You are on page 1of 48

ความเสี่ยงในระบบ

จัดซื้อ
โดย นางสาวศศิธร ศรีประดิษฐ
ภาครัฐ
นักวิชาการพัสดุ ชานาญการพิเศษ
โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
หลักการจัดหาพัสดุที่ด

โปร่งใส

ตรวจสอบได้
มีการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม
2
กระบวนการบริหารงานพัสดุ
กาหนดความต้องการ
งบประมาณ

จัดทาแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน

การบริหารสัญญา

การควบคุมและจาหน่ ายพัสดุ

3
หลักความรับผิดชอบ สาระสาคัญตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ข้อ10.
ผูม้ ีอานาจหรือมีหน้ าที ่ หรือผูห้ นึ ง่ ผูใ้ ดกระทาการ
▪ กระทาการโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อไม่ปฏิบตั ิ ตามระเบียบนี้
▪ กระทาโดยเจตนาทุจริต หรือโดยปราศจากอานาจ นอกเหนื ออานาจหน้ าที่
▪ มีพฤติการณ์ที่เอื้ออานวยแก่ผเู้ ข้าเสนอราคาหรือเสนองาน ให้มี
การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็ นธรรม

ให้ถือว่า ผูน้ ัน้ กระทาผิดวินัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ


ข้าราชการหรือตามกฎหมายเฉพาะของส่วนราชการนัน้

4
▪ นอกจากนี้ ยงั ต้องรับผิดในทางแพ่ง ตามกฎหมาย
และระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง

▪ โทษปรับทางปกครอง ตามระเบียบ คตง. ว่าด้วย


วินัยทางการเงินการคลังฯ

▪ อาจต้องรับผิดทางอาญา (เจตนาทุจริต และเกิด


ความเสียหายแก่เงินแผ่นดิน)

5
การทุจริต จะต้องเข้าองค์ประกอบของกฎหมาย
ที่สาคัญ 3 ประการ

1. เกิดความเสียหายแก่เงินแผ่นดิน
2. เจตนากระทาการโดยการหลีกเลี่ยง
หรือละเว้น การปฏิบตั ิ ที่ไม่ชอบ
3. เอื้อประโยชน์ แก่ผห
้ ู นึ่ งผูใ้ ด

6
กฎหมายเกี่ยวกับการพัสดุ
ระเบียบสานัก มติคณะรัฐมนตรี ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีว่าด้วย หนังสือสังการ
่ เรื่อง แนวทางปฏิบตั ิ ในการจัดหา
การพัสดุ พ.ศ.2535 พัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์
และที่แก้ไขเพิ่มเติม และด้วยวิธีประกวดราคา
อิเล็กทรอนิกส์
ลว. 3 กุมภาพันธ์ 2558

อนาคต
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ......

7
กฎ ระเบียบ ด้านพัสดุ
-ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535
และที่แก้ไขเพิ่มเติม จานวน 165 ข้อ
-ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แนวทางปฏิบต ั ิ ในการ
จัดหาพัสดุ ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Market :
e-market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Bidding :e-bidding) จานวน 46 ข้อ
-กฎหมายปปช.
-มติคณะรัฐมนตรี
-หนังสือเวียน ที่เกี่ยวข้อง 8
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
แบ่งออกเป็ น 5 ระยะ คือ

▪ แบบรูป รายการละเอียด ▪ วิ ธีการจัดหา ▪ เจ้าหน้ าที่พสั ดุ ▪ วัสดุ/ครุภณ ั ฑ์/ที่ดิน


