You are on page 1of 15

ภาษาไทย

หลักภาษาไท

อ ักขระวิธ ี ได ้แก่ อักษร แปลว่า ตัวหนังสือ
ลักษณะอก ั ษร
เสียงในภาษาไทย มีอยู่ ๓ อย่าง คือ
๑. เสียงแท ้ ได ้แก่ สระ
๒. เสียงแปร ได ้แก่ พยัญชนะ
๓. เสียงดนตรี ได ้แก่ วรรณยุกต ์
สระ
สระในภาษาไทย ประกอบด ้วยรูปสระ ๒๑ รูป และเสียงสระ ๓๒ เสียง

พยัญชนะ
รู ปพยัญชนะ มี ๔๔ ตัว คือ
๑. อกั ษรสู ง มี ๑๑ ตัว คือ ข ข ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
๒. อก ั ษรกลาง มี ๙ ตัว ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
๓. อก ั ษรตา ่ มี ๒๔ ตัว คือ
๓.๑ อักษรคู่ คือ อักษรต่าทีเป็
่ นคูก่ บ
ั อักษรสูง มี14 ตัว คือ ค ค ฆ ช ฌ ซ
ฑ ฒทธพภฟฮ
๓.๒ อักษรเดียว่ คือ
อักษรต่าทีไม่
่ มอี ก
ั ษรสูงเป็ นกัน มี 10 คือ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ

ความรูเ้ พิม
่ เติม (อักษรสามหมู)่

อักษรสูง 11 ตัว ผ ฝ ถฐ ขฃ สษศ ห ฉ


หลักการจา (ผี ฝาก ถุง ข้าว สาร ให้ ฉัน)

อักษรกลาง 9 ตัว ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ
หลักการจา (ไก่ จิก เด็ก ตาย เด็ก ตาย ( ให้เข้าใจว่าเป็ น ฎ
ฏ) บน ปาก โอ่ง)
อักษรต่าเดีย่ ว 10 ตัว ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล
หลักการจา (งู ใหญ่ นอน อยู่ ณ ริม วัด โม ฬี
โลก)

อักษรต่าคู่ 14 ตัว พภ ซ คฅฆ ชฌ ทธฑฒ ฟ ฮ


หลักการจา (เพือ
่ น ซี้ ใคร ชอบ ทา ฟัน ฮะ)
วรรณยุกต ์
วรรณยุกต ์ มี ๔ รูป ได ้แก่
๑. ไม้เอก ๒. ไม้โท ๓. ไม้ตรี ๔. ไม้จต
ั วา
่ ้อยู่ในภาษาไทย มี ๕ เสียง
เสียงวรรณยุกต ์ทีใช
๑. เสียงสามัญ คือเสียงกลาง ๆ เช่น กา มา ทา เป็ น ชน
๒. เสียงเอก ก่า ข่า ป่ า ดึก จมูก ตก หมด
๓. เสียงโท เช่น ก ้า ค่า ลาก พราก กลิง้ สร ้าง
๔. เสียงตรี เช่น ก๊า ค ้า มา้ ช ้าง โน้ต มด
๕. เสียงจัตวา เช่น ก๋า ขา หมา หลิว สวย หาม ปิ๋ ว จิว๋


คาเป็ น คือ พยางค ์ทีประสมกั ่ ตวั สะกด
บสระเสียงยาวในแม่ ก กา และพยางค ์ทีมี
ในแม่ กน กง กม เกย เกอว และสระ อา ไอ ใอ เอา

คาตาย คือ พยางค ์ทีประสมด ้
้วยสระเสียงสันในแม่ ก กา เช่น กะ กิ กุ กา แ

ละพยางค ์ทีมี
ตัวสะกดใน แม่ กก กด กบ แต่ยกเวน้ สระ อา ไอ ใอ เอา

สระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป
รู ปสระ ่
ชือ รู ปสระ ่
ชือ
๑. ะ วิสรรชนี ย ์ ๑๒. ใ ไม้มว้ น
๒. อั ไม้หน
ั อากาศ ๑๓. ไ ไม้มลาย
๓. อ็ ไม้ไต่คู ้ ๑๔. โ ไม้โอ
๔. า ลากข ้าง ๑๕. อ ตัว ออ
๕. อิ พินทุ ์อิ ๑๖. ย ตัว ยอ
๖. ่่ ฝนทอง ๑๗. ว ตัว วอ
๗. อ นิ คหิตหรือหยาดน้าค ้าง ๑๘. ฤ ตัว รึ
๘. “ ฟันหนู ๑๙. ฤๅ ตัว รือ
๙. อุ ตีนเหยียด ๒๐. ฦ ตัว ลึ
๑๐. อู ตีนคู ้ ๒๑. ฦๅ ตัวลือ
๑๑. เ ไม้หน้า
ประเภทของสระ
่ มี 18 เสียง)
1. เสียงสระ (สระเดียว
้ (ร ัสสระ)
สระเสียงสัน สระเสียงยาว (ทีฆสระ)

