You are on page 1of 7

เวลาในการสอบ 180 นาที

จำนวนข้อสอบปรนัย ไม่นอ้ ยกว่า 120 ข้อ


จำนวนข้อสอบอัตนัย ไม่น้อยกว่า 0 ข้อ
ผังการสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) สาขาวิชา/วิชาเอก ดนตรีศึกษา
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐานความรู้หรือสมรรถนะทางวิชาชีพครูตามมาตรฐานวิชาชีพที่คุรุสภากำหนด :
• ต้องมีความรอบรู้และเข้าใจในเรื่องเนื้อหาวิชาที่สอน
สมรรถนะตามประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง รายละเอียดมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพครู ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิ ชาชีพ (ฉบับบที่ 4) พ.ศ.2562 :
• รอบรู้ของเนื้อหาในสาขาวิชาเอกที่สอน และบูรณาการองค์ความรู้ในวิชาเอกสำหรับการเรียนการสอนได้
มาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ :
• (ข้อ 5.2.2) มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหาวิชาที่สอน
• สามารถวิเคราะห์ความรู้และเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง
• สามารถติดตามความก้าวหน้าด้านวิทยาการและนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียน โดยมีผลลัพธ์การเรียนรู้และเนื้อหาสาระด้านมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ของแต่ละสาขาวิชา

ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีฯ (มคอ.1) หลักสูตร 4 ปี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชา ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์


ผู้เรียนมีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเนื้อหาวิชาชีพทางด้าน ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ มีสุนทรียภาพ สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์งาน ออกแบบและสร้างสรรค์และแสดงผลงาน
ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ สามารถออกแบบและจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการการจั ดการเรียนรู้ในกลุ่มสาขาและบูรณาการข้ามศาสตร์ข้ามวัฒ นธรรม ก ารผลิ ตและใช้สื่อ เทคโนโลยี ที่ทั นสมั ย การจั ด
สภาพแวดล้อมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้านศิลปะดนตรีนาฏศิลป์ มีความเข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยงานสร้างสรรค์และงานนวัตกรรม สู่นวัตศิลป์การวิจัย เพื่อแก้ปัญหาพัฒนาผู้เรียนและการประเมินผลการเรียนรู้
สามารถทําวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนา การเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเป็นผู้ร่วมสร้างนวัตกรรม ตลอดจนติ ดตามความก้าวหน้าทางด้านศิลปะ ดนตรีนาฏศิลป์ สามารถวิเคราะห์ ความมรู้
เนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และการปฏิบัติงานวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
ตัวอย่าง/ข้อเสนอสาระความรู้ อาทิ
1) สุนทรียศาสตร์กับดนตรีศึกษา
2) ทฤษฎีดนตรี
3) ประวัติ ปรัชญา ดนตรี
(3.1) ดนตรีในยุคต่างๆ
(3.2) ความสัมพันธ์ของดนตรี ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
4) ดนตรีระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา
5) การจัดการเรียนรู้ดนตรี
6) จิตวิทยาการจัดเรียนรู้ดนตรี