▪ แผนจัดซื้อจัดจ้าง ▪ เจ้าหน้ าที่พสั ดุ ▪ คณะกรรมการรับพัสดุ สิ่ งก่อสร้าง
▪ ราคากลาง ▪ คณะกรรมการจัดซื้อ ▪ คณะกรรมการตรวจ ▪ การรับ-เบิกจ่าย
▪ รายละเอียดคุณ จัดจ้าง การจ้าง/ผู้ควบคุมงาน ▪ การตรวจสอบพัสดุ
ลักษณะเฉพาะพัสดุ ▪ ผู้มีอานาจ ▪ หน่ วยงานการเงิ น ประจาปี
▪ เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง (ดาเนิ นการ/สังซื
่ ้อสัง่ ▪ หน่ วยงานทดสอบวัสดุ ▪ การจาหน่ ายพัสดุ
จ้าง)

9
ผูเ้ กี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ
เจ้าหน้ าที่พสั ดุ หัวหน้ าส่วนราชการ
▪ โดยตาแหน่ ง ▪ อธิบดี (ส่วนกลาง)
▪ โดยแต่งตัง้ (ข้าราชการ ้ ่าราชการจังหวัด (ภูมิภาค)
▪ ผูว
ลูกจ้างชัวคราว
่ พนักงาน
ราชการ พนักงานของรัฐ) ผูม้ ีอานาจสังซื
่ ้อสังจ้
่ าง
หัวหน้ าเจ้าหน้ าที่ ▪ หัวหน้ าส่วนราชการ
▪ ปลัดกระทรวง
พัสดุ ▪ รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
▪ โดยตาแหน่ ง
▪ โดยแต่งตัง้ (ข้าราชการ)
คณะกรรมการต่างๆ/
ผูค้ วบคุมงาน 10
ความเสี่ยงจากการจัดทาแผนการจัดซื้อ
วัสดุสิ้นเปลือง (น้ายา Lab)
-ไม่จด
ั ทาแผนการจัดซื้อเป็ นรายปี ส่งผลให้มีการแบ่งซื้อ

-ปริมาณที่ กาหนดไว้ในแผน ไม่สอดคล้องกับการใช้งานจริง

-กาหนดวงเงินงบประมาณสูงกว่าความเป็ นจริง
การจัดทาราคากลาง ตามกฎหมาย ปปช.
วงเงินที่ต้องประกาศ
ให้หน่ วยงานของรัฐประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคานวณราคา
กลางในการจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินเกินกว่าหนึ่ งแสน (100,000) บาท ไม่ว่าจะเป็ นการ
จัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการใดๆ ก็ตาม

วิธีการประกาศ
ให้หน่ วยงานของรัฐประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคานวณราคา
กลางในการจัดซื้อจัดจ้างในระบบฐานข้อมูล (เว็บไซต์) 2 แห่ง ดังนี้
1. ในระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของกรมบัญชีกลาง (ระบบ e-GP)
2. ในเว็บไซต์ของหน่ วยงานของรัฐที่จด
ั ซื้อจัดจ้าง
ความเสี่ยงจากการกาหนดรายละเอียด
คุณลักษณะเฉพาะ (Spec. และราคากลาง)
-การล็อคสเปค กาหนดสเปค กีดกัน เอื้อประโยชน์ ผูเ้ สนอราคา
รายใด รายหนึ่ ง

-การจัดทาราคากลาง สูงเกินจริง ไม่สอดคล้องกับสเปค ที่


กาหนด

-ไม่มีการประกาศราคากลางในเว็ปไซต์ของกรมบัญชี กลาง และ


เว็ปไซต์ ของหน่ วยงาน
อย่างไรเรียกว่า
“ล็อคสเป็ ค”
ุ สมบัติตามเงื่อนไข มากราย
ต้องมี ผูม้ ีคณ
อย่างน้ อย 3 ราย (งานซื้อ 3 ยี่ห้อ) ขึน้ ไป

