You are on page 1of 4

Page 1/4

การทดสอบการอัดตัวคายน้ํา
(Consolidation Test)
X
อางอิง ASTM D 2435 - 96
Y
วัตถุประสงค
Dial Gauge
เพื่อหาคาคุณสมบัติตางๆ ของดิน ที่ไดจากการอัดตัวคายน้ํา Consolidometer P จุดหมุนของคาน
ของดิน อาทิเชน คาสัมประสิทธิ์การอัดตัวคายน้ํา (Coefficient คานถวงน้ําหนัก ถวงน้ําหนัก
กอนน้ําหนัก
of Consolidation, cv ) คาดัชนีการทรุดตัว (Compression A B C ถวงดุล
Index, C c ) และคาการทรุดตัวของมวลดิน เปนตน
เครื่องมือและอุปกรณ ฐานรองรับคาน
1. Load Device เปนอุปกรณสําหรับเพิ่มแรงใหแกตัวอยาง (ปรับระดับได )
X :Y = A, B, C = 11:1, 10:1, 9:1
2. Consolidometer เปนชุดอุปกรณสําหรับบรรจุตัวอยางดิน
แปนรับกอนน้ําหนัก P = W (X / Y )
3. หินพรุน 2 แผน W
เมื่อ P คือ แรงกดบนตัวอยางดิน
4. อุปกรณสําหรับตัดแตงดิน (Trimmer) กอนน้ําหนัก W คือ น้ําหนักที่ใสเพิ่มเขาไป
5. ตาชั่ง, ชั่งไดละเอียด 0.1 g
6. Dial Gauge อานไดละเอียด 0.0025 mm
7. เตาอบ นาฬิกาจับเวลา และกระปองเก็บตัวอยางดิน
ตัวอยางการทดสอบ
ตัวอยางดินไดจากการเก็บตัวอยางดินแบบคงสภาพ (Undistur- เครื่องมื่อทดสอบการอัดตัวคายน้ํา
bed Sample)
ขั้นตอนการทดสอบ
1. นําหินพรุนจํานวน 2 แผน ไปตมในน้ําที่ผานการไลอากาศ เพื่อ
ใหหินพรุนอยูในสภาพอิ่มตัวดวยน้ํา
ฝาครอบ
2. ปรับอุปกรณใหแรง (Load Device) โดยเฉพาะสวนคานที่ถวงน้ํา
หนักใหอยูในสภาพสมดุล วัดระยะจากจุดหมุนของคานถวงน้ํา
หนักจนถึงตําแหนงที่ทําการถวงน้ําหนักตรงปลายคาน สมมุติ วงแหวนสําหรับ
รัด ปลอก
เปนระยะ X และระยะจากจุดหมุนถึงจุดที่น้ําหนักกดลงบนตัว กับ ฐาน

อยางสมมุติวาเปนระยะ Y ถาใหน้ําหนักที่ถวงมีคาเปน W แรง


กดบนตัวอยางดินจะมีคาเทากับ W ( X / Y )
3. ชั่งน้ําหนักหินพรุนอันบน และฝาครอบอุปกรณอื่น ๆ ที่วางทับบน ปลอก

ตัวอยางดิน เพื่อคํานวณแรงกดทั้งหมดบนตัวอยางดิน
4. ตัดแตงตัวอยางดินลงในวงแหวนตัวอยาง (Consolidation Ring)
โดยใชทํา Specimen Trimmer ชวย วัดขนาดตัวอยางและชั่งน้ํา หินพรุน

หนักทําตัวอยางดินที่เหลือจากการตัดแตงไปหาความชื้น วงแหวนบรรจุ
5. นําหินพรุนประกบเขากับตัวอยางดิน ตัวอยางดิน

