You are on page 1of 33

หน่ วยที่ 5

เรื่ อง ระบบไฟแสงสว่างรถยนต์

สาระสาคัญ

ในการขับขี่รถยนต์เวลากลางคืน หรื อในทัศนะวิสัยที่ไม่สามารถมองเห็นสภาพถนนได้อย่าง


ชัดเจน จาเป็ นต้องมีระบบไฟแสงสว่างเพื่อให้ผขู้ บั ขี่สามารถมองเห็นสภาพถนน รถคันอื่น รวมทั้ง
ผูค้ นที่สัญจรไปมาบนท้องถนนและในขณะเดียวกันก็ทาให้ผทู ้ ี่ใช้รถใช้ถนนร่ วมกันสามารถมองเห็น
รถยนต์ที่เราขับขี่เช่นกัน การมีระบบไฟแสงสว่างที่สมบูรณ์จะช่วยให้การขับขี่รถยนต์เป็ นไปได้
อย่างสะดวกและช่วยลดอุบตั ิเหตุอนั อาจเกิดจากการใช้รถใช้ถนนได้อีกทาง

สาระการเรี ยนรู้

1. ระบบไฟแสงสว่างภายนอกรถยนต์
2. ระบบไฟแสงสว่างภายในรถยนต์
3. การตรวจสอบวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์
4. การวิเคราะห์สาเหตุขอ้ ขัดข้อง

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้

1. นักเรี ยนสามารถบอกชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์ในระบบไฟแสงสว่างรถยนต์ได้
2. นักเรี ยนสามารถตรวจสอบหาขั้วและต่อใช้งานอุปกรณ์ในระบบไฟแสงสว่างรถยนต์ได้
3. นักเรี ยนสามารถเขียนวงจรระบบไฟแสงสว่างรถยนต์และอธิ บายการทางานของวงจรได้
4. นักเรี ยนสามารถต่อวงจรในระบบไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์ได้
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยที่ 5 เรื่ อง ระบบไฟแสงสว่างรถยนต์

คาสัง่ : ให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่ องหมาย (X) ลงใน


กระดาษคาตอบ

1. ระบบไฟฟ้ าที่ทาหน้าที่บอกขนาดความกว้าง ความยาวของรถยนต์ คือข้อใด


ก. ไฟตัดหมอก ข. ไฟหรี่
ค. ไฟฉุกเฉิน ง. ไฟเบรก
2. ข้อใดไม่ใช่หลอดไฟหน้ารถยนต์
ก. หลอด LED ข. หลอด Incandescent Bulb
ค. หลอด Halogen Bulb ง. หลอด HID
3. สวิตช์ไฟห้องเก๋ งอยูใ่ นตาแหน่งใด ไฟจึงจะสว่างเฉพาะเวลาเปิ ดประตู
ก. ON ข. OFF
ค. DOOR ง. AUTO
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นชื่อขั้วของสวิตช์ไฟหน้ารถทั้งหมด
ก. HU, HL, HB ข. B, L, T, H, E
ค. HF, HU, HL ง. B, P, X
5. ขั้วใดเป็ นขั้วที่ใช้ต่อเพื่อให้ไฟขอทางทางานได้ในขณะที่ไม่เปิ ดสวิตช์ไฟหน้า
ก. HF ข. HU
ค. HL ง. HL

6. จากรู ปสัญลักษณ์ หมายถึงอุปกรณ์ในข้อใด


ก. ขดลวดเหนี่ยวนา ข. หลอดไฟเบรก
ค. หลอดไฟหน้ารถยนต์ ง. หลอดสปอร์ตไลท์
7. การต่อวงจรไฟหน้ารถยนต์ในปั จจุบนั ให้ไฟลงกราวด์ครบวงจรที่ใด
ก. ขั้ว E ของหลอด ข. ขั้ว ED ของสวิตช์
ค. ขั้ว E ของรี เลย์ ง. ขั้ว HU ของสวิตช์
8. ขั้วใดของสวิตช์ไฟหน้ารถยนต์ที่ต่อเข้ากับขดลวดรี เลย์ของไฟหรี่
ก. ขั้ว T ข. ขั้ว E
ค. ขั้ว H ง. ขั้ว L
9. ไฟส่ องป้ ายทะเบียนใช้ไฟจากขั้วใดของสวิตช์ ไฟน้ารถยนต์
ก. ขั้ว T ข. ขั้ว E
ค. ขั้ว H ง. ขั้ว L
10. ไฟต่าไม่ออก 1 ข้างข้อใดมีโอกาสที่จะเป็ นสาเหตุได้มากที่สุด
ก. รี เลย์ ข. สวิตช์ไฟ
ค. ฟิ วส์ ง. ไส้หลอดขาด
หน่ วยที่ 5
ระบบไฟแสงสว่างรถยนต์

ระบบไฟแสงสว่างของรถยนต์เป็ นระบบที่ทาให้ผขู ้ บั ขี่มองเห็นในเวลากลางคืนหรื อใน


สถานที่ที่แสงสว่างไม่เพียงพอ ระบบไฟแสงสว่างของรถยนต์มีท้ งั แสงสว่างภายนอกตัวรถและแสง
สว่างภายในตัวรถ ระบบไฟแสงสว่างนอกจากจะทาหน้าที่ให้แสงสว่างแล้วบางครั้งยังใช้เป็ นไฟ
สัญญาณด้วย เช่นไฟสู งใช้กระพริ บเพื่อของใช้ทาง เป็ นต้น

1. ระบบไฟแสงสว่างภายนอกรถยนต์ (Exterior Light)


ระบบไฟแสงสว่างภายนอกรถยนต์ ทาหน้าที่ ให้แสงสว่างภายนอกตัวรถยนต์ เพื่อประโยชน์
ในการส่ องสว่างพื้นถนนและบอกขนาดความกว้าง – ยาวของตัวรถ

รู ปที่ 5.1 แสดงไฟแสงสว่างหน้ารถยนต์

1.1 ไฟหน้ารถยนต์ (Headlight)