เกณฑ์การ - ไม่กีดกัน
- ไม่เอื้อประโยชน์
พิจารณา -ไม่เข้าข่ายยี่ห้อใด ยี่ห้อหนึ่ ง
ราคากลางงานซื้อจ้างที่ ปปช.กาหนดให้เปิดเผย ให้ปฎิบตั ิ
ตามหนังสือด่วนที่สดุ ที่ กค 0421.3/ว.111 ลว.17 ก.ย.56 ดังนี้
1. ครุภณ
ั ฑ์ ให้ใช้ราคามาตรฐานที่ สน.งป. กาหนด ไม่มีใช้ราคาที่
เคยซื้อหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปี หรือ ราคาตลาด
2. ยาในบัญชีหลักและยานอกบัญชียาหลัก ให้ใช้ ราคากลางตาม
ประกาศของคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ไม่มีใช้ราคาที่
เคยซื้อหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปี งบประมาณ ไม่มีใช้ราคา
ท้องตลาด
3. เวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา ให้ใช้ราคามาตรฐานที่ สธ. จัดทาขึ้น ไม่มีใช้ราคาที่
เคยซื้อหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปี งบประมาณ ไม่มีให้ใช้ราคา
ท้องตลาด
ความเสี่ยงจากการจัดซื้อวัสดุสิ้นเปลือง
(น้ายา Lab)

-การแบ่งซื้อ
ุ ยพินิจของคณะกรรมการพิจารณาผลการ
-การใช้ดล
ประกวดราคา
-การไม่พิจารณาผูเ้ สนอราคาที่ มีคณ
ุ สมบัติถกู ต้อง
ครบถ้วน ตามเงื่อนไขที่กาหนด และเสนอราคาตา่ สุด
ข้อพึงระวัง
การแบง่ ซื้อแบง่
การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเง จ้ า
ซื้อหรือจ้างในครัง้ เดียวกัน ออกเป็ นหลายครัง้
ง ิ นที่จะ

โดยไม่มีเหตุผลความจาเป็ น และมีเจตนาทีจ่ ะหลีกเลีย่ ง


1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจด
ั หาพัสดุ
2) ให้ผม
ู้ ีอานาจสังซื
่ ้อ สังจ้
่ าง เปลี่ยนไป

17
การทาสัญญาจะซื้อจะขายแบบราคา
คงที่ไม่จากัดปริมาณ
ลักษณะของ สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จากัด
ปริมาณ
เป็ นสัญญาที ่ กวพ. กาหนดขึ้นมา เพือ่ ใช้กบั การซื้อขายทีม่ ี
ราคาพัสดุต่อหน่ วยที่คงที่ แน่ นอนตลอดอายุสญ ั ญา

แต่การจัดซื้อตามสัญญา ผูซ้ ื้อจะทะยอยการสังซื


่ ้อตาม
ความต้องการของผูซ้ ื้อ/ผูข้ ายสัญญาว่าจะเตรียมพัสดุไว้
ให้เพียงพอตามจานวนที่ได้ประมาณการไว้
ความเสี่ยงการขยายระยะเวลา
งด หรือ ลดค่าปรับ
❖ อนุมตั ิ ให้ขยายระยะเวลา งด หรือ ลดค่าปรับ โดยไม่
มีเหตุผล
อันสมควรตามความเป็ นจริง

❖ ผูข
้ ายส่งมอบล่าช้ากว่าสัญญา ไม่มีการแจ้ง
การปรับ
ความเสี่ยงการตรวจรับพัสดุ
หน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
สถานที่ตรวจรับ : ตรวจรับพัสดุ ณ
○ ที่ ทาการของผูใ้ ช้พส ั ดุ
○ สถานที่ ซึ่งกาหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง
○ สถานที่ อื่น ในกรณี ที่ไม่มีสญ ั ญาหรือข้อตกลง
* ต้องได้รบ ั อนุมตั ิ จาก หัวหน้ าส่วนราชการก่อน
ความเสี่ยงการตรวจรับพัสดุ
หลักเกณฑ์การตรวจรับ :-
○ ตรวจให้ถกู ต้องครบถ้วน ตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้
○ กรณี ที่มีการทดลองหรือตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ จะ
เชิญผูช้ านาญการหรือผูท้ รงคุณวุฒิมาให้คาปรึกษา หรือส่งพัสดุนัน้ ไป
ทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานที่ของผูช้ านาญการ หรือผูท้ รงคุณวุฒิกไ็ ด้
○ กรณี จาเป็ นที่ไม่สามารถตรวจนับเป็ นจานวนหน่ วยทัง้ หมดได้
ให้ตรวจรับตามหลักวิชาการสถิติ
ความเสี่ยงการตรวจรับพัสดุ
ระยะเวลาตรวจรับ
โดยปกติ ให้ตรวจรับพัสดุในวันที่ผขู้ ายหรือผูร้ บั จ้างนาพัสดุมาส่ง และให้
ดาเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สดุ