/อะ/ /อา/

/อิ/ /อี/

/อึ/ /อือ/

/อุ/ /อู/

/เอะ/ /เอ/

/แอะ/ /แอ/

/เออะ/ /เออ/

/เอาะ/ /ออ/

/โอะ/ /โอ/

2. สระประสม (สระเลือน) ่ 2 เสียงมาประสมกัน ได ้แก่
คือ การนาเสียงสระเดียว
/อิ/ + /อะ/ = /เอียะ/ /อี/ + /อา/ = /เอีย/
/อึ/ + /อะ/ = /เอือะ/ /อือ/ + /อา/ = /เอือ/
/อุ/ + /อะ/ = /อวั ะ/ /อู/ + /อา/ = /อวั /
้ นหน่ วยเสียงเดียวกับเสียงยาว
หมายเหตุ ทางภาษาศาสตร ์ ถือว่า สระประสมเสียงสันเป็
จึงถือว่าสระประสม มี 3 เสียง คือ /เอีย/ /เอือ/ /อัว/
ข้อควรจา
อา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
คาสนธิ คือ การต่อคาตังแต่ ้ สองคาขึนไปให
้ ิ เนื่ องกัน โดยมีการเพิมสระในแท
ต้ ด ่
รกระหว่าง
่ าเพือติ
คา หรือเพิมค ่ ดต่อกันให ้สนิ ท เช่น
ธนู + อาคม เป็ น ธันวาคม
มหา + อิสี เป็ น มเหสี

คาสมาส คือ การนาคาประสมตังแต่้ ้


๒ คาขึนไปให ่ ้นามาจ
้เป็ นคาเดียวคาทีใช
ากภาษาบาลีและ

สันสกฤต เมือรวมกั ่
นแล ้วความหมายเปลียนไปก็ ม,ี ความหมายคงเดิมก็มี เช่น
ราช + โอรส เป็ น ราชโอรส
สุธา + รส เป็ น สุธารส
คช + สาร เป็ น คชสาร

้ ่ในสระตัวเดียวกัน เช่น เพลา เ


อ ักษรควบ คือพยัญชนะ ๒ ตัว ควบกลาอยู
ขมา

อักษรควบแท้ คือคาทีควบกั
บ ร ล ว เช่น
ควาย ไล่ ขวิด ข ้าง ขวา คว้า ขวาน มา ไล่ ขว้าง ควายไป
ควาย ขวาง วิง่ วน ขวกั ไขว่ ่ ขวาง
กว ัดแกว่ง ขวานไล่ ล ้ม ควา
ควาย.
อักษรควบไม่แท้ ่
คือ อักษร ๒ ตัวทีควบกล ้ นได ้แก่ตวั ร แต่ออกเสียงเฉ
ากั
พาะตัวหน้าแต่

ไม่ออกเสียง ร หรือบางตัวออกเสียงเปลียนไปเป็ ่ น เศร ้า ทราย จริง
นพยัญชนะอืนเช่
ไซร ้ ปราศร ัย
สร ้อย เสร็จ เสริม ทรง สร ้าง สระ

อ ักษรนา คือ พยัญชนะ 2 ตัวรวมอยู่ในสระเดียวกัน บางคาออกเสียงร่วมกัน


เช่น หนู หนอ หมอ
หมี อย่า อยู่ อย่าง อยาก หรือบางคาออกเสียงเหมือน ๒ พยางค ์ เนื่ องจากต ้องออกเสียง
พยัญชนะตัวหน้ารวมกับตัวหลัง แต่พยัญชนะ ๒ ตัว
นั้นประสมกันไม่สนิ ทจึงฟังดูคล ้ายกับมีเสียงสระอะดังออกมาแผ่วๆ เช่นกนก ขนม จร ัส ไส
ว ฉมวก แถลง ฝรง่ ั ผนวก


