You are on page 1of 2

PTT Distribution Service Newsletter

• การผุกร่อนของท่อก๊าซฯภายในโรงงาน
• ลงทะเบียน รับ ข่าวสาร PTT Distribution Service Newsletter

การผุกร่อน (Corrosion)
การผุกร่ อนหรื อการกัดกร่ อน (Corrosion) หมายถึงภาวะซึ่งวัตถุหรื อ
สิง่ ประดิษฐ์ ทางด้ านวิศวกรรมทาปฏิกิริยากับสภาพแวดล้ อม ทาให้ ให้
เกิ ดการเสื่อ มสภาพของวัตถุนัน้ ส่ง ผลให้ ป ระสิทธิ ภาพการท าการ
โลหะ + ภาวะแวดล ้อม → Ion ของโลหะ+เบส ทางานหรื อวัตถุประสงค์การใช้ งานลดลง ซึ่งการผุกร่ อน ของระบบท่อ
Fe(s) +H2O (l) +O2 (g) → Fe2+ (aq) + OH-(aq) ฯภายในโรงงาน โดยส่ว นมากจะเกิ ด จากการที่ ท่อ ก๊ าซฯเกิ ด สนิ ม
4 Fe(s) + 3O2 (g) + 3 H2O (l) → 2Fe2O3.3H2O(s) เพราะระบบท่อฯภายในโรงงานส่วนใหญ่เป็ นท่อเหล็ก
สาเหตุของสนิม: เหล็กกล้ า (ท่อเหล็ก) ไม่ได้ เป็ นวัสดุที่เสถียรในเชิง
การที่ระบบท่อฯภายในโรงงานเกิดสนิมสาเหตุหลักคือเกิดจากผิว
เคมี และ จะพยายามกลับตัวไปสูส่ ถานะภาพเดิมของมัน (iron oxide
ของท่อฯสัมผัสกับความชื ้นและอากาศ ซึ่งการเกิดสนิมอาจเกิดได้
/ iron ore – เหล็กออกไซด์ และ แร่เหล็ก) โดยการขึ ้นสนิม
เร็ ว ขึน้ เมื่ อ ท่อ ฯสัม ผัสกับ สารเคมี ที่ เ ป็ นตัว ออกซิ ไ ดส์ เช่ น กรด
โดย สนิม เกิดจากการทาปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก
สารละลายของสารประกอบไอออนิกบางชนิด เช่น NaCl หรื อ
ทาให้ เกิดเป็ นรอยของการเกิดการผุกร่อน
สัมผัสกับโลหะที่มีศกั ย์ไฟฟ้ ามาตรฐานของครึ่งเซลล์สงู กว่า

ปั จจัยทีเ่ ร่งให้ เกินการผุกร่อน คือ สาเหตุที่ทาให้ เกิ ดการการผุกร่ อน ของระบบท่อฯในโรงงานเกิ ดจาก


1. อุณหภูมิ 2. ชนิดของโลหะ ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิภายในและภายนอกเส้ นท่อ โดยก๊ าซฯ
3. ปริ มาณ O2 (อากาศ) 4. ความชื ้น ภายในท่อฯมีอุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิภายนอก จึงเกิดการควบแน่น
5. ระยะเวลาที่โลหะสัมผัสกับสิง่ แวดล้ อมที่ก่อให้ เกิดการผุกร่อน ของหยดน ้า ซึง่ เป็ นตัวการเร่งการผุกร่อน (ความชื ้น)

การป้องกันการผุกร่อน
1) วิธีการการเคลือบผิวเหล็ก เพื่อป้องกันไม่ให้ เนื ้อเหล็กสัมผัสกับความชื ้นและอากาศโดยตรง เช่น การทาสี การชุบโลหะ
2) วิธีทาให้ เป็ นเหล็กกล้ าไร้ สนิม (Stainless steel) โดยการเติมธาตุอื่นๆที่สามารถทาให้ เกิดชันฟิ ้ ล์มบางๆขึ ้นที่ผิวเหล็ก เช่น โครเมียม นิกเกิล
ธาตุเหล่านี ้จะสามารถสามารถสร้ างฟิ ล์มบางๆที่ติดแน่นบนผิวเหล็ก ช่วยป้องกันไม่ให้ เนื ้อเหล็กสัมผัสกับบรรยากาศโดยตรง ผิวเคลือบชนิดนี ้นี ้
มีความคงทนทังทางกายภาพและเคมี