กรณี ตรวจรับถูกต้องครบถ้วน
o รับพัสดุไว้ และถือว่าผูข้ ายหรือผูร้ บั จ้าง ได้ส่งมอบถูกต้องครบถ้วนตัง้ แต่วนั ที่
นาพัสดุนัน้ มาส่ง แล้วมอบแก่เจ้าหน้ าที่พสั ดุ
o ทาใบตรวจรับอย่างน้ อย 2 ฉบับ โดยลงชื่อไว้เป็ นหลักฐาน
(มอบแก่ผข ู้ าย 1 เจ้าหน้ าที่พสั ดุ 1 เพื่อประกอบการเบิกจ่ายเงิน )
o รายงานผลให้หวั หน้ าส่วนราชการทราบ
ความเสี่ยงการตรวจรับพัสดุ
กรณี ตรวจรับไม่ถกู ต้อง
• ไม่ถกู ต้องในรายละเอียด ให้รายงานหัวหน้ าส่วนราชการเพื่อ
สังการทั
่ นที

กรณี ถกู ต้องแต่ไม่ครบจานวน/ หรือครบแต่ไม่ถกู ต้องทัง้ หมด


* ให้รบ
ั เฉพาะที่ถกู ต้อง
• มอบของให้เจ้าหน้ าที่ พส
ั ดุ
• ทาใบตรวจรับ 2 ฉบับ ส่งผูข
้ าย & จนท.พัสดุ
• รีบรายงาน หน.ส่วนราชการ เพื่อแจ้งผูข
้ าย/ ผูร้ บั จ้าง
ทราบภายใน 3 วันทาการ นับแต่วนั ตรวจพบ
ความเสี่ยงการตรวจรับพัสดุ
กรณี พสั ดุเป็ นชุด / หน่ วย
ให้ดวู ่า ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ ง
จะใช้การไม่ได้อย่างสมบูรณ์
* ถือว่ายังไม่ได้ส่งมอบ
* รีบรายงาน หัวหน้ าส่วนราชการทราบ
ภายใน 3 วันทาการ นับแต่ตรวจพบ
ความเสี่ยงการตรวจรับพัสดุ
❖ ตรวจรับพัสดุ ไม่เป็ นไปตามสัญญาหรือข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง
❖ ไม่ตรวจความแท้จริงของพัสดุ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการตรวจรับ
❖ เรื่องมีความเป็ นเทคนิคสูง ซับซ้อนมาก ไม่ใช้บริการผูเ้ ชี่ยวชาญ
❖ ผูร้ บั จ้างส่งมอบงานล่าช้า ไม่ได้แจ้งสงวนสิทธิการปรับตามสัญญา
❖ ไม่ตรวจสอบคุณภาพและปริมาณ
❖ ไม่จดั ทาเกณฑ์การตรวจรับ พิจารณาไปก่อน
❖ ตรวจรับมากหรือน้ อยกว่าสัญญาและเอกสารประกอบสัญญา
❖ ตรวจรับล่าช้ามาก กรรมการติดภารกิจราชการมาก
❖ ตรวจรับพัสดุที่มีความซับซ้อนมาก มีเอกสารมาก
การแต่งตัง้ คณะกรรมการและการทาหน้ าที ่
ของคณะกรรมการชุดต่างๆ ไม่เหมาะสม
- กรรมการบางคน มีการทับซ้อนผลประโยชน์ ส่วนตัว และภารกิจ
ของรัฐ
- กรรมการบางคนขาดความรู้ ประสบการณ์ในพัสดุที่ตรวจสอบ
- กรรมการมีภาระงานมาก ทาให้ไม่มีเวลาปฏิบตั ิ งานในหน้ าที่พสั ดุ
ได้เพียงพอ
- กรรมการถูกแทรกแซงโดยผูบ้ ริหารระดับสูง ผูม้ ีอิทธิพล
- ไม่มีฐานข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจของคณะกรรมการในเรื่องต่างๆ
ที่ควรรู้
- กรรมการไม่ทาหน้ าที่ตามที่ระเบียบกาหนด