6. ประกอบชิ้นสวนตางๆ ของชุด Consolidometer ใหเรียบรอย หินพรุน

คือ ประกอบสวนที่เปนปลอกทองเหลืองเขากับฐาน ใชวงแหวน รูเปด

รัดชิ้นสวนทั้งสองเขาดวยกัน วางฝาครอบบนหินพรุนอันบน แลว


ฐาน
นํา Consolidometer ที่ประกอบเสร็จไปติดตั้งบนอุปกรณใหแรง
7. ติดตั้ง Dial Gauge เพื่อวัดคาการทรุดตัวของตัวอยางดิน บันทึก
คาเริ่มแรกของ Dial Gauge ไว
8. ถาตองการทดสอบตัวอยางดินในสภาพไมอิ่มน้ํา ใหใชแผน ชุดอุปกรณใสตัวอยางดินทดสอบ (Consolidometer)
พลาสติก แผนยางหรือวัสดุทึบน้ํา หุมรอบหินพรุนและตัวอยาง
ดินไวหลวมๆ เพื่อปองกันการระเหยของน้ําจากตัวอยาง แตถา
Page 2/4
การทดสอบการอัดตัวคายน้ํา 2.6
Load 545 kPa → 1090 kPa
(Consolidation Test) 2.5 2
⎛ 1.6599 ⎞
อางอิง ASTM D 2435 - 96 d0 2
T90 H avg
0.848⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠ = 0.069 cm 2 / min

Dial reading (mm)


cv = =
2.4 t 90 (2.90 )2
ตองการทดสอบตัวอยางในสภาพอิ่มน้ํา ใหเติมน้ําลงใน Conso- 2.3 t90 = 2.9
lidometer ใหระดับน้ําทวมตัวอยางดินตลอดเวลา
2.2 d 90 = 2.183
9. หลังจากเติมน้ําใน Consolidometer ตัวอยางอาจเกิดการบวมตัว d100 = 2.137
2.1
ทําใหคา Dial Gauge เริ่มแรก อานในขั้นตอนที่ 7 มีคาเปลี่ยน x 0.15x
ไป ถาเปนเชนนี้ใหเพิ่มแรงกดบนตัวอยางทีละนอย เพื่อรักษาไม 2.0 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
ใหดินบวมอยางเดียวไมใชเพื่อใหเกิดการอัดตัวคายน้ํา SQR. Time (min) 1/ 2

10. บันทึกแรงกดบนตัวอยางไวเพื่อใชหาคา Swelling Pressure ตอ รูปที่ 1 ความสัมพันธระหวางคาที่อานไดจาก Dial Gauge


ไป จากนั้นทําการเพิ่มแรงกดบนตัวอยางเปนชวงๆ โดยปกติจะ กับคารากที่สองของเวลา ( t ) ของทุกขั้นน้ําหนัก
ใชคาแรงที่ 12, 25, 50, 100, 200, 400, 800, 1600 kPa โดย 2.5
tt0 t4t4
Load 545 kPa → 1090 kPa
ทั่วไปจะเพิ่มคาแรงกดครั้งตอไปอีกเปน 1 เทาตัว ของแรงกด d0
x 2
⎛ 1 .6599 ⎞
ในครั้งกอนหนา 2.4 x T50 H 2 0 .197 ⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠ = 0 .075 cm 2 / min
cv = =
avg

11. แรงกดบนตัวอยางในแตละชวงตองรักษาใหคงที่จนการทรุดตัว
Dial reading (mm)
t 50 1 .8
d50 = 2.303
ของตัวอยางที่เกิด Primary Consolidation จะสิ้นสุด โดยปกติ 2.3
t50 = 1.8
Primary Consolidation จะใชเวลาตั้งแต 2-8 ชั่วโมง แตในทาง
2.2
ปฏิบัติการรักษาแรงกดแตละชวงจะทําติดตอกัน 24 ชั่วโมง จึง
จะเพิ่มแรง สําหรับการอานคา Dial gauge จะอานที่เวลา 0.1, d100
2.1 d100 = 2.130