ไฟหน้ารถยนต์ เป็ นไฟที่ให้แสงสว่างขณะขับขี่ในเวลากลางคืน หรื อในเวลาที่ทศั นะวิสัยใน
การมองเห็นไม่ชดั เจน ไฟหน้ารถยนต์มีสองอย่าง ได้แก่
1.1.1 ไฟสู ง (High Beam ) ตาม พรบ. จราจรทางบก 2522 ใช้คาว่า ไฟแสงพุง่ ไกล ทาหน้าที่
ช่ วยให้ผขู้ บั ขี่สามารถมองเห็นทางในระยะไกล ใช้ในขณะที่ไม่มีรถคันอื่นใช้ทางร่ วม นอกจาก
ให้แสงสว่างแล้ว ไฟสู งยังทาหน้าที่เป็ นไฟสัญญาณด้วย เช่ น ใช้ส่งสัญญาณเพื่อขอใช้ทางเป็ นต้น
1.1.2 ไฟต่า (Low Beamb) ตาม พรบ. จราจรทางบก 2522 ใช้คาว่า ไฟแสงพุง่ ต่า ทาหน้าที่ ให้
แสงสว่างในสภาวะปกติที่มีการใช้เส้นทางร่ วมกัน
1.2 ไฟหรี่ ไฟท้าย ไฟส่ องป้ ายทะเบียนรถยนต์
เป็ นไฟดวงเล็กติดที่มุมของตัวรถทั้งด้านหน้า ด้านหลังและที่ป้ายทะเบียนรถด้านหลัง ไฟ
ทั้งหมดจะสว่างพร้อมกันเมื่อเปิ ดสวิตช์ไฟแสงสว่างไปตาแหน่งเปิ ดไฟหรี่
1.2.1 ไฟหรี่ (Front Clear Light) ตาม พรบ. จราจรทางบก 2522 ใช้คาว่า “โคมไฟเล็ก” เป็ นไฟ
แสงสี ขาว ใช้สาหรับบอกความกว้างของรถยนต์ ประกอบด้วย โคมไฟสี ขาว 2 ดวง พร้อมชุด
หลอดไฟชนิด 1 ไส้ ใช้หลอดไฟขนาด 5 - 8 วัตต์

หลอดไฟหน้า
หลอดไฟหรี่
ยางครอบเบ้าหลอดไฟหน้า

หลอดไฟเลี้ยว

โคมไฟหน้า
หลอดไฟตัดหมอก

รู ปที่ 5.2 แสดงตาแหน่งของอุปกรณ์ไฟแสงสว่างหน้ารถยนต์

1.2.2 ไฟท้าย (Tail Light) ตาม พรบ. จราจรทางบก 2522 ใช้คาว่า “โคมไฟท้าย” เป็ นไฟแสง
สี แดง ใช้สาหรับบอกตาแหน่งและความกว้างด้านหลังรถยนต์ ประกอบด้วย โคมไฟสี แดง 2 ดวง
พร้อมชุดหลอดไฟชนิด 2 ไส้ ขนาดกาลังไฟ 5 - 8 วัตต์ ทั้งโคมไฟและหลอดไฟใช้ร่วมกับไฟเบรก
แต่จะให้ความสว่างน้อยกว่า
หลอดไฟเบรกและหลอดไฟหรี่
หลอดไฟถอย

ประเก็นตัวเรื อนไฟท้าย
เลนส์ไฟท้าย
หลอดไฟเลี้ยว

รู ปที่ 5.3 แสดงตาแหน่งอุปกรณ์ไฟท้ายรถยนต์

1.2.3 ไฟส่ องป้ ายทะเบียน (License Plate Light) ใช้ส่องสว่างป้ ายทะเบียนด้านหลัง


ประกอบด้วย โคมไฟขนาดเล็กสี ขาว นิยมใช้ท้ งั แบบส่ องจากด้านบน ด้านข้าง (2 ดวง) และส่ อง
ด้านล่าง หลอดไฟที่ใช้เป็ นชนิด 1 ไส้ขนาดกาลังไฟ 5 - 8 วัตต์

ขั้วหลอดไฟส่องป้ ายทะเบียน

ไฟส่องป้ ายทะเบียน

เลนส์ไฟส่องป้ ายทะเบียน

รู ปที่ 5.4 แสดงตาแหน่งอุปกรณ์ไฟส่ องป้ ายทะเบียน


1.3 อุปกรณ์ในวงจรระบบไฟแสงสว่างภายนอกรถยนต์
1.3.1 อุปกรณ์พ้นื ฐาน
1.3.1.1 แบตเตอรี่
1.3.1.2 ฟิ วส์
1.3.1.3 รี เลย์
1.3.2 อุปกรณ์เฉพาะวงจร
1.3.2.1 หลอดไฟหน้ารถยนต์ หลอดไฟหน้ารถยนต์ที่ใช้ในปั จจุบนั โดยทัว่ ไป สามารถ
จาแนกออกได้ตามลักษณะโครงสร้างและการใช้งาน ดังนี้
1) แบ่งตามลักษณะโครงสร้างของโคมไฟ
(1) แบบเปลี่ยนหลอดไม่ได้ (Sealed Beam Head Lamp) ลักษณะของโคมไฟแบบ
นี้ตวั จานจะสะท้อนแสง หลอดและเลนส์ดา้ นหน้าจะยึดติดเป็ นชิ้นเดียวกัน ตัวหลอดไม่สามารถ
เปลี่ยนได้

รู ปที่ 5.5 หลอดไฟหน้ารถยนต์แบบเปลี่ยนหลอดไม่ได้

ข้อดี คือ จานสะท้อนแสงจะไม่เกิดการขุ่นมัวเพราะตัวโคมมีการซี ลปิ ดสนิทฝุ่ นผงไม่


สามารถเข้าไปได้
ข้อเสี ย คือ เวลาไส้หลอดขาดต้องเปลี่ยนใหม่ท้ งั โคม นิยมใช้ในรถยนต์รุ่นเก่า
(2) แบบเปลี่ยนหลอดได้ (Changeable Head Lamp) ลักษณะคล้าย กับแบบ
เปลี่ยนหลอดไม่ได้ แต่ตวั หลอดไฟที่ให้แสงสว่างอยูภ่ ายในสามารถถอดออกเปลี่ยนใหม่เมื่อหลอด
แสงสว่างใช้การไม่ได้
หลอดไฟแสงสว่าง กระเปาะแก้ว
รู ระบายอากาศ ฐานหลอดไฟ
ฝาครอบยาง

ช่องใส่หลอดไฟ
แท่นตรึ งหลอดไฟ

ขั้วสายไฟ

รู ปที่ 5.6 หลอดไฟแบบเปลี่ยนหลอดได้

ข้อดี คือ สามารถเปลี่ยนเฉพาะหลอดไฟแสงสว่างโดยไม่ตอ้ งเปลี่ยนโคมใหม่


ข้อเสี ย คือ เมื่อใช้งานไประยะหนึ่งจะมีสิ่งสกปรกเข้าไป ทาให้ตวั จานฉายหมองลง
2) แบ่งตามแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ใช้งาน
(1) หลอดไฟใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้ า 12 โวลต์ (สาหรับใช้ในรถยนต์ขนาดเล็ก เช่น รถ
กระบะ รถเก๋ ง )
(2) หลอดไฟใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้ า 24 โวลต์ (สาหรับใช้ในรถบรรทุกขนาดใหญ่ เช่น
รถ 6 ล้อ, รถ 10 ล้อหรื อ รถบัส เป็ นต้น)
3) แบ่งออกตามลักษณะของการทางาน สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้
(1) หลอดความร้อนหรื อหลอดแบบเผาไส้ (Incandescent Bulb)