คามู ล คือ คาทีเราตั ้ นเฉพาะค
งขึ ้ าเดียว เช่น ชน ตัก คน วัด หัด ขึน้
ขัด

คาประสม คือ การนาคามูลมาประสมกันเป็ นอีกคาหนึ่ ง เช่น


แม่ + น้า = แม่น้า แปลว่า ทางน้าไหล
่ งคับเรือ
หาง + เสือ = หางเสือ แปลว่า ทีบั
ลูก + น้า = ลูกน้า

พยางค ์ คือ ส่วนหนึ่ งของคาหรือหน่ วยเสียงประกอบด ้วยสระตัวเดียวจะมีความหม


ายหรือไม่มก ี ็
ได ้ พยางค ์หนึ่ งมีส่วนประสมต่าง ๆ คือ
1. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต ์ เช่น ตา ดี ไป นา
2. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต ์ +
ตัวสะกด เช่น คน กิน ข ้าว หรือพยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต ์ +
ตัวการ ันต ์ เช่น โลห ์ เล่ห ์
3. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต ์ + ตัวสะกด +
ตัวการ ันต ์ เช่น ร ักษ ์ สิทธิ ์ โรจน์
้ ยกว่า ประสม 5 ส่วน
พยางค ์แบบนี เรี

่ ยงติดต่อกันอย่างมีระเบียบ และมีความหมายเป็ นทีรู่ ้กัน เช่น


วลี คือ กลุ่มคาทีเรี
การเรียนหลักภาษาไทยมีประโยชน์มาก
ประโยค คือ กลุ่มคาทีน่ ามาเรียงเข ้าด ้วยกันแล ้วมีใจความสมบูรณ์ เช่น
1. ประโยค 2 ส่วน ประธาน + กริยา
นก บิน
2. ประโยค 3 ส่วน ประธาน + กริยา + กรรม
ปลา กิน มด

วรรณยุกต์

วรรณยุกต ์ในภาษาไทย นับเป็ นเสียงดนตรีตามตาราภาษาไทยสมัยโบราณ


โดยแบ่งออกเป็ น 5 เสียง ได ้แก่ สามัญ เอก โท ตรี และจัตวา

และมีเครืองหมายก ่ ยกว่า "วรรณยุกต ์" ด ้วยเช่นกัน
ากับเสียงวรรณยุกต ์ ซึงเรี
่ องหมายวรรณยุ
โดยทีเครื ่ กต ์ อาจไม่ได ้บ่งบอกถึงเสียงวรรณยุกต ์นั้นเสมอไป
่ ากับคาเป็ น ทีมี
เว ้นแต่เมือก ่ พยัญชนะต ้นเป็ นอักษรกลาง
เสียงวรรณยุกต ์ไทยตามหลักภาษาศาสตร ์ แบ่งได้ด ังนี ้
เสียงสามัญ (ระดับเสียงกึงสู่ ง-กลาง)
่ ่า-ต่า)
เสียงเอก (ระดับเสียงกึงต
เสียงโท (ระดับเสียงสูง-ต่า)
่ ง-สูง)
เสียงตรี (ระดับเสียงกึงสู
เสียงจัตวา (ระดับเสียงกึงต่ ่า-ต่า-กึงสู
่ ง)

รู ปวรรณยุกต ์

เครืองหมายวรรณยุ กต ์ในภาษาไทย มี 4 รูป ดังนี ้
ไม้เอก (-่ ), ไม้โท (-้), ไม้ตรี (-๊ ) และ ไม้จต
ั วา (-๋ )
อย่างไรก็ตาม ในจารึกสมัยโบราณ

เช่น ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง มีเครืองหมายวรรณยุ กต ์เพียง 2 รูป คือ ไม้เอก (-่ )
และไม้โท (-๋ ) เช่น น๋ อง (น้อง), ห๋า (ห ้า)

การผันเสียงวรรณยุกต ์
่ ยงพยางค ์หนึ่ งในภาษาไทย สามารถผันได ้ 5 เสียงวรรณยุกต ์
โดยทัวไปเสี

แต่ในภาษาเขียน จะมีกฎเกณฑ ์การผันทีตายตัว ดังนี ้
หมู ่อ ักษร-คาเป็ นคาตาย เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา
อักษรกลาง คาเป็ น กา ก่า ก ้า ก๊า ก๋า

อักษรกลาง คาตาย สระสัน - กะ ก ้ะ ก๊ะ ก๋ะ
อักษรกลาง คาตาย สระยาว - กาบ ก ้าบ ก๊าบ ก๋าบ
อักษรสูง คาเป็ น - ข่า ข ้า - ขา

