You are on page 1of 4

Anterior cruciate ligament (ACL) injury 3.

ความไม่พร้อมของตัวนักกีฬาหรื ออุปกรณ์ เช่น ใส่ รองเท้าไม่ C = compression คือการประคบด้วยความเย็นเพื่อลด


(การบาดเจ็บของเอ็นไขว้หน้ าข้ อเข่ า) ถูกกับพื้นสนาม, ขาดความระมัดระวังในด้านการเคลื่อนไหว ปวด ลดบวม
E = elevation คือการทาให้ส่วนที่บาดเจ็บยกสู งในที่น้ ีก็
4. ความไม่พร้อมของสถานที่ เช่น สนามมีหลุมมากทาให้ตก คือยกขาสู งเพื่อที่จะช่วยลดการบวม จากนั้นหากเดินลงน้ าหนัก
หลุมและเข่าบิด เป็ นผลให้เกิดการบาดเจ็บตามมา ไม่ได้ให้ใช้ไม้ค้ ายันช่วยเดิน
การบาดเจ็บ ระดับ 2 การรักษานอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว
อาการแสดง ข้างต้นหากข้อเข่าบวมมากในช่วงแรกอาจต้อง พัน compressive
อาการในระยะแรกได้แก่ การมีขอ้ เข่าบวม เนื่องจากมีเลือดออก dressing ไว้ในช่วงแรกเพื่อ immobilization จากนั้นเมื่อยุบบวมก็
ภายในข้อเข่า อาจมีอาการเกร็ งของกล้ามเนื้อ ต่อมาผูป้ ่ วยจะรู ้สึก มาประเมินการบาดเจ็บซ้ าอีกครั้งหรื อจะต้องส่ งตรวจ
ว่าข้อเข่าหลวม ไม่มนั่ คง มีอาการเข่าพลิกหรื อข้อเข่าเคลื่อนออก (investigation) เพิ่มเติมเพื่อประกอบการรักษา หากเป็ นแค่การ
จากกัน โดยเฉพาะเวลาบิดขา หรื อเดินผิดท่าทาง ส่ วนใหญ่จะไม่ บาดเจ็บของ เอ็นด้านข้างของข้อเข่า (MCL หรื อ LCL) ก็ใช้เป็ น
สามารถวิ่งซิ กแซ็กได้ หรื อวิ่งแล้วจะหยุดทันทีทนั ใดไม่ได้ อุปกรณ์ที่พยุงข้อเข่า ( knee brace หรื อ knee support หรื อ
เนื่องจากข้อเข่าจะเคลื่อน บางทีอาจจะเข่าหลุดเลยก็มี ในรายที่มี strapping) ก็ได้
การฉีกขาดของหมอนรองกระดูกข้อเข่า ซึ่ งพบร่ วมกันได้ คนที่ การ บาดเจ็บระดับ 3 โดยมากการรักษายังคงเป็ นการทาผ่าตัดเพื่อ
เอ็นขาดแล้วยังเล่นกีฬาต่อไป จะมีอาการเจ็บตามแนวข้อต่อหรื อมี
เอ็นไขว้หน้า (Anterior cruciate ligament - ACL) เป็ นเอ็นยึด เข้าไปซ่อมโดยตรงยกเว้นเอ็นไขว้ หน้า และ ไขว้หลังซึ่ งผลของ
อาการข้อเข่าติดร่ วมด้วย บางทีเข่าล็อก
ข้อเข่าที่สาคัญภายในเข่า ช่วยให้มีความมัน่ คงของเข่า ในการบิด การผ่าตัดทาการเย็บซ่อมทราบแล้วว่าได้ผลไม่ดีไปกว่าการผ่า ตัด
หรื อหมุนข้อเข่า( Rotational stability ) คนที่ไม่มีเอ็นไขว้หน้า สร้างเอ็นขึ้นมาใหม่ ส่ วนเอ็นประกับเข่าด้านในหากบาดเจ็บระดับ
ความรุนแรงของการฉีกขาดของเอ็น แบ่ งได้ เป็ น 3 ระดับ
เมื่อบิดข้อเข่าจะรู ้สึกเข่าอ่อนจะล้ม เกิดอาการปวดเข่า และอาจจะ นี้สามารถรักษาโดยไม่ผา่ ตัดได้ การรักษาจะใส่ เฝื อกไว้จากนั้น
ระดับที่ 1 มีการฉีกขาดภายในเนื้อเยือ่ ของเอ็น แต่เอ็นยังไม่ยดึ หรื อ
มีการฉีกขาดของหมอนรองกระดูกข้อเข่า หรื อกระดูกอ่อนผิวข้อ เปลี่ยนเป็ น knee brace ที่ปรับองศาได้แต่หากบาดเจ็บร่ วมกับเอ็น