รู ปที่ 5.7 หลอดความร้อน


หลอดไฟชนิดนี้ เมื่อจ่ายกระแสไฟให้ไส้หลอด (Filament) ซึ่งทาจากลวดทังสเตน จะเกิด
ความร้อนขึ้น เมื่อไส้หลอดเกิดความร้อนก็จะทาให้เกิดแสงสว่างขึ้นมา (เช่นเดียวกับที่เราเห็นจากเตา
ไฟฟ้ าแบบขดลวด) โดยปกติแล้วภายในหลอดชนิ ดนี้จะเป็ นสุ ญญากาศ เพื่อป้ องกันการเผาไหม้จน
เกิดความร้อนสู งเกินควบคุม หรื ออาจจะบรรจุก๊าซเฉื่ อย เช่น ก๊าซอาร์ กอนไว้ภายในเพื่อช่วยลดคราบ
เขม่าที่เกิดจากโลหะทังสเตนมาจับผิวด้านใน
(2) หลอดฮาโลเจน (Halogen Bulb) เป็ นหลอดที่ไฟถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อให้มีความ
สามารถในการรักษาความสว่างเอาไว้จนหมดอายุการใช้งาน หลอดไฟแบบนี้จะบรรจุก๊าซฮาโลเจน
ไว้ภายในหลอด ไฟหน้าแบบนี้สามารถแบ่งย่อยได้อีกหลายลักษณะ ตามมาตรฐานต่างๆ เช่น H1
H2 H3 H4 HB3และHB4 ซึ่ งจะแตกต่างกันตามลักษณะของขั้วหลอด ดังนี้
ก. หลอดไฟมาตรฐาน H1 หลอดไฟชนิดนี้จะใช้กบั รถยุโรป เช่น รถ BMW
และรถญี่ปุ่นรุ่ นใหญ่ ๆ

ข. หลอดไฟมาตรฐาน H3C ส่ วนมากใช้กบั ไฟสปอร์ตไลท์ ที่ติดเพิ่มในรถยนต์

รู ปที่ 5.8 หลอดฮาโลเจน ชนิด H1 รู ปที่ 5.9 หลอดฮาโลเจน ชนิด H3C


ที่มา : http://www.made-in-china.com ที่มา : http://www.benquip.bz/

ค. หลอดไฟมาตรฐาน H4 เป็ นหลอดไฟหน้าที่รถยนต์ส่วนใหญ่ใช้อยูใ่ น


ปัจจุบนั ชั้นบนของไส้หลอดจะมีฝาครอบกันไว้ ฝาครอบนี้มีไว้สาหรับบังไม่ให้แสงกระจายเต็ม
พื้นที่ในโคมไฟ จึงทาให้แสงที่ผา่ นโคมไฟออกมามีเพียงครึ่ งเดียวเป็ นไฟต่า ส่ วนด้านล่างมีเฉพาะ
ขดลวดเท่านั้นไม่มีฝาครอบเป็ นไฟสู ง มีข้ วั หลอด 3 ขั้ว สาหรับไฟสู ง - ต่าและขั้วกราวด์ (-)
รู ปที่ 5.10 หลอดฮาโลเจน ชนิด H4
ที่มา : http://www.ducati.ms/forums

ง. หลอดไฟมาตรฐาน H7

รู ปที่ 5.11 หลอดฮาโลเจน ชนิด H7


ที่มา : http://www.conrad.de/

จ. หลอดไฟมาตรฐาน HB

HB1 HB3 HB4 HB5

รู ปที่ 5.12 หลอดไฟมาตรฐาน HB


ที่มา : http://thai.alibaba.com/
(3) หลอด HID (High Intensity Discharge Lamp) โดยรู ้จกั กันในชื่อของหลอด
“ซีนอน” (Xenon) เนื่องจากภายใน บรรจุเอาไว้ดว้ ยก๊าซซี นอน หลอดไฟชนิดนี้ถูกนามาใช้กบั
รถยนต์ครั้งแรกในปี 1992 ในยุโรป ไส้หลอดทาจากโลหะทังสเตนในการทาให้เกิดแสงสว่าง
โดยหลอด HID จะทาให้เกิดแสงสว่างด้วยการผ่านกระแสไฟแรงสู ง หลอดชนิดนี้ จะต้องมีอุปกรณ์
ช่วยในการเพิ่มกระแสไฟ (บัลลาร์ด) จากไฟ 12 โวลต์ ทาให้สูงขึ้นไปถึง 20,000-25,000 โวลต์ จ่าย
ให้กบั ขั้วของตัวนาที่ทาจากโลหะทังสเตน ซึ่ งจะทาให้เกิดการกระโดดของอิเล็กตรอนระหว่างขั้ว
ของตัวนา อาจจะเปรี ยบได้กบั การกระโดดของไฟที่เขี้ยวหัวเทียนหรื อการสปาร์ คที่เกิดจากการเชื่ อม
ไฟฟ้ า อิเล็กตรอนนี้ จะทาปฏิกิริยากับก๊าซซี นอนที่ถูกบรรจุอยูภ่ ายในหลอดแก้วทาให้เกิดแสงสว่าง
ขึ้นโดยหลอด HID จะให้แสงสว่างมากกว่า หลอดฮาโลเจนธรรมดา 2 - 2.5 เท่า แต่ในขณะเดียวกัน
สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้ ามากกว่า ถึง 25% และยังให้สีของแสงที่เกิดขึ้นใกล้เคียงกับแสง
อาทิตย์จึงช่วยให้การมองเห็นดีข้ ึน และการที่ไม่ใช้ไส้หลอดจึงทาให้อายุการใช้งานของหลอดยาวขึ้น

รู ปที่ 5.13 หลอด HID


ที่มา http://articulo.mercadolibre.com.

รู ปที่ 5.14 เปรี ยบเทียบแสงสว่างจากหลอด Halogen และหลอด HID


ที่มา http://articulo.mercadolibre.com.
1.3.2.1 สวิตช์ไฟแสงสว่างหน้ารถยนต์ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของไฟหรี่ ไฟหน้า
รถยนต์ ไฟสู ง-ต่า สวิตช์ไฟแสงสว่างหน้ารถยนต์ที่นิยมใช้ในปัจจุบนั มี 2 แบบคือ
1) แบบดึงเปิ ด – กดปิ ด นิยมใช้ในรถรุ่ นเก่าติดตั้งที่แผงคอนโซลหน้าคนขับ

รู ปที่ 5.15 แสดงสวิตช์ไฟแสงสว่างแบบดึงเปิ ด – กดปิ ด


ที่มา http://www.freedomstreetrods.com/clearance

2) แบบแยก นิยมใช้ในรถยนต์รุ่นใหม่ ติดตั้งที่แผงคอนโซลหน้าคนขับ

รู ปที่ 5.16 แสดงสวิตช์ไฟแสงสว่างแบบแยก


ที่มา http://articulo.mercadolibre.com.

