อจท. แผน 3-2 พุทธศาสนา ม.4

You might also like

You are on page 1of 12

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)


1 ชัวโมง

1 สาระสำคัญ/ความคิ ดรวบยอด
ขันธ์ 5 เป็ นข้อธรรมในหมวด ทุกข์ (ธรรมทีค่ วรรู)้ ทำให้รอู้ งค์ประกอบของชีวติ ความจริงทีเ่ ป็ นทุกข์

2 ตัวชี้วดั /จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วดั
ส 1.1 ม.4-6/13 วิเคราะห์หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักคำสอนของศาสนาทีต่ นนับถือ
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- อธิบายองค์ประกอบของขันธ์ 5 และยกตัวอย่างประกอบได้

3 สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 อริยสัจ 4
- ทุกข์ (ธรรมทีค่ วรรู)้
- ขันธ์ 5  นามรูป
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ น่
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4 สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน
4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
4.2 ความสามารถในการคิ ด
1) ทักษะการวิเคราะห์ 2) ทักษะการสรุปลงความเห็น
3) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซื่อสัตย์สจุ ริต 2. มีวนิ ยั 3. ใฝเ่ รียนรู้

6 กิ จกรรมการเรียนรู้
วิ ธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคคู่คิด

139
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
 นักเรียนสวดมนต์บชู าพระรัตนตรัยและทำสมาธิก่อนเรียน

ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สือ่ การเรียนรู้ : บัตรภาพ
1. ครูนำภาพคนในวัยและอิรยิ าบถต่างๆ มาให้นกั เรียนดู แล้ว
ถามความรูส้ กึ ของนักเรียน เมือ่ เห็นภาพดังกล่าว
2. ครูสมุ่ นักเรียน 4-5 คน ออกมาแสดงความรูส้ กึ ต่อภาพหน้า
ชัน้ เรียน ครูอธิบายให้นกั เรียนเข้าใจว่า องค์ประกอบของ
ชีวติ ทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยองค์ประกอบใหญ่ๆ
2 อย่าง คือ ส่วนทีเ่ ป็ นรูปธรรม และส่วนทีเ่ ป็ นนามธรรม
ซึง่ รวมเรียกสัน้ ๆ ว่า นามรูป นามรูปแยกย่อยออกเป็ น 5
ส่วน เรียกว่า เบญจขันธ์ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ

ขัน้ สอน
สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : คำถามกระตุ้นความคิ ด
1. หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.4
1. นักเรียนเคยมีความทุกข์ทางกายอย่างไรบ้าง
2. หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
3. ใบงานที่ 3.2 มีสาเหตุมาจากอะไร
4. ห้องสมุด (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
5. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
1. ครูอธิบายให้นกั เรียนเข้าใจว่า รูป คือ ส่วนทีเ่ ป็ นร่างกาย 2. นักเรียนเคยมีความทุกข์ทางใจอย่างไรบ้าง
และพฤติกรรมทัง้ หมดของร่างกาย ประกอบด้วย ธาตุดนิ มีสาเหตุจากอะไร
ธาตุน้ำ ธาตุไฟ และธาตุลม เมือ่ นักเรียนมองภาพเด็ก ภาพ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น
ที่ 1 หน้าตาของเด็กน่ารัก ซึง่ ประกอบด้วยธาตุทงั ้ 4 แล้ว ดุลยพินิจของครูผสู้ อน)
เกิดความรูส้ กึ สบายใจ เป็ นขัน้ เวทนา จากนัน้ เป็ นขัน้
สัญญา คือ แยกแยะได้วา่ ภาพนัน้ เป็ นภาพคนทีอ่ ยูใ่ นวัย
เด็ก รูปร่างสมบูรณ์ จากนัน้ เป็ นขัน้ สังขาร คือ สิง่ ปรุงแต่ง
จิต กระตุน้ ให้อยากกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกได้
ว่า เป็ นแรงจูงใจ เช่น อยากอุม้ เด็กคนนัน้ อยากจับแก้ม
เด็ก อยากสัมผัสเด็ก แล้วก็เอามือไปสัมผัส เป็ นขัน้
วิญญาณ ซึง่ เป็ นการรับรูท้ างกายด้วยการสัมผัส เรียกว่า
กายวิญญาณ ถ้าเป็ นผูร้ บั รูท้ างสายตา เรียกว่า จักขุ
วิญญาณ
2. นักเรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2