ขาดให้เห็นชัดเจน
ร่ วมด้วย ถ้าเข่าเสี ยความมัน่ คงเกิดอาการบิดเช่นนี้บ่อย ๆ จะทาให้ เส้นอื่นในกรณี ที่เป็ น knee dislocation และมี multiple ligaments
ระดับที่ 2 เอ็นฉีกขาดบางส่ วน
การบาดเจ็บของหมอนรองข้อและผิวข้อมากขึ้น กลายเป็ นภาวะ injuries แนะนาทาการผ่าตัดซ่อม หากพบร่ วมกับ ACL ควรรักษา
ระดับที่ 3 เอ็นฉีกขาดแยกออกจากกันทั้งหมด
ข้อเข่าเสื่ อมตั้งแต่อายุยงั น้อย แรงบิดหมุนที่รุนแรงทาให้เอ็นไขว้ MCL ให้ดีก่อนโดยการ conservative จากนั้นจึงค่อยพิจารณาทา
หน้าขาดได้ การรักษา การผ่าตัด (ACL reconstruction) โดยวิธีการนี้จะลดปั ญหา ข้อเข่า
สาเหตุของอาการบาดเจ็บ ติดภายหลังการผ่าตัดได้มาก
การบาดเจ็บระดับ 1 แนะนาว่าให้ควรรี บพบแพทย์โดยเร็ วที่สุด
1. อุบตั ิเหตุจากการเล่นกีฬา โดยที่พบบ่อยที่สุด คือกีฬาฟุตบอล การรักษาเบื้องต้นทาได้โดยใช้หลักการ “ RICE” การรักษาหลังผ่ าตัด
กล่าว คือ R = rest คือการหยุดพักและงดจากการเล่น ผูป้ ่ วยจะได้รับการพันเข่าด้วยสาลีหนา ๆ แล้วรัดด้วยผ่ายืดให้
2. อุบตั ิเหตุอื่นๆ เช่น ลื่นล้ม, อุบตั ิเหตุจราจร I = ice คือ การใช้ความเย็นโดยใช้น้ าแข็ง แน่นเพื่อไม่ให้บวมประมาณ 3 – 4 วันหลังจากนั้น ให้ผปู ้ ่ วยเริ่ ม
บริ หารกล้ามเนื้อหัวเข่าได้ อย่างไรก็ตามการผ่าตัดสร้างเอ็นไขว้ การรักษาเพิ่มเติม Anterior cruciate ligament (ACL) injury
หน้าข้อเข่า เป็ นการแก้ ปั ญหาข้อเข่าหลวมได้ดี อย่างไรก็ตามต้อง
ใช้เวลาประมาณ 8 เดือน กว่าเส้นเอ็นใหม่จะแข็งแรงพอที่เราจะ ใน ทุกระดับของการบาดเจ็บควรจะต้องให้ยา ลดปวด (การบาดเจ็บของเอ็นไขว้ หน้ าข้ อเข่ า)
สามารถกลับมาวิง่ หรื อเล่นกีฬาได้ และเราไม่สามารถที่จะทาให้ พวก Analgesics เช่น paracetamal ยากลุ่ม NSAIDS เพื่อลดการ
เส้นเอ็นใหม่น้ ีแข็งแรงเท่าเส้นเอ็นดั้งเดิมได้ส่วนใหญ่แล้ว มักจะ อักเสบของเนื้อเยือ่ (tissue inflammation) การกายภาพบาบัดอัน
ผ่าตัดในคนอายุนอ้ ยอยู่ และต้องการกลับไปเล่นกีฬาอีก ได้แก่ การประคบด้วยความร้อน การเพิม่ พิสัยการเคลื่อนไหว การ
ครั้ง อย่างไรก็ตาม เมื่อได้ผา่ ตัดแล้ว ต้องขยันทากายภาพบาบัดเพื่อ ฝึ กความแข็งแรงของกล้ามเนื้อรอบๆเข่า การบริ หารกล้ามเนื้อเมื่อ
ฟื้ นฟูกล้ามเนื้อกลับมาให้ได้ปกติ ผลการรักษาจะมีประสิ ทธิภาพดี อยูใ่ นเฝื อก
ที่สุด
เวลาที่เหมาะสมในการกลับไปเล่นกีฬาใหม่
การผ่ าตัดโดยวิธีส่องกล้อง (Arthroscopic surgery)
ควร ที่จะต้องรอให้เอ็นที่รักษาหายสนิทดีเสี ยก่อนโดยดูได้จาก
ผูป้ ่ วยส่ วนใหญ่มกั ได้รับการฉีดยาเข้าในเยือ่ หุม้ ไขสันหลัง การงอ การเหยียดข้อจะต้องไม่ติดขัด ข้อจะต้องมีความมัน่ คง
เพื่อให้ส่วนล่างของร่ างกายชา ผูป้ ่ วยสามารถรับการผ่าตัดรักษาได้ แข็งแรงที่พอเพียง สามารถวิ่งได้ กระโดดโดยไม่เจ็บเมื่อใช้ขอ้ ข้าง