3) แบบสวิตช์รวม (Combination Switch) ซึ่งประกอบด้วย สวิตช์ไฟแสงสว่าง


(Light Switch) และสวิตช์เลือกไฟ สู ง-ต่า (Dimmer Switch) รวมอยูใ่ นชุดควบคุมเดียวกัน

รู ปที่ 5.17 แสดงสวิตช์ไฟแสงสว่างหน้ารถยนต์แบบรวม


ตารางที่ 5.1 สัญลักษณ์และตาแหน่งของไฟแสงสว่างรถยนต์
ตาแหน่ ง ควบคุม
OFF ตัดวงจร
ไฟหรี่ ไฟหน้าปัทม์ ไฟท้าย ไฟส่ องป้ ายทะเบียน
ไฟหน้ารถยนต์
L ไฟต่า
H ไฟสู ง ,ไฟขอทาง

1.4 วงจรไฟแสงสว่างภายนอกรถยนต์
การต่อวงจรไฟแสงสว่างภายนอกรถยนต์ มีการต่อวงจรที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยูก่ บั การ
ออกแบบของรถยนต์ในแต่ละรุ่ น แต่ละบริ ษทั ผูผ้ ลิต แต่จะมีหลักการทางานที่คล้ายกัน ที่นิยมต่อใช้
งาน มี 2 แบบ
1.4.1 วงจรไฟหรี่ - ไฟหน้ารถยนต์แบบไม่ใช้รีเลย์ช่วย
การต่อวงจรแบบนี้ นิยมต่อในรถยนต์รุ่นเก่า ที่ใช้สวิตช์ที่มีโครงสร้างแข็งแรงสายไฟมีขนาด
ใหญ่สามารถทนกระแสไฟฟ้ าที่จะไปหลอดไฟหน้ารถยนต์ได้

ไฟหน้ารถ

สวิตช์เปิ ด-ปิ ดไฟ

สวิตช์เลือกไฟสูง-ต่า
ชุดไฟหรี่ ไฟส่องป้ ายทะเบียน

รู ปที่ 5.18 แสดงวงจรไฟหรี่ ไฟหน้ารถยนต์แบบไม่ใช้รีเลย์ช่วย


1.4.2 วงจรไฟหรี่ - ไฟหน้ารถยนต์แบบใช้รีเลย์ช่วย
การต่อวงจรแบบนี้ นิยมใช้ต่อกับรถยนต์ในปั จจุบนั เนื่องจากรถยนต์มีการนาอุปกรณ์ไฟฟ้ า
ต่างๆ มาใช้จานวนมาก นอกจากนั้นยังเน้นในเรื่ องความสวยงาม จึงมีขอ้ จากัดในเรื่ องการออกแบบ
อุปกรณ์ โดยเฉพาะ สวิตช์ควบคุม ดังนั้นจึงนารี เลย์มาเป็ นตัวช่วยลดกระแสไฟที่จะผ่านสวิตช์ที่ใช้
ควบคุม

1 แบตเตอรี่ 6 สวิตช์เลือกไฟสูงต่า
2 ฟิ วส์ ALT 100 A 7 ฟิ วส์ HEAD
3 รี เลย์ไฟหน้า 8 หลอดไฟหน้า
4 รี เลย์ไฟหรี่ 9 หลอดไฟเตือนไฟสูง
5 สวิตช์ไฟหรี่ -ไฟหน้า 10 ชุดไฟหรี่ ไฟท้าย ไฟส่องป้ ายทะเบียน และส่องสว่างเรื อนไมล์

รู ปที่ 5.19 วงจรไฟหรี่ ไฟหน้ารถยนต์แบบใช้รีเลย์ช่วย

1.4.3 หลักการทางานของวงจรไฟหรี่ -ไฟหน้ารถยนต์


1.4.3.1 เมื่อเปิ ดสวิตช์ไฟแสงสว่าง ไปตาแหน่งไฟหรี่ จะทาให้ข้ วั T ต่อกับขั้ว E ของสวิตช์
ไฟแสงสว่างทาให้กระแสไฟฟ้ าที่ไหลจากแบตเตอรี่ ผ่านฟิ วส์ ผ่านขดลวดรี เลย์มารอที่ข้ วั T สามารถ
ไหลไปยังขั้ว E ของสวิตช์ไฟหรี่ ไฟหน้า ที่ต่ออยูก่ บั กราวด์ ทาให้ครบวงจรทาให้ขดลวดรี เลย์ไฟหรี่
ทางาน ดึงคอนแทกรี เลย์ของไฟหรี่ ต่อ ทาให้กระแสไฟสามารถไหลผ่านไปยังฟิ วส์ไฟหรี่ ผ่านไส้
หลอดชุดไฟหรี่ ซึ่งประกอบไปด้วย ไฟหน้าปัทม์ ไฟหรี่ ไฟท้ายและไฟส่ องป้ ายทะเบียนลงกราวด์ที่
โครงรถยนต์ ครบวงจรทาให้หลอดไฟสว่าง
1.4.3.2 เมื่อเปิ ดสวิตช์ไฟแสงสว่าง ไป ตาแหน่งเปิ ดไฟหน้า จะทาให้ข้ วั T และขั้ว E ยังคง
ต่อกันเหมือนเดิมและเพิ่มขั้ว H มาต่อร่ วมอีกขั้ว ทาให้กระแสไฟฟ้ าที่ไหลจากแบตเตอรี่ ผ่านฟิ วส์
ผ่านขดลวดรี เลย์ (รี เลย์ไฟหน้ารถ) มารอที่ข้ วั H สามารถไหลไปยังขั้ว E ของสวิตช์ไฟแสงสว่าง ที่
ต่ออยูก่ บั กราวด์ ทาให้ครบวงจรทาให้ขดลวดรี เลย์ไฟหน้าทางานดึงคอนแทกรี เลย์ของไฟหน้าต่อทา
ให้กระแสไฟสามารถไหลผ่านไปยังฟิ วส์ไฟหน้าซ้ายและขวา ผ่านไส้หลอดไฟต่าและไส้หลอดไฟ
สู งไปที่ข้ วั HL และขั้ว HU ของสวิตช์เลือกไฟสู ง-ต่าตามลาดับ
1.4.3.3 ตาแหน่งไฟหน้าต่า เมื่อเลือกสวิตช์ไฟสู ง-ต่า อยูใ่ นตาแหน่งไฟต่า ขั้ว HL จะต่อ
กับขั้ว ED ของสวิตช์เลือกไฟสู ง-ต่า ทาให้กระแสไฟที่ไหลผ่านไส้หลอดไฟต่ามารอที่ข้ วั HL ก่อน
หน้านั้น สามารถไหลจากขั้ว HLไปขั้ว ED ซึ่ งต่ออยูก่ บั กราวด์ทาให้ไส้หลอดไฟต่าครบวงจร ไส้
หลอดไฟต่าจึงสว่างขึ้น
1.4.3.4 ตาแหน่งไฟหน้าสู ง เมื่อสวิตช์เลือกไฟสู ง-ต่า อยูใ่ นตาแหน่งไฟสู ง จะทาให้ ขั้ว
HU ต่อกับขั้ว ED ทาให้กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านไส้หลอดไฟสู งมารอที่ข้ วั HU ก่อนหน้านั้นแล้ว
สามารถไหลจากขั้วHUไปขั้ว EDซึ่ งต่ออยูก่ บั กราวด์ทาให้ไส้หลอดไฟสู งครบวงจรไฟสู งจึงสว่างขึ้น
1.4.3.5 ตาแหน่งไฟขอทาง (Flash) เมื่อยกก้านของสวิตช์ไฟสู ง-ต่า ขึ้น ขั้ว HF และขั้ว HU
จะต่อกับขั้ว ED ซึ่ งต่ออยูก่ บั กราวด์ เป็ นผลให้ขดลวดรี เลย์ไฟหน้าทางาน ทาให้กระแสไฟสามารถ
ผ่านคอนแทกรี เลย์ไฟหน้า ไปยังหลอดไฟหน้าผ่านขั้ว HU และต่อลงกราวด์ที่ข้ วั ED ทาให้ไส้หลอด
ไฟสู งทางานได้โดยไม่ตอ้ งเปิ ดสวิตช์ไฟแสงสว่าง