0.25, 0.50, 1, 2, 4, 8, 15, 30 นาที และ 1, 2, 4, 8 ชั่วโมง t100 = 15

12. หลังจากเพิ่มแรงกดบนตัวอยางดินจนถึงคาสูงสุดที่ตองการแลว 2.0


0.1 1 10 100 1000 10,000
ดินเกิดการอัดตัวคายน้ําสิ้นสุดลงแลว ใหเริ่มทําการลดแรงกด รูปที่ 2 ความสัมพันธระหวางคาที่อานไดจาก Dial Gauge
บนตัวอยางดินเปนชั้นๆ โดยเวน 1 ชั้น คือลดแรงเปนชั้นๆ ดังนี้ กับคาของ log time ของทุกขั้นน้ําหนัก
800, 200, 50, และ 0 kPa ตามลําดับ การลดแรงในแตละชวง 2.30
ดินจะเกิดการบวมตัว Swelling หรือเกิดการคืนตัว (Rebound) 2.10
1.90
การคืนตัวโดยทั่วไปจะสิ้นสุดภายใน 24 ชั่วโมง นับตั้งแตลดแรง
1.70
นอกจากในกรณีที่แรงกดนอยๆ การคืนตัวอาจกินเวลาถึง 48
Void Ratio, e

Cc
1.50
ชั่วโมงหรือมากกวา โดยการสิ้นสุดการคืนตัว เมื่อเข็ม Dial 1.30 Cs
1.10
Gauge ไมมีการเลื่อนหลายชั่วโมงติดตอกัน ทําการบันทึกคา 0.90
ของ Dial Gauge ในชวงที่ดินเกิดการคืนตัวนี้ในคาเริ่มแรกและ 0.70
คาสุดทาย (ที่เวลา 0 และ 24 ชั่วโมงตามลําดับ) 0.50
10.0 100.0 1000.0
13. หลังจากที่การคืนตัวของตัวอยาง สําหรับแรงกดชวงสุดทาย Pressure, σ v (kPa)
สิ้นสุดลงใหนํา Dial Gauge ออกและถอดชิ้นสวนของ Consoli-
รูปที่ 3 ความสัมพันธระหวางอัตราสวนชองวาง ( e ) กับ log σ v
dometer ออกจากกัน เสร็จแลวนําตัวอยางดินไปอบใหแหง เพื่อ 0.00
นําไปหาปริมาณความชื้นและน้ําหนักดินแหง 5.00
การคํานวณ 10.00
Vertical Strain, ε (%)

1. เขียนกราฟความสัมพันธระหวางคาที่อานไดจาก Dial Gauge 15.00


20.00
กับคารากที่สองของเวลา ( t ) ของทุกขั้นน้ําหนัก 25.00
CR

2. เขียนกราฟความสัมพันธระหวางคาที่อานไดจาก Dial Gauge 30.00


กับคาของ log time ของทุกขั้นน้ําหนัก 35.00
40.00
3. คํานวณอัตราสวนชองวาง (Void Ratio) ของแตละขั้นน้ําหนัก
45.00
Ws
- ความสูงของเนื้อดิน (Solid Height) H s = 50.00
10 100 1000
Gs γ w A Pressure, σσ vv ' (kPa)
รูปที่ 4 ความสัมพันธระหวาง Vertical Strain ( ε ) ตอ log σ v
Page 3/4
การทดสอบการอัดตัวคายน้ํา
(Consolidation Test)

(cm2/min)
0.09

อางอิง ASTM D 2435 - 96 0.08


0.07

cv
- ความสูงของชองวาง (Void Height) H v = H o − H s 0.06
0.05
- อัตราสวนชองวาง (Void Ratio) เริ่มทดสอบ 0.04
100 1000
H H − Hs 10
eo = v = o Pressure, σ vv (kPa)
'