3. ครูอธิบายและยกตัวอย่างภาพประกอบเพิม่ เติมให้นกั เรียน


เข้าใจ ซึง่ อาจจะเป็ นภาพคนแก่ คนเจ็บปว่ ย นางงามหรือ
ดารา หรืออาจจะยกตัวอย่างบุคคลจริงตามความเหมาะสม
แล้วเชือ่ มโยงให้เข้าใจองค์ประกอบของขันธ์ 5 คือ
1) รูป

140
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
2) เวทนา
3) สัญญา
4) สังขาร
5) วิญญาณ
4. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1) จับคูก่ นั
เป็ น 2 คู่ ให้แต่ละคูศ่ กึ ษาความรูเ้ พิม่ เติมเรือ่ ง ขันธ์ 5 จาก
หนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม ห้องสมุด และแหล่ง
ข้อมูลสารสนเทศ และช่วยกันทำใบงานที่ 3.2 เรื่อง ชีวิตที่
มีทกุ ข์
5. นักเรียนนำความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาบันทึกลงในแบบ
บันทึกการอ่าน
6. สมาชิกแต่ละคูใ่ นกลุ่มผลัดกันอธิบายคำตอบในใบงานที่
3.2 และช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
7. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ 3.2 โดย
สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันตรวจสอบคำตอบในใบงาน และ
แก้ไขในส่วนทีบ่ กพร่อง และเพิม่ เติมให้มคี วามสมบูรณ์

ขัน้ สรุป
สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ : —
1. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรูเ้ รือ่ ง ขันธ์ 5
2. ครูมอบหมายให้นกั เรียนแต่ละคนช่วยกันหาเนื้อเพลงทีม่ ี
ความหมายเกีย่ วกับกฎแห่งกรรมมาล่วงหน้า เพือ่ ปฏิบตั ิ
กิจกรรมในชัวโมงต่
่ อไป

7 การวัดและประเมิ นผล
วิ ธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 3.2 ใบงานที่ 3.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบบันทึกการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความซื่อสัตย์สจุ ริต มีวนิ ยั และใฝเ่ รียนรู้ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สือ่ การเรียนรู้
1) หนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.4
2)หนังสือค้นคว้าเพิม่ เติม
(1) เสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2545. ธรรมนอกธรรมาสน์ . กรุงเทพมหานคร : มติชน.
(2) เสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2544. เพื่อความเข้าใจที่ถกู ต้องเกี่ยวกับหลักธรรม.

141
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
กรุงเทพมหานคร : หอรัตนชัยการพิมพ์.
3)บัตรภาพ
4)ใบงานที่ 3.2 เรือ่ ง ชีวติ ทีม่ ที ุกข์
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.oknation.net/blog/print.php?id=262747
- http://th.wikipedia.org/wiki/ขันธ์

142
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

บัตรภาพ


ภาพวัยเด็ก ภาพวัยรุ่น

ภาพคนชรา ภาพคนกำลังมีความสุข

ภาพเด็กขาดอาหาร ภาพคนเจ็บป่ วย

ที่มา : ภาพที่ 1 http://dek-d.com/board/view.php?id=1872552


ภาพที่ 2 http://maneerat.com
1 2 ภาพที่ 3
3HYPERLINK
4 "http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=rudee&month=26-06-2009&group" http://www.bloggang
.com/mainblog.php?id=rudee&month=26-06-2009&group
5 6
=3&gblog=267
ภาพที่ 4 http://women.sanook.com/923859/
ภาพที่ 5 http://www.suriyothai.ac.th/th/node/998?page=0%2C1
ใบงานทีภาพที
่ ่ 6 http://www.gotoknow.org/blogs/posts/21422

143
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

3.2 ชีวิตที่มีทุกข์
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านกรณีศกึ ษา แล้วตอบคำถาม

กรณี ศึกษาที่ 1
สมชาย ได้รบั อุบตั เิ หตุถกู รถยนต์ชนศีรษะกระแทกเลือดไหล ถูกนำส่งโรงพยาบาล แพทย์เย็บแผล 15 เข็ม
สมชายต้องนอนอยูใ่ นโรงพยาบาล เขาปวดแผลทีบ่ ริเวณกลางศีรษะมาก เขาเอามือคลำศีรษะมีความรูส้ กึ ว่าเลือดยัง
ซึมอยูท่ บ่ี าดแผล