2. ระบบไฟแสงสว่างภายในรถยนต์ (Interior Light)


ระบบไฟแสงสว่างที่ติดตั้งอยูภ่ ายในตัวรถยนต์ มีหน้าที่ให้แสงสว่างกับบุคคลที่อยูภ่ ายในตัว
รถยนต์
2.1 ไฟส่ องสว่างห้องโดยสาร (Dome Light)
ไฟส่ องสว่างห้องโดยสาร เป็ นไฟที่ช่วยให้ผขู ้ บั ขี่หรื อผูโ้ ดยสารสามารถมองเห็นภายใน
รถยนต์ โดยทัว่ ไปจะติดตั้งอยูบ่ นเพดานของห้องโดยสาร
2.1.1 อุปกรณ์ในวงจรระบบไฟส่ องสว่างห้องโดยสาร
2.1.1.1 อุปกรณ์พ้ืนฐาน
1) แบตเตอรี่
2) ฟิ วส์
2.1.1.2 อุปกรณ์เฉพาะวงจร
1) หลอดไฟห้องโดยสาร (ห้องเก๋ ง)
2) สวิตช์ประตู
รู ปที่ 5.20 หลอดไฟส่ องสว่างห้องโดยสาร รู ปที่ 5.21 สวิตช์ประตู

รู ปที่ 5.22 ไฟส่ องสว่างห้องโดยสาร

2.1.2 วงจรไฟแสงสว่างภายในรถยนต์

ไฟห้องโดยสาร
ไฟประตู

ฟิ วส์
ไฟส่อง
Dome15A
แผนที่

แบตเตอรี่

สวิตช์ประตู

รู ปที่ 5.23 วงจรไฟแสงสว่างภายในรถยนต์


2.1.2.1 หลักการทางานวงจรไฟแสงสว่างภายในรถยนต์
1) ตาแหน่ง ON กระแสไฟจากแบตเตอรี่ ไหลผ่านฟิ วส์เข้าหลอดไฟ ลงกราวด์ ที่ตวั
ของสวิตช์ ทาให้ไฟห้องโดยสารสว่างตลอดเวลา
2) ตาแหน่ง DOOR กระแสไฟจากแบตเตอรี่ ไหลผ่านฟิ วส์เข้าหลอดไฟไปรอลง
กราวด์ที่สวิตช์ประตู ขณะที่ประตูบานใดบานหนึ่งเปิ ดหรื อปิ ดไม่สนิท สวิตช์ประตูจะต่อวงจรให้
กระแสไฟฟ้ าลงกราวด์ได้ทาให้หลอดไฟห้องโดยสารสว่าง
2.2 ไฟส่ องสว่างหน้าปัทม์รถยนต์
ใช้เพื่อให้แสงสว่าง บนหน้าปัทม์รถยนต์ เพื่อให้ผขู้ บั ขี่สามารถมองเห็นเกจวัดต่างๆ ได้อย่าง
ชัดเจน โดยติดตั้งอยูใ่ นตัวหน้าปัทม์รถยนต์ (เรื อนไมล์) ตามตาแหน่งอุปกรณ์ต่างๆ เช่น มิเตอร์ วดั
ความเร็ ว มิเตอร์ วดั รอบ เกจวัดอุณหภูมิ เกจวัดระดับน้ ามันเชื้อเพลิง เป็ นต้น หลอดไฟหน้าปัทม์
โดยทัว่ ไปใช้หลอดไฟขนาด 1.4 – 3.4 วัตต์ เป็ นแบบขั้วเสี ยบ

รู ปที่ 5.24 หลอดไฟหน้าปั ทม์รถยนต์แบบขั้วเสี ยบ

รู ปที่ 5.25 แสดงไฟหน้าปัทม์รถยนต์


2.2.1 วงจรไฟส่ องสว่างหน้าปัทม์
วงจรไฟส่ องสว่างหน้าปัทม์ มีการต่อใช้งาน 2 แบบได้แก่ การต่อวงจรแบบให้แสงสว่างคงที่
และการต่อวงจรแบบปรับแสงสว่างได้
2.2.1.1 วงจรไฟส่ องสว่างหน้าปัทม์แบบให้ความสว่างคงที่

รู ปที่ 5.26 วงจรไฟส่ องสว่างหน้าปั ทม์รถยนต์แบบให้แสงสว่างคงที่

2.2.1.2 วงจรไฟส่ องสว่างหน้าปัทม์รถยนต์แบบปรับความสว่างได้

รู ปที่ 5.27 วงจรไฟส่ องสว่างหน้าปั ทม์รถยนต์แบบปรับแสงสว่างได้


2.2.1.3 หลักการทางานของวงจร
การต่อวงจร จะต่อร่ วมกับวงจรไฟหรี่ รถยนต์และผ่านเข้าสวิตช์ปรับความสว่างไฟหน้าปัทม์
ซึ่ งเป็ นตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ก่อนเข้าหลอดไฟที่หน้าปัทม์ ความสว่างจะขึ้นอยูก่ บั การปรับค่า
ความต้านทาน

