวเตอร์
1. ประเภทของลายนิว้ มือหรื อ Pattern Type คือ โค้ง
มัดหวาย ก้ นหอย
2. จุดใจกลางของลายพิมพ์นิว้ มือหรื อ Core
3. จุดลักษณะสาคัญ Minutiae
4. สั นดอน Delta
ภาพแสดงจุด Core จุด Delta และ จุด
Minutiae

Minutiae Core
Delta
ตัวอย่ างลายนิว้ มือทีใ่ ส่ จุด Core และ Delta
• การกาหนดจุด Core และ Delta ของการตรวจในระบบ AFIS
ภาพจุด Core จุด Mint. และ Delta ที่
คอมพิวเตอร์ นาไปประมวลผล
ภาพจุด Core จุด Mint. และ Delta ที่
คอมพิวเตอร์ นาไปประมวลผล

You might also like