26
การกระทาที่มีระดับความเสี่ยงสูง

ไม่มีการควบคุม และการแบ่งแยกหน้ าทีท่ ีส่ าคัญ


❖ ผูท้ ี่ทาหน้ าที่พสั ดุไม่ได้เป็ นเจ้าหน้ าที่พสั ดุโดยตรง
และการมอบหมายให้ปฏิบตั ิ หน้ าที่ ไม่มีคาสัง่
มอบหมาย
❖ ไม่มีการแบ่งแยกหน้ าที่ที่ชดั เจน เช่น เจ้าหน้ าที่
การเงิน และเจ้าหน้ าที่พสั ดุ เป็ นบุคคลคนเดียวกัน
❖ มอบหมายให้ลกู จ้างชัวคราวช่ ่ วยปฏิบตั ิ งานด้านพัสดุ
โดยไม่ตรวจสอบและควบคุม
27
ความเสี่ยงจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
-เจ้าหน้ าที่ ผเ้ ู กี่ยวข้อง ไม่ซื่อสัตย์ สุจริต

- เจ้าหน้ าที่ พส
ั ดุ หัวหน้ าเจ้าหน้ าที่พสั ดุ ผูค้ วบคุมกากับ
ดูแล ขาดทักษะ และองค์ความรู้ในเรื่องการใช้กฎระเบียบ

- ไม่มีระบบการควบคุมภายในที่ ดี เช่น การมอบหมายงาน


การแบ่งแยกหน้ าที่ การตรวจสอบถ่วงดุลที่เหมาะสม

ุ ยพินิจของคณะกรรมการชุดต่าง ๆ และหัวหน้ าส่วน


-การใช้ดล
ราชการ
▪ควรจัดให้มีข้อกาหนดด้านจริยธรรม ให้เจ้าหน้ าที่
และผูบ้ ริหารเกี่ยวกับการบริหารพัสดุ ขึน้ ไว้เป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษร
ข้อห้าม .........................................
ข้อปฏิบตั ิ .....................................
▪หากมีการละเมิด ละเว้น ข้อกาหนดด้านจริยธรรม
ก็ควรมีมาตรการดาเนินการอย่างเป็ นรูปธรรม
ปญั หาการจัดซือ้ วัสดุวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
ในภาพรวม
1. ในการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ยังไม่มีราคากลาง ราคามาตรฐาน
หรือ ราคาอ้างอิงที่ชดั เจน และเป็ นรูปธรรม (ราคาอ้างอิงของกระทรวง
สาธารณสุข)
2. ในการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ยังไม่มี รายละเอียด

คุณลักษณะเฉพาะ (Spec.) ที่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน (Spec.)