3. การตรวจสอบระบบไฟแสงสว่างรถยนต์
หากเกิดปั ญหาขึ้นกับระบบไฟแสงสว่างของรถยนต์ สามารถตรวจสอบเบื้องต้นได้ ดังนี้

ตารางที่ 5.2 ขั้นตอนการตรวจสอบระบบไฟแสงสว่าง


1. ตรวจการขาดของหลอดไฟ
1.1 ตรวจด้วยสายตาว่าชารุ ดหรื อไส้หลอดขาด
หรื อไม่
1.2 ตรวจด้วยมัลติมิเตอร์ ตั้งค่าที่ R × 1 ถ้าเข็มวิง่
ขึ้นแสดงว่าหลอดไม่ขาด ถ้าเข็มไม่ข้ ึนแสดงว่าชารุ ด

แสดงการตรวจสอบหลอดไฟ

2. ตรวจฟิ วส์
ตรวจด้วยสายตาว่าฟิ วส์ขาดหรื อไม่ ถ้าไม่แน่ใจ
ตรวจด้วยมัลติมิเตอร์ ตั้งค่า R × 1 ถ้าเข็มวิง่ ขึ้นแสดง
ว่าใช้งานได้
แสดงการตรวจสอบฟิ วส์

3. ตรวจสวิตช์ไฟหน้าและไฟสู ง – ต่า
ตรวจสอบด้วยมัลติมิเตอร์ ตั้งค่า R×1 เปิ ดสวิตช์ไป
ในตาแหน่งที่ตอ้ งการตรวจสอบ โดยใช้มิเตอร์ วดั
ระหว่างขั้วที่ตอ้ งการตรวจสอบ ถ้าเข็มมัลติมิเตอร์ วิง่
ขึ้นแสดงว่าตาแหน่งนั้นของสวิตช์ใช้งานได้
แสดงการตรวจสอบสวิตซ์ไฟหน้าและ
ไฟสู ง – ต่า
4. ตรวจแรงเคลื่อนไฟของแบตเตอรี่
ตรวจสอบด้วยมัลติมิเตอร์ ตั้งค่าที่ DC 50V วัด
ขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่ ต้องได้ค่ามากกว่า 12 V
แสดงว่าแบตเตอรี่ ใช้งานได้
ข้อควรระวัง : อย่าต่อเครื่ องวัดผิดขั้ว เพราะอาจทา
แสดงการตรวจสอบแบตเตอรี่ ให้มลั ติมิเตอร์ชารุ ดได้
5. ตรวจรี เลย์
5.1 ใช้มลั ติมิเตอร์ ตั้งค่า R × 1 วัดขั้ว ตามรู ป
5.2 ปล่อยไฟทดสอบเข้าขดลวดรี เลย์ ถ้ามีเสี ยงดูด
ของแม่เหล็กแสดงว่าขดลวดรี เลย์ทางานและจะมี
กระแสไฟจ่ายไปยังขั้วที่เหลือ โดยสังเกตจากหลอดไฟ
ทดสอบสว่าง
แสดงการตรวจสอบรี เลย์

6. ตรวจขั้วต่อสายและเบ้าหลอดไฟ
6.1 ตรวจสภาพทัว่ ไปด้วยสายตาว่าสกปรกและ
สภาพชารุ ดหรื อไม่
6.2 ตรวจการต่อว่าหลุดหรื อยึดแน่นหรื อไม่

แสดงการตรวจสอบชุ ดขั้วต่อ

7. ตรวจสายไฟ
ตรวจสภาพทัว่ ไปด้วยสายตาว่าฉนวนหุ ม้ เปื่ อยชารุ ด
สภาพเก่าเกินไปหรื อไม่

แสดงลักษณะของสายไฟ

สภาพของอุปกรณ์ต่างๆ ต้องอยูใ่ นสภาพสมบูรณ์สามารถนาไปใช้งานได้ดี ถ้าตรวจสอบ


พบว่าอุปกรณ์ใดชารุ ดให้ซ่อมหรื อถ้าชารุ ดมากไม่สามารถซ่อมได้ให้เปลี่ยนใหม่
4 การวิเคราะห์ สาเหตุข้อขัดข้ อง
เมื่อใช้งานไปเกิดปั ญหากับระบบไฟแสงสว่างสามารถวิเคราะห์สาเหตุขอ้ ขัดข้องเบื้องต้นได้ ดังนี้

ตารางที่ 5.3 วิเคราะห์สาเหตุขอ้ ขัดข้องระบบไฟแสงสว่าง


ข้อขัดข้อง สาเหตุที่เป็ นไปได้ วิธีแก้ไข
1. หลอดไฟไม่ติดหลอด - หลอดไฟขาด - เปลี่ยนหลอดไฟ
เดียว - ขั้วต่อหรื อการลงกราวด์บกพร่ อง - ทาความสะอาดแก้ไข
จุดบกพร่ อง
2. ไฟหน้าไม่ติด - ฟิ วส์สายขาด - เปลี่ยนฟิ วส์สาย
- ฟิ วส์ไฟหน้าขาด - เปลี่ยนฟิ วส์และตรวจการ
- รี เลย์ไฟหน้าบกพร่ อง ลัดวงจร
- สวิตช์ไฟหน้า/ไฟขอทางบกพร่ อง - ตรวจสอบรี เลย์
- ขั้วต่อ สายไฟ หรื อการลงกราวด์ - ตรวจสอบสวิตช์
บกพร่ อง - ตรวจสอบและแก้ไข
จุดบกพร่ อง
3. ไฟสู งหรื อไฟขอทาง - สวิตช์ไฟหน้า/ไฟขอทางบกพร่ อง - ตรวจสอบสวิตช์และแก้ไข
ไม่ทางาน - ขั้วต่อและสายไฟบกพร่ อง - ตรวจสอบ ทาความสะอาด
และแก้ไข
4. ไฟหรี่ ไฟท้ายและ - ฟิ วส์สายขาด - เปลี่ยนฟิ วส์สาย
ไฟส่ องป้ ายทะเบียน - ฟิ วส์ไฟหรี่ ขาด - เปลี่ยนฟิ วส์และตรวจการ
ไม่ติด - รี เลย์ไฟหรี่ บกพร่ อง ลัดวงจร
- สวิตช์ไฟหรี่ บกพร่ อง - ตรวจสอบรี เลย์
- ขั้วต่อ สายไฟ หรื อการต่อลง - ตรวจสอบสวิตช์
กราวด์บกพร่ อง - ตรวจสอบ ทาความสะอาด
และแก้ไขจุดบกพร่ อง
5. ไฟในห้องโดยสาร - ฟิ วส์ไฟในห้องโดยสารขาด - เปลี่ยนฟิ วส์
และไฟประตูไม่ติด - สวิตช์บกพร่ อง - ตรวจสอบสวิตช์
- ขั้วต่อ สายไฟหรื อการลงกราวด์ - ตรวจสอบ ทาความสะอาด
บกพร่ อง และแก้ไขจุดบกพร่ อง
- สวิตช์ประตูบกพร่ อง - ตรวจสอบสวิตช์ประตู
สรุ ป