3) วิธีการใช้ กระแสไฟฟ้ าเพื่อให้ เหล็กมีศกั ย์ไฟฟ้ าสูงกว่าบริ เวณใกล้ เคียง ซึง่ จะทาให้ เหล็กไม่เกิดการสูญเสียอิเล็กตรอนและกลายเป็ นสนิ ม วิธี
นี ้สามารถป้องกันการเกิดสนิมได้ ทกุ สภาพแวดล้ อม แต่มีค่าใช้ จ่ายที่สงู และต้ องอาศัยแหล่งกาเนิดกระแสไฟฟ้ าซึง่ ไม่สะดวกกับการโยกย้ ายไป
มา จึงเหมาะสมกับโครงสร้ างใหญ่ๆ ที่ต้องใช้ งานในสภาพแวดล้ อมที่เสีย่ งต่อการเกิดสนิมอย่างรุนแรง เช่น ท่อที่ฝังอยูใ่ ต้ ดิน

PTT Distribution Service Newsletter ● Volume 9, Issue 9 ● DSCNG@PTTPLC.COM ● 02 537-3235-9


โดยทัว่ ไปสาหรับท่อฯภายในโรงงานวิธีการป้องกันท่อก๊ าซฯไม่ให้ เกิดสนิมสามารถป้องกันได้ ด้วยการเคลือบผิวเหล็ก เพื่อป้องกันมิให้ เนื ้อเหล็ก
สัมผัสกับความชื ้นและอากาศโดยตรง ทาได้ โดย การทาสี อย่างไรก็ตาม หากเลือกสีที่ทาบนผิวท่อและวิธีการทาที่ไม่เป็ นไปตามมาตรฐาน สีที่
ทาเคลือบผิว สามารถหลุดออกได้ ซงึ่ จะทาให้ เนื ้อเหล็กมีโอกาสสัมผัสกับบรรยากาศและเกิดสนิมขึ น้ ดังนันสี ้ ที่ใช้ ควรมีคณุ สมบัติทนต่อการกัด
กร่ อน เกาะยึดกับสีเดิมได้ ดี ทนต่อสภาวะดินฟ้ าอากาศและทนต่อรั งสีอลั ตราไวโอเลตหรื อแสงแดดได้ ดี ซึ่งสีที่นามาทาเคลือบผิว ใช้ ต้อง
เทียบเคียงได้ กบั สีมาตรฐานสากลดังตารางต่อไปนี ้
การเตรี ยมพื ้นผิวท่อ
ชนิดของสี มาตรฐานสีสากล 1.1 สาหรับท่อใหม่ ให้ ทาความสะอาดพื ้นผิวท่อหรื อขัดพื ้นผิว
BS4800 RAL CS MUNSEL ท่อให้ สะอาดจนถึงเนื ้อเหล็ก (Standard Grade for Surface Preparation
สีบรอนซ์ (สีพืน้ ผิวท่ อ) - 9006 515 - is SIS Sa 2.5) ในกรณีที่พื ้นผิวท่อมีคราบน ้ามันหรื อจาระบีให้ ทาการขัด
แถบสีเหลือง 10E55 1003 622 31.Y ล้ างด้ วยสารละลายเคมีและล้ างด้ วยน ้าให้ สะอาดและปล่อยทิ ้งให้ แห้ ง
8.3/15.6 1.2 สาหรับท่อก๊ าซที่มีสเี ดิมจับอยูแ่ ละต้ องการทาสีทบั ใหม่ หรื อ
การทาสี เกิดสนิม และต้ องการซ่อมแซม ให้ เตรี ยมพื ้นผิวสีเดิมให้ สะอาดจนถึงเนื ้อ
วิธีการทาสี ตามมาตรฐานการทาสี ที่ปตท. ใช้ ได้ อ้างอิงจาก เหล็ก (Standard Grade for Surface Preparation is SIS St 3)
มาตรฐาน ISO 12944-5:2007 System A5I.04 โดยมี หลังจากนันล้้ างด้ วยน ้าสะอาดและปล่อยทิ ้งให้ แห้ ง
รายละเอียดดังนี ้
Painting Generic Type Min.DFT (μm)
1st Coated - Primer Inorganic Zinc-Rich* Ethyl Silicate 75
2nd Coated - Intermediate Coated High Solids Polyamide Epoxy 125