ของกระทรวงสาธารณสุข)
3. การจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ของแต่ละหน่ วยงาน มีความแตกต่างด้าน
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Spec.) , ราคาและวิธีการจัดซื้อ

31
ปญั หาการจัดซือ้ วัสดุวทิ ยาศาสตร์การแพทย์
ในภาพรวมของแต่ละ รพ. /เขต/ประเทศ (ต่อ)
4. ชื่อรายการวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ และ หน่ วยนับ ของ
แต่ละหน่ วยงาน มีความแตกต่างกัน ทาให้เปรียบเทียบได้
ไม่ตรงตามข้อเท็จจริง
5. หน่ วยงานที่ จด ั ซื้อมีความเสี่ยงในการจัดซื้อ (จัดซื้อไม่เป็ นไป
ตามระเบียบพัสดุฯ เช่น แบ่งซื้อ แบ่งจ้าง , ล็อคสเปค , จัดซื้อในราคาที่
สูงกว่าที่อื่น

32
การแพทย์
ในภาพรวมของแต่ละ รพ. /เขต/
7. การวางเครื่องของบริษท
ั ฯ ให้ ก บ

ประเทศ (ต่อ)
หน่ วยงานบางแห่ง
ไม่ทราบที่มาที่ไป
8. หน่ วยงานจัดซื้อน้ายาโดยผูกขาด กับ
บริษทั ที่วาง
เครื่อง
33
การจัดซื้อ
วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
แล้วมีการ Contact เครื่อง
ขัดต่อระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการพัสดุ หรือไม่ ?
เหตุผลการจัดซือ้ วัสดุวทิ ยาศาสตร์การแพทย์แลว
Contact เครือ่ง
1. งบประมาณการจัดซื้อเครื่องตรวจวิเคราะห์อต
ั โนมัติไม่เพียงพอ
ั พันธ์กบั อัตรากาลังที่มีอยู่ ผลการตรวจล่าช้าจึง
2. ภาระงานมีมากขึ้นไม่สม
จาเป็ นต้องนาเครื่องอัตโนมัติมาใช้
3. เครื่องวิเคราะห์อตั โนมัติ ตรวจได้เร็วและมีความแม่นยาสูง
4. โรงพยาบาลไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาและค่าอะไหล่ที่
จาเป็ นต้องเปลี่ยน
5. มีระบบ LIS ส่งข้อมูลเชื่อมกับระบบ HIS ลดความผิดพลาดในการ Key
ข้อมูล

35
เหตุผลการจัดซือ้ วัสดุวทิ ยาศาสตร์การแพทย์แลว
Contact เครือ ่ ง (ต่อ)
6. มีช่างหรือผูเ้ ชี่ยวชาญมาช่วยสอนวิธีการใช้ การบารุงรักษาและการแก้ไขปัญหา
เบือ้ งต้นให้
7. เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็วมาก ถ้า Contact เครื่อง บริษท
ั จะเปลี่ยนเครื่องรุ่นใหม่
ให้
8 เมื่อมีปัญหา มีช่างให้คาปรึกษาได้ตลอด 24 ชม. และเดินทางมาแก้ไข

ได้อย่างรวดเร็ว
9. มีเครื่อง Back up ให้

10. มีการ Retraining ให้กบั บุคลากรของโรงพยาบาลโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย

36
ระเบียบพัสดุที่เกี่ยวข้องในการจัดซื้อจัดหา
วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ
แก้ไขเพิ่มเติม
2. แนวทางปฏิบต ั ิ ในการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Market : e-market) และด้วยวิธีประกวดราคา
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e-bidding)
3. แนวทางปฏิบต ั ิ ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการบริหาร
จัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ของส่วนราชการและ
หน่ วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557
4. กฎหมาย ปปช. ว่าด้วยการจัดทาและเผยแพร่ราคากลาง
37
แนวทางการจัดหา
วัสดุวิทยาศาสตร์
การแพทย์
แนวทางการจัดหาวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์

1. การจัดซื้อน้ายา โดยมีเงื่อนไขการ Contact


เครื่อง ไว้ใน TOR.
1.1 ข้อเสีย ราคาน้ายาแพง เพราะบริษท ั ผูข้ าย
มีต้นทุนแฝงในการ Contact เครื่อง
1.2 มีความเสี่ยงในการจัดทาราคากลาง
ในการจัดซื้อ ตามกฎหมาย ปปช.
39
แนวทางการจัดหาวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
(ต่อ)