ระบบไฟแสงสว่างเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ เพื่อความปลอดภัยในการขับรถโดยเฉพาะเวลา


กลางคืน หรื อเมื่อเราต้องการแสงสว่างในที่มืด ซึ่ งระบบแสงสว่างประกอบด้วย
1. ระบบแสงสว่างภายนอก (Exterior Light)
ไฟหน้ารถ (Headlight) มีหน้าที่ ให้สามารถมองเห็นในการขับขี่รถเวลากลางคืน
ไฟหรี่ (Front Clear Light) มีหน้าที่ แสดงขนาดความกว้างของรถ ติดตั้งอยูห่ น้ารถ
ไฟท้าย (Tail Light) มีหน้าที่ แสดงขนาดความกว้างของรถ ติดตั้งอยูท่ า้ ยรถ
ไฟส่ องป้ ายทะเบียน( License Plate Light ) มีหน้าที่ ให้แสงสว่างป้ ายทะเบียน
2. ระบบไฟแสงสว่างภายใน (Interior Light System)
ไฟส่ องสว่างห้องโดยสาร (Dome Light) มีหน้าที่ ให้แสงสว่างภายในห้องโดยสาร
ไฟส่ องสว่างหน้าปัทม์ (Combination Light) มีหน้าที่ ให้แสงสว่างหน้าปัทม์
ใบงานที่ 5.1
งานตรวจสอบหาขั้วสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. นักเรี ยนสามารถเตรี ยมเครื่ องมือในการตรวจหาขั้วของสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์ได้
2. นักเรี ยนสามารถลาดับขั้นตอนการหาขั้วของสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์ได้
3. นักเรี ยนสามารถเขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ของขั้วสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์ได้
4. นักเรี ยนสามารถเลือกขั้วของสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์เพื่อต่อใช้งานได้
5. นักเรี ยนสามารถเก็บเครื่ องมืออุปกรณ์ได้ถูกต้อง

เครื่องมือ / อุปกรณ์
1. สวิตช์รวมคอพวงมาลัย (Combination Switch)
2. มัลติมิเตอร์

ลาดับขั้นการปฏิบัติ
1. ศึกษาวงจรการทางานของสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์จากใบความรู ้ หน่วยที่ 5
2. ตรวจสอบตาแหน่งการทางานและจานวนขั้วของสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์
3. ทาตารางแสดงความสัมพันธ์ของขั้วสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์
4. จับคู่สายตรวจสอบความต่อเนื่องของขั้วสวิตช์ในแต่ละตาแหน่งแล้วขีดเส้น
ความสัมพันธ์ลงในตาราง
5. สรุ ปและเลือกขั้วสายของสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์เพื่อต่อใช้งาน
บันทึกผลใบงานที่ 5.1
งานตรวจสอบหาขั้วสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์

1. ตรวจสอบวงจรภายในสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์
สวิตช์ ขั้วตรวจสอบ ความต่อเนื่ องในตาแหน่ง
( ระหว่างคู่สีสาย ) OFF TAIL HEAD
W1 และ W2
สวิตช์ไฟแสงสว่าง
W1 และ R
( Light Switch )
W2 และ R
ขั้วตรวจสอบ ความต่อเนื่ องในตาแหน่ง
( ระหว่างคู่สีสาย ) LOW HIGH FLASH
RB และ RG
สวิตช์ไฟสู ง - ต่า
RB และ RY
( Dimmer Switch )
RB และ WG
RG และ RY
RY และ WG
RG และWG

2. เขียนตารางความสัมพันธ์ภายในของสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์

ตาแหน่ง W1 W2 R
OFF
สวิตช์ไฟแสงสว่าง
TAIL
(Light Switch)
HEAD

ตาแหน่ง RB RG RY WG
FLASH
สวิตช์ไฟสูง – ต่า
LOW
(Dimmer Switch)
HIGH
เลือกขั้วต่อใช้งาน
ขั้ว….T….. หมายถึง สายสี ……………... ต่อไปอุปกรณ์……………..………………
ขั้ว….E.…. หมายถึง สายสี ……………... ต่อไปอุปกรณ์…………………..…………
ขั้ว….H…. หมายถึง สายสี ……………... ต่อไปอุปกรณ์…………………..…………
ขั้ว….HF… หมายถึง สายสี ……………... ต่อไปอุปกรณ์………………..……………
ขั้ว….HU… หมายถึง สายสี ……………... ต่อไปอุปกรณ์……………..………………
ขั้ว….HL… หมายถึง สายสี ……………... ต่อไปอุปกรณ์………………..……………
ขั้ว….ED… หมายถึง สายสี ……………... ต่อไปอุปกรณ์…………………..…………
เกณฑ์ ประเมินผลการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 5.1 งานตรวจสอบหาขั้วสวิตช์ไฟแสงสว่างรถยนต์

ผูป้ ฏิบตั ิงาน ชื่อ…………………………………..เลขที่……….กลุ่ม…………..

ระดับคะแนน
หัวข้อการประเมิน หมายเหตุ
เต็ม ได้
1. การเตรี ยมเครื่ องมืออุปกรณ์ 2 ผล/คะแนน
2. การลาดับขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน 4 ดีมาก = 18 -20
3. ทาตารางความสัมพันธ์ของสวิตช์ไฟแสงสว่าง ปานกลาง = 15 - 17
4
รถยนต์ได้ถูกต้อง พอใช้ = 11 – 14
4. เลือกต่อขั้วใช้งานได้ถูกต้อง 5 ปรับปรุ ง = 0 - 10
5. ความสามัคคีในกลุ่ม 3
6. ทาความสะอาด เก็บวัสดุอุปกรณ์และพื้นที่
2
ปฏิบตั ิงาน
รวม 20

ครู ผสู้ อน
ใบงานที่ 5.2
งานต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์

จุดประสงค์ การเรี ยนรู้


1. นักเรี ยนสามารถเตรี ยมอุปกรณ์ในการต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์ได้
2. นักเรี ยนสามารถขีดโยงเส้นต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์ได้
3. นักเรี ยนสามารถต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์บนแผงฝึ กได้
4. นักเรี ยนสามารถอธิ บายการทางานของวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์ได้
5. นักเรี ยนสามารถเก็บเครื่ องมืออุปกรณ์และทาความสะอาดพื้นที่ปฏิบตั ิงานได้อย่างเป็ น
ระเบียบ