Hs Hs
wG s รูปที่ 5 ความสัมพันธระหวางคาสัมประสิทธิ์การอัดตัว ( cv ) กับ log σ v
- ระดับการอิ่มตัวดวยน้ํา (Saturation) Sr =
e
- อัตราสวนชองวาง (Void Ratio) หลังจากเพิ่มน้ําหนัก
ei = eo − ∆e
∆H
∆e =
Hs 2.50

เมื่อ Ws = น้ําหนักตัวอยางดินแหง 2.30


B
G s = ความถวงจําเพาะของดิน 2.10

γ w = หนวยน้ําหนักของน้ํา 1.90 A α 2
Void Ratio, e
A = พื้นที่หนาตัดของตัวอยางดิน 1.70 α 2
H 0 = ความสูงของตัวอยางกอนทดสอบ 1.50

w = ความชื้นของตัวอยางดิน 1.30

4. หาคาสัมประสิทธิ์การอัดตัว (Coefficient of Consolidation, cv ) 1.10


σ vm
- เฉลี่ยคาความหนาของตัวอยางแตละขั้นน้ําหนัก 0.90
10.0 100.0 1000.0
Hi + H f Pressure, σv (kPa)
H av =
2 รูปที่ 6 หาคาความดันอัดตัวสูงสุดในอดีต (Maximum Past
เมื่อ H i = ความสูงของตัวอยางกอนกด
Pressure, σ vm )
H f = ความสูงของตัวอยางหลังกด
T ⋅ H av2 ขั้นตอนการหาคาความดันอัดตัวสูงสุดในอดีต ( σ vm )
- Coefficient of Consolidation cv =
t ดวยกราฟมีดังตอไปนี้
เมื่อ T = Time Factor (อานไดจากตารางที่ 1) 1. เลือกจุดที่มีรัศมีนอยที่สุดบนเสน Consolidation Curve (จุด A)
= ระยะเวลาที่ใชในการเกิดการอัดตัวคายน้ํา
t 2. ลากเสนแนวนอนจากจุด A
5. คํานวณหาหนวยแรงกดทับตัวอยางแตละขั้นน้ําหนัก 3. ลากเสนสัมผัสโคงที่จุด A
P 4. แบงครึ่งมุมที่ไดจากการตัดกันของทั้งสองเสน ( α /2)
σv = 5. ลากเสนตรงจากสวนของกราฟที่เปนเสนตรงมาตัดกับเสนตรงที่
A
แบงครึ่งมุมที่จุด B
เมื่อ P = แรงกดทับบนตัวอยาง
6. จากนั้นลากเสนตรงที่จุด B ลงมาตามแนวดิ่งจะไดคาความดันอัดตัว
A = พื้นที่หนาตัดของตัวอยาง
สูงสุดในอดีต (Maximum Past Pressure, σ vm )
6. เขียนกราฟความสัมพันธระหวางอัตราสวนชองวาง ( e ) กับ
log σ v และหาคาดัชนีอัดตัว (Compression Index, C c )
− ∆e
Cc =
∆(log σ v )
7. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวาง Vertical Strain ( ε ) กับ
log σ v และหาคาอัตราสวนอัดตัว (Compression Ratio, CR )
− ∆ε
CR =
∆(log σ v )
Page 4/4
การทดสอบการอัดตัวคายน้ํา
(Consolidation Test) ตารางที่ 1 Time Factor, T
อางอิง ASTM D 2435 - 96 เปอรเซ็นตของการ Time Factor
อัดตัวคายน้ํา, U% CASE I CASE II CASE III
วิธีการหาคาสัมประสิทธของการอัดตัวคายน้ํามี 2 วิธีคือ 0 0.0000 0.0000 0.0000
1. Square Root Time Method (วิธีของ Taylor) 10 0.0078 0.0111 0.0427
0.848(H av / 2 ) 20 0.0314 0.0405 0.0904