 กรณีศกึ ษานี้สอดคล้องกับขันธ์ 5 อย่างไร

กรณี ศึกษาที่ 2

 ดาราสาวในภาพนี้สามารถอธิบายเชือ่ มโยงกับขันธ์ 5 ได้อย่างไร

ใบงานที่
3.2 ชีวิตที่มีทุกข์

144
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
คำชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านกรณีศกึ ษา แล้วตอบคำถาม

กรณี ศึกษาที่ 1
สมชาย ได้รบั อุบตั เิ หตุถกู รถยนต์ชนศีรษะกระแทกเลือดไหล ถูกนำส่งโรงพยาบาล แพทย์เย็บแผล 15 เข็ม
สมชายต้องนอนอยูใ่ นโรงพยาบาล เขาปวดแผลทีบ่ ริเวณกลางศีรษะมาก เขาเอามือคลำศีรษะมีความรูส้ กึ ว่าเลือดยัง
ซึมอยูท่ บ่ี าดแผล

 กรณีศกึ ษานี้สอดคล้องกับขันธ์ 5 อย่างไร


สมชายมีรา่ งกาย คือ รูป ประกอบด้วย ธาตุ 4 สมชายศีรษะแตกเลือดไหล เกีย่ วข้องกับอาโปธาตุ หรือธาตุน้ำ คือ
ส่วนทีด่ ดู ซึมเอิบอาบ สมชายปวดแผลมีความรูส้ กึ ไม่สบายใจ เกีย่ วข้องกับ ทุกขเวทนา คือ ความรูส้ กึ ไม่สบายใจ
สมชายปวดบาดแผลตรงกลางศีรษะ เกีย่ วข้องกับ สัญญา คือ สามารถแยกแยะว่าอะไรเป็ นอะไร การรับรูว้ า่ ศีรษะ
ของสมชายแตกนัน้ รับรูผ้ า่ นกายวิ ญญาณ คือ การสัมผัสทางกาย

กรณี ศึกษาที่ 2

 ดาราสาวในภาพนี้สามารถอธิบายเชือ่ มโยงกับขันธ์ 5 ได้อย่างไร


1) รูป มองดูรปู แล้วทัง้ หมด คือ ร่างกายของมนุษย์ ซึง่ ประกอบด้วย ธาตุดนิ ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม
2) เวทนา ดูแล้วเกิดความสบายใจ
3) สัญญา ดูภาพแล้วแยกแยะได้วา่ เป็ นผูห้ ญิงสวย
4) สังขาร ดูแล้วเกิดสิง่ ปรุงแต่งทางจิต อยากเป็ นคนสวยอย่างนัน้ บ้าง หรือถ้าเป็ นชายก็อยากมีแฟ นสวยอย่างนี้บา้ ง
5) วิญญาณ ดูภาพนี้โดยผ่านประสาทสัมผัส คือ ตา หรือการมองเห็น

145
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

แบบบันทึกการอ่าน
ชือ่ หนังสือ ชือ่ ผูแ้ ต่ง นามปากกา
สำนักพิมพ์ สถานทีพ่ มิ พ์ ปีทพ่ี มิ พ์
จำนวนหน้า ราคา บาท อ่านวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา

1. สาระสำคัญของเรือ่ ง

2. วิเคราะห์ขอ้ คิด/ประโยชน์ทไ่ี ด้จากเรือ่ งทีอ่ ่าน

3. สิง่ ทีส่ ามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

4. ข้อเสนอแนะของครู

ลงชือ่ นักเรียน ลงชือ่ ผูป้ กครอง


( ) ( )

ลงชือ่ ครูผสู้ อน
( )

เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานมีความสมบูรณ์ชดั เจน ให้ 4 คะแนน ผล
งานมีข้อบกพร่องเป็ นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้ อย ให้ 3 คะแนน ผลงานมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน

146
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

แบบสังเกตพฤติ กรรม การทำงานกลุ่ม


คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง
ทีต่ รงกับระดับคะแนน

การแก้ไข
ความ การแสดง การรับฟัง
ความตัง้ ใจ ปัญหา/หรือ รวม
ลำดับ ชื่อ-สกุล ร่วมมือกัน ความคิ ด ความคิ ด
ทำงาน ปรับปรุง ผล 20
ที่ ของผูร้ บั การประเมิ น ทำกิ จกรรม เห็น เห็น
งานกลุ่ม คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่าช่งสม่ำเสมอ
วงคะแนน ให้ ระดับ4คุณภาพ
คะแนน 18 - 20 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั 14ง้ - 17ให้ 3 คะแนน
ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั10ง้ - 13ให้ 2 คะแนน
พอใช้
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครั ง้ า 10ให้
ต่ำกว่ 1 ปรัคะแนน
บปรุง

