You are on page 1of 35

การพยาบาลผู้ป่วย

ON SKIN TRACTION

ชนัณชิดา ช่ วยชู ตระกูล


พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลลำพูน
TRACTION
การใช้ แรงในทิศทางตรงกันข้ าม
ดึงกระดูกทีห่ ักให้ อยู่นิ่ง เป็ นการ
รักษาโดยไม่ ต้องผ่ าตัด ในกรณีทผี่ ู้
ป่ วยมีข้อบ่ งชี้
วัตถุประสงค์ ในการ TRACRTION
Immobilization
Reduction
Relieve Pain
Prevent and Correct Deformity
ข้ อบ่ งชี้ในการดึง
TRACTION
Unstable Fracture
Dislocation
ผู้ป่วยมีข้อบ่ งชี้ท่างร่ างกายทีท
่ ำให้ ไม่
สามารถผ่ าตัดได้
หลักการดึง TRACTION
Counter Traction

ดึงในทิศทางตรงกันข้ าม
ยกปลายเตียงหรือหัวเตียง 1 นิว้
ต่ อ
น้ำหนัก 1 ปอนด์ (2.2 ปอนด์ =1กิโลกรัม)
Non Friction

ไม่ มแี รงเสี ยดทาน


แนวแรงดึงต้ องไม่ แตะหรือพิงขอบเตียง น้ำหนักลอยอิสระ
Contineous Traction

ดึงอย่ างต่ อเนื่อง


Line of Pull

แนวการดึงต้ องผ่ านกระดูกที่


หัก เชือกตึง
Position (Correct body alignment)

แนวลำตัวอยู่กลางเตียง ลำตัวไม่ บิด


เบีย้ ว พิงหรือติดข้ างเตียง
ชนิดของ TRACTION
Skin Traction
Skeletal Traction
SKIN TRACTION
เป็ นการดึงทีผ
่ วิ หนังโดยใช้ แถบพลาส-
เตอร์ เหนียว (Adhesive tape) น้ำหนัก
ดึงถ่ วง 2-5 กิโลกรัม
SIMPLE SKIN TRACTION OF THE
FOREARM
DOUBLE SKIN TRACTION
DUNLOP’S TRACTION
BUCK’S EXTENTION TRACTION
RUSSELL’S TRACTION
BRYANT’S TRACTION
ข้ อบ่ งชี้ในการดึง SKIN
TRACTION
กระดูกทีห
่ ักเป็ นกระดูกระยางค์ ขนาด
เล็กไม่ ต้องใช้ แรงดึงมาก
Immobilize ให้ อวัยวะส่ วนทีบ ่ าดเจ็บ
ได้ พกั อยู่นิ่ง ๆ เพือ่ ลดอาการปวดหรือ
ก่ อนผ่ าตัด
ข้ อดี-ข้ อเสี ย
ข้ อดี

หลีกเลีย่ งการใส่ แท่ งโลหะเข้ าไปใน


กระดูกซึ่งอาจเกิดการติดเชื้อได้
ข้ อเสี ย

ทำให้ เกิดเกิดการระคาเคืองทีผ ่ วิ หนัง


เกิดแผลถลอกและผืน่ คันได้
ข้ อห้ ามในการทำ SKIN
TRACTION
Abrasion wound
Lacerated wound
Impairment of blood circulation
กระดูกหักแบบเกยกันมาก ๆ
Dermatitis
Compartment Syndrome
ข้ อควรระวัง
ไม่ ตด
ิ แถบพลาสเตอร์ ผ่านปุ่ มกระดูกนูน
ไม่ ตด
ิ แถบพลาสเตอร์ รอบแขน ขา
ไม่ ควรพัน Elastic bandage รั ดแน่ น ควรพันตั้งแต่
ปลายเท้ าขึน้ มาถึงส่ วนบนสุ ดของแถบพลาสเตอร์
ไม่ ควรพันทับส่ วนต้ นของกระดูก fibula ให้ พน
ั ต่ำ
กว่ า head of fibula 5 เซ็นติเมตร
วิธีการผูกเงือ่ นในการดึงถ่ วงน้ำหนักแบบ SLIP KNOT
ผูกเงือ่ นแล้วพันปลายเชือกด้ วยเทปเหนียว
การพยาบาลก่ อน ON SKIN
TRACTION
ด้ านจิตใจ
ด้ านร่ างกาย
เตรียมอุปกรณ์
เตรี ยมผิวหนัง
ภาวะแทรกซ้ อน
Pressure sore
Compartment Syndrome
กดประสาท Peroneal
Delayuion or Nonuion
เกิดแผลบริ เวณผิวหนังจากแพ้ เทปเหนียว
ภาวะแทรกซ้ อนจากการถูกจำกัดการ
เคลือ่ นไหว
TRACTION
1. Patient position
2. Back care
3. Exercise
4. Prevent pressure sore
5. Nutrition : high protien - vitamin C -high calcium - fiber
6. Hydration
7. Complications
8. Alignment of traction
อุปกรณ์ ดามและดึงถ่ วงกระดูกรยางค์ ล่างหักแบบใหม่
ผลงานของคุณมานี หาทรัพย์ และคณะ
จากร.พ.สงขลานครินทร์
ส่ วนประกอบของอุปกรณ์ ดามและดึงถ่ วงกระดูก
ขอบคุณค่ ะ

You might also like