อักษรสูง คาตาย สระสัน - ขะ ข ้ะ - -
อักษรสูง คาตาย สระยาว - ขาบ ข ้าบ - -
อักษรต่า คาเป็ น คา - ค่า ค ้า -
อักษรต่า คาตาย สระสัน ้ - - ค่ะ คะ ค๋ะ
อักษรต่า คาตาย สระยาว - - คาบ ค ้าบ ค๋าบ
คาตายของอักษรกลางและอักษรสูง

ไม่ว่าสระจะเป็ นเสียงสันหรือเสียงยาวก็ผน
ั วรรณยุกต ์ตามรูปแบบเดียวกัน
เว ้นแต่คาตายของอักษรต่า เมือเป็
่ นสระเสียงสันหรื
้ อเสียงยาวจะผันคนละแบบ
อักษรต่าและอักษรสูงไม่สามารถผันให ้ครบ 5 เสียงได ้
จึงมักจะใช ้อักษรเสียงเดียวกันจากอีกหมู่หนึ่ งมาใช ้เป็ นอักษรนา โดยมีอก
ั ษรสูงนา
่ นอักษรกลาง สามารถนา อักษร ย ได ้) เช่น นา หน่ า น่ า น้า หนา, มี
(ยกเว ้นอักษร อ ซึงเป็
หมี่ มี่ มี ้ หมี

การเขียนสะกด
คา

ระบบการเขีย นภาษาไทยเป็ นระบบที่มีตวั อักษรแทนเสียง ๓ ประเภท คือเสีย งสระ


พ ยั ญ ช น ะ แ ล ะ ว ร ร ณ ยุ ก ต ์ ป ร ะ ก อ บ กั น เ ป็ น พ ย า ง ค ์ แ ล ะ ค า
ในการเขีย นค าให ถ ่
้ ู ก ต อ้ งจ าเป็ นต อ้ งศึก ษาเรืองการใช ้ สระ พยัญ ชนะ และวรรณยุ ก ต ์
ตลอดจนการเขียนคาในลักษณะพิเศษต่างๆ เช่นการเขียนชือเฉพาะ ่ การเขียนราชทินนาม
ก า ร เ ขี ย น ค า ยื ม จ า ก ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ก า ร เ ขี ย น อั ก ษ ร ย่ อ ก า ร เ ขี ย น ชื่ อ เ มื อ ง
ชื่ อ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ใ ช ้ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ป ร ะ ก อ บ ค า
่ อสาคัญทีช่
เครืองมื ่ วยใหเ้ ขียนคาได ้ถูกต ้องคือพจนานุ กรมฉบับราชบัณฑิตสถานซึงทางรา ่
ชการประกาศให ้ถือเป็ นแบบอย่างในการเขียน
การใช้สระ

การใช ้สระในการเขียนคาทีปรากฏในค าไทยนั้นมีข ้อสังเกตดังนี ้
๑. การประวิสรรชนี ย ์และไม่ประวิสรรชนี ย ์

คาทีออกเสียง “อะ” ในภาษาไทยมีทงที ั้ ปรากฏรู
่ ปสระ เรียกว่าประวิสรรชนี ย ์
และไม่ปรากฏรูปสระ ทีเรี่ ยกว่าไม่ประวิสรรชนี ย ์

คาทีประวิ สรรชนี ย ์

คาทีประวิ ่ าพยัญชนะมาประสมสระ อะ และคงรูปสระ อะ
สรรชนี ย ์ คือ ทีน
ไว ้หลังพยัญชนะเวลาอ่านออกเสียงจะอ่านออกเสียง อะ
่ี
เต็มเสียง (ถ ้าประสมอยู่ทพยางค ่ ยง) เช่น กระจก กระชาก กระทะ
์หน้าใหอ้ อกเสียง อะ กึงเสี
ตะลุย คะนึ ง ตะลึง ละเอียด ธรรมะ กะปิ คะนึ ง ทะนง ประเดียว


คาทีประวิสรรชนี ย ์ ข ้อสังเกตในการใช ้มีดงั นี ้

1.1 คาพยางค ์เดียวทีออกเสี ยง อะ จะประวิสรรชนี ย ์เสมอ เช่น กะ จะ ปะ ละ นะ

1.2 คาไทยแท ้ทีออกเสี ยง

อะ ทังพยางค ่ ้าหนักและไม่ลงน้าหนัก เมือเขี
์ทีลงน ่ ยนต ้องประวิสรรชนี ย ์
เช่น
มะม่วง มะดัน มะนาว มะขาม มะยม
ละมั่ง ละอง ตะกวด ตะขาบ กระจง
ตะกร ้า ตะโพน กระดาน กะดัง ชะลอม