3rd Coated - Topcoat Aliphatic Polyurethane 50
Min.Total DFT (μm) 250
ซึ่งการทาสี สามารถอ่านเพิ่มเดิมได้ ที่ จุลสาร ก๊ าซไลน์ ปี ที่ 24 ฉบับที่ 90 เดือน มกราคม - มีนาคม 2556 หัวข้ อ
Test Post
Gas Technology เรื่ อง มาตรฐานการทาสีท่อ above ground นอกจากนี ้สามารถขอเอกสาร คู่มือระบบท่อส่ง
ก๊ าซในโรงงานอุตสาหกรรม จากทางส่วนบริ การลูกค้ าก๊ าซหรื อทีม Inplant Service ได้
สาหรับท่อฯใต้ ดินภายในโรงงาน สามารถป้องกันการเกิดสนิมได้ ด้วยระบบ Cathodic protection (CP) โดยใช้
โลหะที่เสียอิเล็กตรอนได้ งา่ ยกว่าเหล็ก (มีคา่ ศักย์ไฟฟ้ าครึ่งเซลล์รีดกั ชันน้ อยกว่าเหล็ก) เชื่อมต่อกับท่อฯใต้ ดิน เช่น
การเชื่อมต่อแมกนีเซียมตามท่อ จะทาให้ ทอ่ ฯผุกร่อนช้ าลง เนื่องจากแมกนีเซียมเสียอิเล็กตรอนง่ายกว่าเหล็ก
อย่างไรก็ตามสาหรับโรงงานที่มีระบบ CP ป้องกันท่อฯใต้ ดิน สามารถตรวจ ระบบป้องกันการผุกร่อนของท่อใต้ ดิน
ได้ ด้วยการใช้ โวลต์มิเตอร์ วดั ความต่างศักดิท์ ี่จดุ Test Post หากพบว่ามีคา่ ต่ากว่า -0.85 โวลต์แสดงว่าระบบ CP
ยังสามารถใช้ งานได้ ดี หากสูงกว่า -0.85 โวลต์แสดงว่าระบบ CP ไม่สามารถใช้ การได้ ต้องดาเนินการตรวจสอบท่อ การตรวจวัดระบบ CP
ใต้ ดินและติดตังระบบ
้ CP ใหม่ซงึ่ วิธีการตรวจระบบCP สามารถอ่านเพิ่มเดิมได้ ที่ จุลสาร ก๊ าซไลน์ ปี ที่ 23 ฉบับที่ 86 เดือน มกราคม - มีนาคม
2555หัวข้ อ Gas Technology เรื่ อง วิธีการตรวจสอบระบบป้องกันการผุกร่อนของท่อใต้ ดินแบบ CP
หน้ าแปลน ซึง่ เป็ นบริ เวณที่เกิดสนิมบ่อยๆครับ สามารถป้องกันการเกิดสนิมได้ ด้วยวิธีดงั นี ้
1. การใช้ Composite ที่มีลกั ษณะเป็ นครึ่งวงกลม ประกบเข้ าที่หน้ าแปลน
2. การใช้ สารที่มีคณ ุ สมบัติพิเศษ ที่เปลีย่ นสภาพไปตามอุณหภูมิ เช่นที่อณ ุ หภูมิห้องจะมี
ลักษณะเป็ นของแข็ง แต่ถ้ามีการให้ ความร้ อนหรื อแรงสารก็จะมีการไหลได้ จึงสามารถอัด
สารชนิดนี ้เข้ าไปที่ช่องว่างของหน้ าแปลนได้
3. Tape ใช้ พนั หน้ าแปลนที่รูปร่างแตกต่างกันไป (วิธีนี ้ไม่ให้ ประสิทธิภาพในการป้องกันทีด่ ีนกั ) สนิมที่หน้ าแปลน
4. Plastic จาพวก Thermoplastic การใช้ งานต้ องมีการหลอม และพ่นเป็ นลักษณะสเปรย์ เมื่อปล่อยไว้ 2 – 3 นาที ก็จะแข็งตัวหุ้มหน้ าแปลน
PTT Distribution Service Newsletter ● Volume 9, Issue 9 ● DSCNG@PTTPLC.COM ● 02 537-3235-9

You might also like