โดยไม่รู้สึกเจ็บ ใช้แผ่นรัดห้ามเลือดบริ เวณ ต้นขา เพื่อที่ไม่ให้ นั้น สามารถวิ่งซิ กแซกเป็ นรู ปเลข 8 ได้ และควบคุมการหยุดได้ดี
เลือดออกมากระหว่างการผ่าตัดรักษา เจาะรู บริ เวณด้านหน้าเข่า ในขณะวิ่ง นอกจากนี้ขนาดกล้ามเนื้อรอบเข่าต้องได้ใกล้เคียงเข่า
ชิดกับเอ็นลูกสะบ้า ใส่ ท่อโลหะขนาด ข้างปกติ โดย ทัว่ ไปมักจะใช้เวลา 3-4 เดือนในการบาดเจ็บระดับ
เส้นผ่าศูนย์กลาง 4.5 มิลลิลิตร ซึ่ งมีเลนส์และท่อนาแสงส่ องเข้า 2 ส่ วนระดับ 3 อาจใช้เวลายาวนานกว่าขึ้นอยูก่ บั ความรุ นแรง
ไปในข้อเข่าสามารถเห็นส่ วนต่าง ๆ ภายในข้อเข่า โดยต่อภาพเข้า วิธีการรักษา ชนิดของวัสดุที่ใช้ผา่ แทนเอ็น โดยทฤษฎีแล้วเอ็น
กับจอทีวีได้ ซึ่ งจะเห็นส่ วนต่าง ๆ ภายในข้อเข่า เช่น ผิวข้อซึ่ งเป็ น ไขว้หน้าหลังจากผ่าตัดจะมีสภาพแข็งแรงพอที่จะออกกาลังกาย
เบาได้ที่ 6 เดือนหายสมบูรณ์ที่ 9 เดือนเมื่อใช้เอ็นลูกสะบ้ามาใช้
จัดทาโดย
กระดูกอ่อน, เอ็นไขว้หน้า, เอ็นไขว้หลัง, หมอนรองข้อเข่า, เยือ่ บุ
ทดแทน นางสาววรรษพร สุขสม
ข้อ เมื่อพบพยาธิสภาพหรื อการผิดปกติก็สามารถผ่าตัดแก้ไข
นักกายภาพบาบัด
ได้ เช่น การทาผิวข้อให้เรี ยบ การเอาส่ วนของหมอนรองข้อเข่า
ออกรวมทั้งการผ่าตัดสร้างเอ็นไขว้หน้า, เอ็นไขว้หลังข้อเข่า ภาพ
ศูนย์ฟ้ื นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภาคใต้
ที่เห็นในจอทีวีจะเป็ นภาพขยายจากของจริ ง
ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิ ดิกส์และกายภาพบาบัด
ประมาณ 5 ถึง 10 เท่า สามารถจะอัดเป็ นภาพวีดีโอ เพื่อมาดู
ภายหลังการผ่าตัดได้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
ที่มา: www.nkp-hospital.go.th/institute/7-1/doc/ACL1.doc
https://medlineplus.gov/ency/article/001074.htm
www.samitivejhospitals.com/th/ปัญหาข้ อเข่ า
Physiotherapy program in the หลังจากนั้นเมื่อปวดเข่าลดลงให้นอนหงายและค่อยๆงอเข่าใน ระยะที่ 2 (สัปดาห์ ท3ี่ -4)
ลักษณะที่สน้ เท้าสัมผัสกับพื้นหลังจากนั้นเกร็ งขึ้นค้างไว้ ปรับสนับเข่ามาที่ 90องศา เดินลงน้ าหนักได้บางส่วน บริ หาร
patients with anterior cruciate ligament ประมาณ 10 วินาทีปล่อยขาลง ให้ทาบ่อยๆเท่าที่จะทาได้ เข่าเหมือนระยะที1่ แต่เพิ่มจานวนรอบให้มากขึ้น หลังสัปดาห์ที่
(ACL) reconstruction 4 ฝึ กขี่จกั รยานอยูก่ บั ที่ บริ หารกล้ามเนื้อโดยการยืนหลังชิด
การออกกาลังกายข้อเท้า (กระดกข้อเท้าขึ้น-ลง) กาแพงย่อตัวขึ้นลงให้เข่าเคลื่อนที่ 0-45 องศา ปลายสัปดาห์ที่ 4
(โปรแกรมกายภาพบาบัดสาหรับผู้ป่วยหลังผ่ าตัดซ่ อมเอ็นไขว้ หน้ าข้ อเข่ า) เดินลงน้ าหนักได้เต็มที่โดยไม่ตอ้ งใช้ไม้ค้ ายันแต่ตอ้ งเดินในท่า
เข่าเหยียดตรง