1
7) เทคโนโลยีในดนตรีศึกษา
8) ทักษะดนตรี
(8.1) การอ่านออกเสียงโน้ตและพัฒนาโสตประสาท
(8.2) การขับร้องและการขับร้องประสานเสียง
(8.3) การบรรเลงและการแสดงและการถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรี
9) หลักการวิจารณ์ วิเคราะห์ วิพากษ์ กฎเกณฑ์ด้านดนตรี
10) การซ่อมแซมและบํารุงรักษาเครื่องดนตรี
ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีฯ (มคอ.1) หลักสูตร 5 ปี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ วิชาเอกดนตรีศึกษา
1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรมจริยธรรมสําหรับครูสอนดนตรีศึกษา
2) ด้านความรู้
บูรณาการของความรู้ดนตรีศึกษาที่ครอบคลุมไม่น้อยกว่าหัวข้อต่อไปนี้
2.1) ทักษะดนตรี
(1) ทักษะพื้นฐานที่สําคัญทั้งในเครื่องมือเอกของตนและทักษะเบื้องต้นของการขับร้องและบรรเลงเครื่องดนตรีอื่นๆ
(2) การพัฒนาโน้ต ทักษะการขับร้องและการบรรเลงร่วมกันเป็นกลุ่ม
2.2) ทฤษฎีดนตรี
ทฤษฎีดนตรีเบื้องต้นที่เกี่ยวกับการสร้างงานดนตรี ระบบประสานเสียงทั้งในระบบสากล และระบบของดนตรีไทย
2.3) ประวัติศาสตร์และวรรณคดีดนตรี
(1) การจัดระบบการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ดนตรีทั้งของไทยและในระบบสากล
(2) วรรณคดีสําคัญในยุคต่างๆ
2.4) สุนทรียศาสตร์
3) ด้านทักษะทางปัญญา
การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ประเมินค่า และนําความรู้เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สาขาดนตรี ศึกษาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้แก้ปัญหา การพัฒนาผู้เรียน
และการวิจัยต่อยอดองค์ความรู้มีความเป็นผู้นําในการปฏิบัติงานอย่างมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาการสอนดนตรีศึกษา
4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
มีความไวในการรับรู้ความรู้สึกของผู้เรียนดนตรีระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เอาใจใส่ในการรับฟัง และพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างมีความรับผิดชอบ

2
5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสารสนเทศ
มีความไวในการวิเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดข้อมูลข่าวสารด้านดนตรีจากผู้เรี ยน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สามารถสื่อสาร มีดุลยพินิจในการเลือกใช้และนําเสนอข้อมูล
สารสนเทศสําหรับผู้เรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6) ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
6.1) มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ดนตรีที่มีรูปแบบหลากหลายทั้ง รูปแบบที่เป็นทางการ (Formal) รูปแบบกึ่งทางการ (Non-formal) และรูปแบบไม่เป็นทางการ (Informal)
อย่างสร้างสรรค์
6.2) มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ดนตรีสําหรับผู้เรียนที่หลากหลาย ทั้งที่มีความสามารถพิเศษ ที่มีความสามารถปานกลาง และที่มีความต้องการพิเศษอย่างมีนวัตกรรม
6.3) มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ในวิชาเอกดนตรีศึกษาอย่างบูรณาการ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามความคิดเห็นของคณาจารย์ที่เข้าร่วมการจัดทำผังการสร้างข้อสอบ กลุ่มสาขาวิชาดนตรี ศึกษา :
ผู้เรียนมีความรอบรู้และเข้าใจในเนื้อหาสาระสำคัญทางด้านดนตรี สามารถบูรณาการองค์ความรู้ทางด้านดนตรีศึกษา ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
แบ่งสามารภสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนรายวิชาดนตรีศึกษา ออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. มีความรอบรู้และเชี่ยวชาญด้านเนื้อหาสาระดนตรี (Music content) สามารถวิเคราะห์ความรู้และเนื้อหาสาระวิชาที่สอนได้อย่างลึกซึ้ง
1.1 องค์ประกอบดนตรี (Music elements)
1.1.1 จังหวะ (Rhythm) (10%)
1.1.2 ทำนอง (Melody) (5%)
1.1.3 เสียงประสาน (Harmony) (5%)
1.1.4 รูปแบบ (Form) (5%)
1.1.5 สีสัน (Tone color หรือ Timbre) (5%)
1.2 วรรณคดีดนตรี (Music literature)
1.2.1 บทเพลง (Repertoire) (10%)
1.2.2 ประวัติดนตรี (Music history) (10%)
2. มีทักษะและความสามารถทางดนตรี (Music skills) สามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมและสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีได้อย่างหลากหลาย
2.1 ทักษะการฟัง (Listening) (5%)
2.2 ทักษะการอ่านและการร้อง (Reading and Singing) (5%)
2.3 ทักษะการเล่นดนตรีและรวมวงดนตรี (Playing and Ensemble) (10%)
2.4 ทักษะการเคลื่อนไหว (Moving) (5%)