2
cv = กรณีระบายน้ําสองทิศทาง 30 0.0707 0.0847 0.1450
t 90
2
40 0.1260 0.1430 0.2070
0.848 H av 50 0.1970 0.2150 0.2810
cv = กรณีระบายน้ําหนึ่งทิศทาง
t 90 60 0.2860 0.3050 0.3710
เมื่อ t 90 = ระยะเวลาที่ใชในการเกิดการอัดตัวคายน้ําที่เปน 70 0.4030 0.4220 0.4880
ปริมาณ 90% ของทั้งหมด 80 0.5670 0.5860 0.6520
การหาคา t 90 หาไดจากความสัมพันธระหวางคาที่อานไดจาก 90 0.8480 0.8670 0.9330
100 ∞ ∞ ∞
Dial Gauge , d และคารากที่สองของเวลา, t บนสเกลธรรมดา
ซึ่งไดกราฟโคงดังรูปที่ 1 มีขั้นตอนการหาดังนี้
- ตอสวนที่เปนเสนตรงในชวงแรกของโคงใหตัดกับแกนตั้ง ซึ่ง Case I Case II Case III
Initial Pore Pressure Initial Pore Pressure Initial Pore Pressure
เปนแกนของคา d ณ. พิกัดที่ตัดกันเปนคา d 0 และ t 0 Constant Half Sine Curve Sine Curve
- จากจุดตัดที่ไดในคาบน ใหลากเสนตรงอีกเสนที่มีคาพิกัดเปน
ui ui ui
1.15 ของเสนตรงเดิมหางจากแกนตั้ง จุดที่เสนตัดกับกราฟ
โคงใหเปนพิกัดของ d 90 และ t 90 ซึ่งเมื่อนําคาไปใชจะ
ตองทําการยกกําลังสอง จะไดคา t 90 รูปที่ 7 แสดง Case สําหรับหาคา Time Factor, T
2. Log-Time Method (วิธีของ Cassagrande)
0.197(H av / 2 )
2
cv = กรณีระบายน้ําสองทิศทาง
t 50 8. เขียนกราฟความสัมพันธระหวางคาสัมประสิทธิ์การอัดตัว
0.197 H av
2 ( cv ) กับ log σ v
cv = กรณีระบายน้ําหนึ่งทิศทาง
t 50 9. หาคาความดันอัดตัวสูงสุดในอดีต (Maximum Past Pressure,
เมื่อ t 50 = ระยะเวลาที่ใชในการเกิดการอัดตัวคายน้ําเปน σ vm ) ดวยวิธีกราฟฟก (Casagrande Method)
ปริมาณ 50% ของทั้งหมด ดังแสดงในรูปที่ 6
การหาคา t 50 กําหนดให d 0 และ d100 เปนคาที่อานไดบน
Dial Gauge เมื่อการอัดตัวคายน้ําที่เริ่มตนเปน 0% (เวลาที่ใช ความผิดพลาดทั่วไปที่อาจพบ
ในการอัดตัวคายน้ํา 0%, t 0 ) และ 100% สําหรับสิ้นสุดการ 1. ตัวอยางดินที่ถูกกระทบกระเทือนมากเกินไป
อัดตัวคายน้ํา (เวลาที่ใชในการอัดตัวคายน้ํา 100%, t100 ) 2. การปรับแตงเครื่องมือและอุปกรณตางๆ ไมถูกตอง
(d 0 + d100 ) 3. อานคา Dial Gauge ผิดพลาดไป
คาของ d 50 = เมื่อได d 50 ก็จะทราบคา t 50
2
ในรูปที่ 2 หาคา t100 กับ d100 หาไดจากการตอเสน
ตรงของโคงความสัมพันธ d − t สวนปลายทั่งสองใหตัดกัน
และ คา d 0 หาไดจากการเลือกคาเวลา t และคา 4t จาก
กราฟแลวอานคา d สมมุติเปน d t และ d 4t จะไดคา
x = (d 4t − d t )
ดังนั้น d 0 = d t + x ควรหาคาเฉลี่ยหลายๆ จุด

You might also like