ท่า double leg squat

การออกกาลังกายข้อเข่า (งอ-เหยียดเข่า)
Anterior cruciate ligament (ACL) reconstruction คือการ
ผ่าตัดซ่อมเอ็นไขว้หน้าข้อเข่า ซึ่งวิธีที่นิยมในปั จจุบนั คือการ
ผ่าตัดส่องกล้อง (Arthroscopic surgery)

โปรแกรมกายภาพบาบัด (Physiotherapy Program After ACL ระยะที่ 3 (สัปดาห์ ท5ี่ -6)


Reconstruction) ผูป้ ่ วยที่ใส่สนับเข่าควรจะสามารถเหยียดเข่าได้สุด และงอเข่า
ได้เต็มที่แพทย์อาจให้หยุดใช้สนับเข่าได้
ระยะที1่ (สัปดาห์ ท1ี่ -2)
ปรับสนับเข่าให้งอได้ 0-60องศา เดินลงน้ าหนักบางส่วนด้วยไม้
ค้ ายันในท่าเหยียดเข่าตรง สัปดาห์ที่ 2ควรจะสามารถนอนหงาย
เหยียดเข่าสุดแล้วกระดกข้อเท้าเข้าหาตัวได้ ซึ่งจะทาให้สามารถ
เหยียดเข่าได้สุด บริ หารโดยการกระดกข้อเท้าขึ้นลง วันแรกๆ
ระยะที4่ (สัปดาห์ ท7ี่ -12) ระยะที5่ (เดือนที4่ -6) Physiotherapy program in the
ฝึ กบริ หารมากขึ้นโดยปั่ นจักรยานอยูก่ บั ที่ปรับระยะ ฝื นให้มาก ผูป้ ่ วยควรงอเหยียดเข่าได้สุดและปราศจากความเจ็บปวด
ขึ้น ยืนเขย่งปลายเท้า ยืนลงน้ าหนักเหยียดเข่าสุดแล้วกระดกข้อ บริ หารโดยการเดินและวิง่ เยาะๆ เริ่ มวิง่ ไปด้านหน้าและถอย patients with anterior cruciate ligament
เท้าขึ้น ฝึ กขึ้นลงบันได ยืนลงน้ าหนักข้างที่ผา่ ย่อตัวลง ว่ายน้ าท่า หลัง ค่อยๆเพิ่มความเร็ วตามลาดับ (ACL) reconstruction
กบ วิง่ ในน้ าได้
วิง่ ไปข้างหน้า และวิง่ ถอยหลัง (โปรแกรมกายภาพบาบัดสาหรับผู้ป่วยหลังผ่ าตัดซ่ อมเอ็นไขว้ หน้ าข้ อเข่ า)
ท่ายืนกระดกข้อเท้าขึ้น-ลง

ระยะที6่ (เดือนที6่ เป็ นต้ นไป)


สามารถเล่นกีฬาตามปกติได้ประมาณเดือนที่ 6 โดยกล้ามเนื้อ
ท่า Single leg squat ต้นขาควรได้ประมาณ 80-90 % ของข้างปกติ

จัดทาโดย
นางสาววรรษพร สุขสม
ที่มา: https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/laparoscopic-surgery-
ออกกาลังกายโดยการวิง่ ในน้ า knee#sthash.hzq41kqT.dpuf นักกายภาพบาบัด
http://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=anotherside&month=05-
2011&date=31&group=32&gblog=158
http://www.webmd.com/fitness-exercise/heel-slides ศูนย์ฟ้ื นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภาคใต้
http://hed.go.th/news/4416
http://th.yanhee.net/mobile/ARTICLE_VIEW/th/145 ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิ ดิกส์และกายภาพบาบัด
http://c1healthcentre.co.uk/tag/single-leg-squats/
https://www.flrunning.com/blog/cross-training-in-the-water-with-aqua-jogging-14143
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
http://www.girlsallaround.com/make-running-easier/
http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=3989

You might also like