3
2.5 ทักะการสร้างสรรค์ (Creating) (5%)
3. มีความรอบรู้และเชี่ยวชาญด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ทางดนตรี สามารถบูรณาการความรู้ไปสู่การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
3.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สาระดนตรี) (10%)
3.2 การจัดการเรียนรู้ดนตรี (10%)

โครงสร้างการทดสอบ : วิชาเอกดนตรีศึกษา
ระดับการวัดและน้ำหนัก
มาตรฐานฯ / สมรรถนะฯ /
ขอบข่าย/ประเด็นการทดสอบ น้ำหนัก ความจำ ความ นำไป การคิดขั้นสูง หมายเหตุ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์/ ประเมิน
สร้างสรรค์
1. มีความรอบรู้และเชี่ยวชาญ 1.1 องค์ประกอบดนตรี (Music elements)
ด้านเนื้อหาสาระดนตรี (Music 1.1.1 จังหวะ (Rhythm) 10%
content) สามารถวิเคราะห์ 1.1.1.1 เครื่องหมายกำหนดจังหวะ (Time Signature) 4 2 11 อ.ต้าร์ 1 2 1 อ.โทน
ความรู้และเนื้อหาสาระวิชาที่ 1.1.1.2 อัตราจังหวะของดนตรีสากล 4 2 01 อ.ต้าร์ 31 อ.โทน 1
สอนได้อย่างลึกซึ้ง 1.1.1.3 อัตราจังหวะของดนตรีไทย อัตรา จว. หน้าทับ 4 2 1 อ.เต้ย 01 อ.ตั๋ง 2 2
1.1.2 ทำนอง (Melody) 5%
1.1.2.1 สัญลักษณ์ทางดนตรี 2 1 1 อ.เหน๋อ1 1 0
1.1.2.2 บันไดเสียงทั้งทางเมเจอร์และทางไมเนอร์ 1 1 0 1 0 1 อ.โทน
1.1.2.3 ระบบเสียงทางดนตรีไทย 1 1 0 1 อ.ตั๋ง1 0
1.1.2.4 การเคลื่อนที่ของทำนองเพลง 1 1 0 0 1 1 อ.เหน๋อ
1.1.2.5 ทำนองหลักในดนตรีไทย 1 1 0 0 1 1 อ.ตั๋ง
1.1.3 เสียงประสาน (Harmony) 5%
1.1.3.1 ขั้นคู่เสียง (Intervals) 2 1 1 0 1 1 อ.เหน๋อ
1.1.3.2 คอร์ด (Chords) 2 1 1 0 1 1 อ.เหน๋อ
1.1.3.3 การประสานเสียงดนตรีไทย 2 1 1 0 1 1 อ.ตั๋ง

4
ระดับการวัดและน้ำหนัก
มาตรฐานฯ / สมรรถนะฯ /
ขอบข่าย/ประเด็นการทดสอบ น้ำหนัก ความจำ ความ นำไป การคิดขั้นสูง หมายเหตุ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์/ ประเมิน
สร้างสรรค์
1.1.4 รูปแบบ (Form) 5%
1.1.4.1 รูปแบบของเพลงร้อง 3 1 1 อ.ยุ
0 ้ย 3 ข้อ0
อ.ตั๋ง อ.เหน๋อ
1.1.4.2 รูปแบบบทเพลงบรรเลง 4 1 1 1อ.เอ็1กซ์ 0 02

}
1.1.4.3 โครงสร้างของเพลงเกร็ด 1 1 0 0
1.1.4.4 โครงสร้างเพลงโหมโรง 1 1 0 0
อ.เอ็กซ์ อ.เอ็กซ์
1.1.4.5 โครงสร้างของเพลงเถา Thai 2 1 1 1 1 0 0

}
1.1.4.6 โครงสร้างเพลงเรื่อง 1 1 0 0
1.1.5 สีสัน (Tone color) 5% อ.ตาร์
1.1.5.1 ประเภทของเครื่องดนตรี W 1 0 1