เครื่องมือ / อุปกรณ์
1. แบตเตอรี่ รถยนต์
2. มัลติมิเตอร์
3. แผงฝึ กต่อวงจรไฟฟ้ ารถยนต์
4. สายคีบแบตเตอรี่
5. สายไฟต่อวงจร

ลาดับขั้นการปฏิบัติ
1. นักเรี ยนศึกษาวงจรหลักการทางานของไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์จากใบความรู ้
หน่วยที่ 5
2. นักเรี ยนเขียนชื่อ ขั้วของอุปกรณ์ให้ตรงกับสัญลักษณ์แล้วขีดโยงเส้นต่อวงจรในใบงาน
3. นักเรี ยนต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์ตามใบงานบนแผงฝึ กไฟฟ้ ารถยนต์
4. นักเรี ยนเขียนอธิ ยายหลักการทางานของวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์
5. นักเรี ยนทาความสะอาดเก็บเครื่ องมืออุปกรณ์และทาความสะอาดพื้นที่ปฏิบตั ิงาน
บันทึกผลการทดลองใบงานที่ 5.2
งานต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์

1. ให้นกั เรี ยนเขียนชื่ออุปกรณ์ในช่องที่กาหนดให้แล้วขีดโยงเส้นต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์ให้สมบูรณ์

รี เลย์ไฟหน้า รี เลย์ไฟหรี่ สวิตช์ไฟหรี่ ไฟหน้า ฟิ วส์ไฟหน้าขวา ฟิ วส์ไฟหน้าซ้าย หลอดไฟหน้าซ้าย

ฟิ วส์ไฟหรี่
ฟิ วส์

หลอดไฟเตือนไฟสูง
ไฟหรี่ หน้า
แบตเตอรี่ หลอดไฟหน้าขวา

ไฟท้าย
สวิตช์เลือกไฟสูงต่า

ไฟหน้าปั ทม์ ไฟส่องป้ ายทะเบียน


2. อธิ บายการทางานของวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์ช่วย
เมื่อเปิ ดสวิตช์ ตาแหน่ง “TAIL” ……………………………………………………
…………………………………………………… ……………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………….……………………………

เมื่อเปิ ดสวิตช์ ตาแหน่ง “HEAD” ………………………………………………………….


……………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………..

ตาแหน่งไฟหน้าต่า“Low Beamb” …………………………………………………….


……………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………..

ตาแหน่งไฟหน้าสู ง“High Beamb” ……………………………………………...…………


……………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………...
ตาแหน่งไฟขอทาง ( Flash)…………………………………………………………………….
……………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….……………………………

ปั ญหาที่พบระหว่างฝึ กปฏิบตั ิ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….
เกณฑ์ ประเมินผลการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 5.2 งานต่อวงจรไฟแสงสว่างรถยนต์แบบใช้รีเลย์

ผูป้ ฏิบตั ิงาน ชื่อ…………………………………..เลขที่……….กลุ่ม…………..

ระดับคะแนน
หัวข้อการประเมิน หมายเหตุ
เต็ม ได้
1. การเตรี ยมเครื่ องมืออุปกรณ์ 2 ผล/คะแนน
2. ความถูกต้องของชื่ อ ขั้วและการโยงเส้นต่อ ดีมาก = 18 - 20
4
วงจรในใบงาน ปานกลาง = 15 - 17
3. อธิบายการทางานของวงจร 4 พอใช้ = 11 - 14
4. ความถูกต้องของการต่อวงจรบนแผงฝึ ก 5 ปรับปรุ ง = 0 - 10
5. ความปลอดภัยและการแก้ไขปั ญหาใน
3
ระหว่างการปฏิบตั ิงาน
6. ทาความสะอาด เก็บวัสดุอุปกรณ์และพื้นที่
2
ปฏิบตั ิงาน
รวม 20

ครู ผสู้ อน
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยที่ 5 เรื่ อง ระบบไฟแสงสว่างรถยนต์

คาสั่ง : ให้นกั เรี ยนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่ องหมาย (X) ลงใน


กระดาษคาตอบ

1. ระบบไฟฟ้ าที่ทาหน้าที่บอกขนาดความกว้าง ความยาวของรถยนต์ คือข้อใด


ก. ไฟเบรก ข. ไฟฉุกเฉิน
ค. ไฟหรี่ ง. ไฟตัดหมอก
2. ข้อใดไม่ใช่หลอดไฟหน้ารถยนต์
ก. หลอด LED ข. หลอด Incandescent Bulb
ค. หลอด Halogen Bulb ง. หลอด HID
3. สวิตช์ไฟห้องเก๋ งอยูใ่ นตาแหน่งใด ไฟจึงจะสว่างเฉพาะเวลาเปิ ดประตู
ก. ON ข. OFF
ค. AUTO ง. DOOR
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นชื่อขั้วของสวิตช์ไฟหน้ารถทั้งหมด
ก. HU, HL, HB ข. HF, HU, HL
ค. B, P, X ง. B, L, T, H, E
5. ขั้วใดเป็ นขั้วที่ใช้ต่อเพื่อให้ไฟขอทางทางานได้ในขณะที่ไม่เปิ ดสวิตช์ไฟหน้า
ก. HL ข. HU
ค. HF ง. HL

6. จากรู ปสัญลักษณ์ หมายถึงอุปกรณ์ในข้อใด


ก. หลอดไฟเบรก ข. ขดลวดเหนี่ยวนา
ค. หลอดสปอร์ตไลท์ ง. หลอดไฟหน้ารถยนต์
7. การต่อวงจรไฟหน้ารถยนต์ในปัจจุบนั ให้ไฟลงกราวด์ครบวงจรที่ใด
ก. ขั้ว ED ของสวิตช์ ข. ขั้ว HU ของสวิตช์
ค. ขั้ว E ของรี เลย์ ง. ขั้ว E ของหลอด
8. ขั้วใดของสวิตช์ไฟหน้ารถยนต์ที่ต่อเข้ากับขดลวดรี เลย์ของไฟหรี่
ก. ขั้ว T ข. ขั้ว E
ค. ขั้ว H ง. ขั้ว L
9. ไฟส่ องป้ ายทะเบียนใช้ไฟจากขั้วใดของสวิตช์ไฟหน้ารถยนต์
ก. ขั้ว T ข. ขั้ว E
ค. ขั้ว H ง. ขั้ว L
10. ไฟต่าไม่ออก 1 ข้างข้อใดมีโอกาสที่จะเป็ นสาเหตุมากที่สุด
ก. ฟิ วส์ ข. สวิตช์ไฟ
ค. ไส้หลอดขาด ง. รี เลย์

You might also like