2. การเช่าเครื่อง
2.1 ต้องกาหนดเงื่อนไข ราคา การจัดซื้อน้ายา (เช่น ราคาค่าเช่าถูก
แต่ราคาน้ายาสูง ทาให้ทางราชการเสียประโยชน์ )
2.2 ระเบียบการจัดซื้อจัดหายาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา
กาหนดให้จดั ทาแผนการจัดซื้อ

40
แนวทางการจัดหาวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
(ต่อ)

3. การจ้างเหมาบริการ Outsourceing
(ต้องการผลสาเร็จของงาน)
3.1 ควรทาในกรณี ทาเองไม่ได้
3.2 จ้างเหมาทัง้ หมด
ลดคน ควบคุมคุณภาพ
4. PPP. การให้เอกชนมาให้บริการสาธารณะแทนเรา

41
สถานการณ์ปจั จุบนั
การจัดซื้อใช้วิธี Contact (เกือบทุกแห่ง)
หน่ วยบริการภาครัฐ
• Reagent, Accessories
• Instrument
• LIS
• ระบบ Maintenance
• Training

42
วิธกี ารจัดซือ้
1. รพศ./รพท.
1.1 สอบราคา
1.2 ประกวดราคา e bidding
2. รพช.
2.1 ตกลงราคา
2.2 สอบราคา
2.3 สอบราคาร่วม

43
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ในขณะนี้
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายการปฏิรปู ระบบการบริหารจัดการ
ของกระทรวงสาธารณสุข ให้เป็ นองค์กรแห่งความโปร่งใส ปราศจากการ
ทุจริต ประพฤติมิชอบ โดยให้ความสาคัญที่จะพัฒนาและส่งเสริมระบบ
ธรรมาภิบาล
ในกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างยาและเวชภัณฑ์
ที่มิใช่ยาของหน่ วยงานต่าง ๆ ในสังกัดให้เป็ นไปอย่างถูกต้อง จึงมีความ
จาเป็ นที่จะต้องพัฒนาระบบและกลไกในการอภิบาลระบบ ให้เกิด
ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ในระบบการบริหารงานของกระทรวง
สาธารณสุข

44
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ในขณะนี้ (ต่อ)
คาสังกระทรวงสาธารณสุ
่ ข ที่ 373/2559 ลงวันที่ 25กุมภาพันธ์ 2559
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการพัฒนาระบบการ
จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่วิเคราะห์ด้วยเครื่องอัตโนมัติ
โดยให้คณะกรรมการ มีอานาจหน้ าที่ดงั ต่อไปนี้
1. จัดทาแนวทางการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ ใช้กบ
ั เครื่อง
อัตโนมัติของโรงพยาบาลในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2. กาหนดศักยภาพของเครื่องวิเคราะห์อต ั โนมัติในโรงพยาบาลระดับต่างๆ
3. ปฏิบต
ั ิ หน้ าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย

45
การขับเคลื่อนแนวทางการพัฒนาระบบการจัดซือ้ วัสดุ
วิทยาศาสตร์การแพทย์ทว่ี เิ คราะห์ดวยเครือ่ งอัตโนมัติ

1. สรุปสถานการณ์ และประเมินระบบ มีเป้ าหมาย มาตรการขับเคลื่อน


มีแนวทางในการดาเนินการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
2. มีฐานข้อมูลเรื่องราคาการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ใช้กบ
ั เครื่อง
อัตโนมัติ
3. การจัดซื้อถูกต้องตามระเบียบพัสดุ
4. มีราคาอ้างอิง ระดับจังหวัด/เขต
5. การจัดซื้อร่วมจังหวัด ร่วมเขต โดยวิธีประกวดราคา e bidding
6. ประกาศแนวทางการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่วิเคราะห์ด้วยเครื่อง
อัตโนมัติ 46
ศศิธร ศรีประดิษฐ
081-8424267
ID line Sasithorn_moo
Sasithorn.ppk@gmail.com

You might also like