แบบประเมิ น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
147
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

คำชี้แจง : ให้ ผูส้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่อง


ทีต่ รงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมือ่ ได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ
กษัตริ ย์ เพลงชาติ
1.2 ปฏิบตั ติ นตามสิทธิและหน้าทีข่ องนักเรียน
1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำงานกับสมาชิกในโรงเรียน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีส่ ร้างความสามัคคี
ปรองดอง และเป็ นประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถือ ปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนา
ตามโอกาส
1.6 เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสถาบันพระมหากษัตริยต์ ามทีโ่ รงเรียนและ
ชุมชนจัดขึน้
2. ซื่อสัตย์ สุจริ ต 2.1 ให้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง และเป็ นจริง
2.2 ปฏิบตั ใิ นสิง่ ทีถ่ ูกต้อง ทำตามสัญญาทีต่ นให้ไว้กบั เพือ่ น พ่อแม่ หรือผู้
ปกครอง และครู
2.3 ปฏิบตั ติ นต่อผูอ้ ่นื ด้วยความซื่อตรง ไม่หาประโยชน์ในทางทีไ่ ม่ถูกต้อง
3. มีวินัย รับผิด 3.1 จัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนฝึกปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อ
ชอบ บังคับของครอบครัว โรงเรียน ตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ
ในชีวติ ประจำวัน และรับผิดชอบในการทำงาน
4. ใฝ่ เรียนรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูต้ ่างๆ
4.2 มีการจดบันทึกความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ
4.3 สรุปความรูไ้ ด้อย่างมีเหตุผล
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ ของตนเอง เช่น สิง่ ของ เครือ่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุม้ ค่า
และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม
5.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุม้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
5.3 ปฏิบตั ติ นและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล
5.4 ไม่เอาเปรียบผูอ้ ่นื และไม่ทำให้ผอู้ ่นื เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมือ่ ผูอ้ ่นื
กระทำผิดพลาด

148
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)

คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิ น
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
5.5 วางแผนการเรียน การทำงานและการใช้ชวี ติ ประจำวันบนพืน้ ฐานของ
ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร
5.6 รูเ้ ท่าทันการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและ
แบบบันทึกหลังแผนการสอน
ปรับตัว อยูร่ ว่ มกับผูอ้ ่นื ได้อย่างมีความสุข
6. มุ่งมันในการ
่ 6.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบตั หิ น้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
ทำงาน 6.2 ตัง้ ใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ
6.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานอย่างรอบคอบ
6.4 ทุม่ เท ทำงาน อดทน ไม่ทอ้ ต่อปญั หาและอุปสรรค
6.5 พยายามแก้ปญั หาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ
6.6 ชืน่ ชมผลงานความสำเร็จด้วยความภาคภูมใิ จ
7. รักความเป็ นไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครูทำงาน
8.2 อาสาทำงาน ช่วยคิด ช่วยทำ และแบ่งปนั สิง่ ของให้ผอู้ ่นื
8.3 รูจ้ กั การดูแล รักษาทรัพย์สมบัตแิ ละสิง่ แวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน
ชุมชน
8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน

ลงชือ่ .................................................... ผูป้ ระเมิน


................ /................ /................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ


ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน 104 - 124 ดีมาก
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน 183 - 103 ดี
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมน้ อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 62 - 82 พอใช้
ต่ำกว่า 62 ปรับปรุง

149
พระพุทธศาสนา ม.4
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
เรื่องที่ 2 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
Ÿ ด้านความรู้

Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Ÿ ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมทีม่ ปี ญั หาของนักเรียนเป็ นรายบุคคล (ถ้ามี))

Ÿ ปญั หา/อุปสรรค

Ÿ แนวทางการแก้ไข

ความเห็นของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาหรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมาย


ข้อเสนอแนะ

ลงชือ่
( )
ตำแหน่ง

150
พระพุทธศาสนา ม.4

You might also like