1.3 คาทีมาจากภาษาบาลี สน ่
ั สกฤต คาพยางค ์ท ้ายของคาทีออกเสี
ยง อะ จะประวิ
สรรชนี ย ์ เช่น
ศิลปะ ศีรษะ ลักษณะ สาธารณะ สุขะ


1.4 คาทีมาจากภาษาสั ่
นสกฤต ทีพยางค ์หน้าออกเสียง กระ ตระ ประ จะต ้องประ
วิสรรชนี ย ์ แม้ว่า

พยางค ์ทีตามมาจะออกเสี ยงอย่างอักษรนา เช่น
กระ กระษัย กระษิร กระษาปณ์
ตระ ตระกูล ตระการ
ประ ประวัติ ประโยชน์ ประมาท ประกาศ
1.5 คาทีไทยร่ ับมาจากภาษาชวาและอ่านออกเสียง อะ ทีพยางค่ ์หน้า เช่น
มะเดหวี ประไหมสุหรี มะงุ มมะงาหรา

1.6 คาซาประเภทค ่ ้ในบทร ้อยกรอง เช่น
าอัพภาสทีใช
จะเจือย้ - เจือยเจื
้ ้
อย
วะวาว - วาววาว
คะคล ้าย - คล ้ายคล ้าย
่ มป
คาทีไม่ ี ระวิสรรชนี ย ์
่ มป
คาทีไม่ ่
ี ระวิสรรชนี ย ์ คือ คาทีประสมสระ อะ
เวลาอ่านออกเสียงคาทีไม่่ ประวิสรรชนี ย ์จะอ่านออกเสียง อะ กึงเสียง เช่น ขนุ น ฉลาม ถลา
เมล็ด สารพัด สมัย ถนน ตลก ตลิง ทนาย ทยอย สกัด สงบ สไบ ขโมย

่ ประวิสรรชนี ย ์ ข ้อสังเกตในการใช ้มีดงั นี ้


คาทีไม่
1. คาไทยทียกเว ่ ้นไม่ประวิสรรชนี ย ์ เช่น ธ ณ ธชี ทแกล ้ว ทนาย อนึ่ ง ฯพณฯ
2. พยางค ์กลางของคาสมาส แม้จะออกเสียง อะ ก็ไม่ประวิสรรชนี ย ์ เช่น ศิลปกรร
ม ธนบัตร จุล
สาร ร ัฐศาสตร ์ พุทธพจน์

3. พยางค ์หน้าของคาสองพยางค ์ทีออกเสี ยงแบบอักษรนา แม้จะออกเสียง อะ ก็ไม่ป
ระวิสรรชนี ย ์
เช่น กนก ขนาน จร ัส ฉลาด ตลับ เสมอ สลวย สวิง เฉลย

4. คาทีมาจากภาษาเขมรที ่ พยัญชนะต ้นสองตัวซ ้อนกัน จะต ้องอ่านคาหน้าเป็ น อ
มี
ะ ไม่ต ้อง
ประวิสรรชนี ย ์ เช่น ขมา ขโมย ผจญ ผทม สบง เผดียง สลา จรูญ ถนน

แบบทดสอบ
1. คาเป็ น คือ
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..
2. คาตาย คือ
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..
๓. อก
ั ษรควบ คือ
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..
๔. อ ักษรนา คือ
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………..…………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..
่ าหนดให้ตอ
๕. คาทีก ่ ไปนี ้คาใดเขียนถู กต้อง
1. ก. กฎหมาย ข. กฏหมาย 2. ก. แกงบวด ข.
แกงบวช
3. ก. โจทย ์จรรย ์ ข. โจษจัน 4. ก.ทรหด ข. ทระหด
5. ก. บอระเพ็ด ข. บรเพชร 6. ก. ผาสุข ข. ผาสุก
7. ก. ฟุตบอล ข. ฟุตบอลล ์ 8. ก. สังเกตุ ข. สังเกต
9. ก. อานิ สสงฆ ์ ข. อานิ สงส ์ 10. ก. ปรากฏ ข.
ปรากฎ

่ าหนดให้อย่างถู กต้อง
๖. ให้เขียนสะกดคาทีก
1. อา-มะ-พาด เขียน …………….… 2. สา-พาด เขียน
……..……………
3. จุน-ละ-ทัด เขียน ……………..… 4. ทุบ-พน-ละ-พาบ เขียน
……………..……
5. อุ-ปัด-ชา เขียน ……………..… 6. กา-ละ-สะ-หมัย เขียน
………………..…
7. คุน-นะ-วุด-ทิ เขียน ……………..… 8. ชุก-กะ-ชี เขียน
…………………
9. ผะ-รุด-สะ-วาด เขียน ………………. 10. บุน-ดะ-ริก เขียน
……………….…

่ าหนดให้ เขียนลงในกลุ่มให้ถูกต้อง
๗. จงนาคาทีก
กว ้างขวาง ทรุดโทรม ความรู ้ สร ้อยคอ
เพลิดเพลิน เศร ้าโศก ก่อสร ้าง ขวนขวาย
จริงใจ ตราด พุทรา ขวัญใจ
ควาญช ้าง ทร ัพย ์สิน เศรษฐี ตลาดนัด
ส่งเสริม ่
ขาดแคลน กลันกรอง ทรวดทรง

คาควบแท้ คาควบไม่แท้
๘. จงเลือกสานวนทีก ่ าหนดให้ เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
เข ้าหูซ ้ายทะลุหูขวา ้
ซือควายหน้ ้ า้ หน้าหนาว
านา ซือผ
กบในกะลาครอบ
ปั้นน้าเป็ นตัว มือไม่พายเอาเท ้าราน้า ปากปราศร ัย
น้าใจเชือดคอ
ขวานผ่าซาก ผักบุ ้งโหรงเหรงน้าลดต่อผุด ลูกไก่ในกามือ

น้าท่วมทุง่

๑. พูดดีแต่ใจคิดร ้าย
…………………………………………………………………………
๒. แสร ้งทาเรืองไม่ ่ จริงให ้เป็ นจริง
…………………………………………………………………………

๓. ซือของไม่ ถูกต ้องตามกาลเวลา
…………………………………………………………………………
๔. ประกาศไม่ยอมคบค ้าสมาคมด ้วยไม่รว่ มงานด ้วย
…………………………………………………………………………
๕. พูดตรงเกินไปโดยไม่เลือกกาลเทศะและบุคคล
…………………………………………………………………………

๖. เมือหมดอ านาจความชัวที ่ ท ่ าไว ้ก็ปรากฏ
…………………………………………………………………………
๗. การทีเข ่ ้าไปขัดขวางผลประโยชน์
…………………………………………………………………………
่ี
๘. ผูท้ ตกอยู ่ี มท
่ใต ้อานาจ ผูท้ ไม่ ี างต่อสู ้
…………………………………………………………………………

๙. พูดมากแต่ได ้เนื อหาสาระน้ อย
…………………………………………………………………………
๑๐. บอกหรือสอนไม่ได ้ผล
…………………………………………………………………………

๙. จงบอกรู ป และเสียงวรรณยุกต ์ ของคาต่อไปนี ้


ต ัวอย่าง ๑. ก้าว รู ปโท เสียงโท
๒. ไม้ รู ปโท เสียงตรี
คา รู ปวรรณยุกต ์ เสียงวรรณยุกต ์
1. กว ้าง
2. แตะ
3. โน้ต
4. ห้วย

5. เกียว
6. แปลก
7. คลุม
8. กวาง
9. แอ๋ว
10. พลัง้
11. หลง

12. เดียว

13. คลืน
14. หวาย
15. เกิด

16. เหงือ

17. เทียว
18. กล ้วย
19. โต๊ะ
20. ผ่อน

๑๐. จงเปลียนค ้ เป็ นคาสุภาพ
าต่อไปนี ให้
1. ควาย =
..................................................................................
2. แมว = ..................................................................................
3. เต่า = ..................................................................................

4. ขนมขีหนู = ..................................................................................
5. กล ้วยบวชชี = ..................................................................................
6. กล ้วยไข่ =
..................................................................................
7. ปลาร ้า =
..................................................................................
8. อ ้วก = ..................................................................................
9. ผักบุ ้ง = ..................................................................................
10. ผักตบชวา =
..................................................................................
11. ้ ยจ
ขีเกี =
..................................................................................
12. ไส ้เดือน =
..................................................................................
13. ้ ยว
ขีเหนี =
..................................................................................
14. ้
ขีหมู =
..................................................................................
15. ผัวเมีย =
..................................................................................
16. ปลาช่อน =
..................................................................................
17. ปลาสลิด =
..................................................................................
18. ผักกระเฉด =
..................................................................................
19. มีท ้อง =
..................................................................................
20. สาก =
..................................................................................

You might also like