}
2 0 2
1.1.5.2 ประเภทของวงดนตรี 1 0 0 1
1.1.5.3 วิธีการบรรเลงรูปแบบต่างๆ T 1 1 0พ่อวั1ธ 1 0
1.1.5.4 วัสดุที่ใช้ทำเครื่องดนตรีที่มีผลต่อคุณภาพของเสียง 1 0 1 0
1.1.5.5 ลักษณะทางกายภาพของเครื่องดนตรี 1 0 1 0
1.2 วรรณคดีดนตรี (Music literature)
1.2.1 บทเพลง (Repertoire) 10%
1.2.1.1 เพลงพื้นบ้าน (Folk music) 2 4 พ่อวัธ
1 0พ่อ1วัธ 3 1
1.2.1.2 บทเพลงในสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย 2 4 01 พ่อวัธ
3 1พ่อวัธ
1
1.2.1.3 สุนทรียศาสตร์ทางดนตรี 2 พ่ อ วั ธ พ่ อ วั ธ
4 01 4 1 0
1.2.2 ประวัติดนตรี (Music history)
10%
1.2.2.1 ยุคสมัยทางดนตรีไทยและตะวันตก F+T+W : 3
6 3 3 เต้ย เอ็0กซ์ โทน 3
1.2.2.2 ประวัติและผลงานคีตกวีไทยและคีตกวี F+T+W : 3
6 3 3 เต้ย เอ็0กซ์ โทน 3

5
ระดับการวัดและน้ำหนัก
มาตรฐานฯ / สมรรถนะฯ /
ขอบข่าย/ประเด็นการทดสอบ น้ำหนัก ความจำ ความ นำไป การคิดขั้นสูง หมายเหตุ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ เข้าใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์/ ประเมิน
สร้างสรรค์
2. มีทักษะและความสามารถ 2.1 ทักษะการฟัง (Listening) 5% อ.โทน อ.ต้าร์
ทางดนตรี (Music skills) 2.1.1 ทักษะการฟังดนตรี 2 6 2 1 4 0 1
สามารถนำไปใช้ในการจัด 2.2 ทักษะการอ่านและร้อง (Reading and Singing) 5% อ.ตั๋ง อ.ต้าร์
กิจกรรมและสร้างสรรค์ผลงาน 2.2.1 ทักษะการอ่านโน้ตดนตรีไทยและตะวันตก 2 3 0 1 2 1 1
ทางดนตรีได้อย่างหลากหลาย 2.2.2 ทักษะการขับร้องเพลงไทยและเพลงตะวันตก 3 0 3 0
2.3 ทักษะการเล่นดนตรีและการรวมวงดนตรี 10%
อ.ต้าร์
2.3.1 วิธีการฝึกปฏิบัติทางดนตรี 2 6 1 4 2 1
2.3.2 หลักการรวมวงดนตรีไทยและดนตรีตะวันตก 2 6 1 1 4 1 1
2.4 ทักษะการเคลื่อนไหว (Moving) 5% อ.เต้ย อ.ไก๋
2.4.1 ทักษะการเคลื่อนไหวตามแนวคิดการสอนดนตรี 1 6 11 4 1
2.5 ทักษะการสร้างสรรค์ (Creating) 5% อ.ไก๋
อ.เอ็กซ์
2.5.1 การสร้างสรรค์บทเพลงไทยและตะวันตก 1 6 1 4 1 1
3. มีความรอบรู้และเชี่ยวชาญ 3.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 51 (สาระดนตรี) 10%
ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ 3.1.1 มาตรฐานการเรียนรู้และชี้วัด (สาระดนตรี) 1 6 2 1 อ.ไก๋ 2 2
ทางดนตรี สามารถบูรณาการ 3.1.2 แนวทางการจัดทำหลักสูตรดนตรี 1 6 2 1 อ.ไก๋ 2 2
ความรู้ไปสู่การจัดการกิจกรรม 3.2 การจัดการเรียนรู้ดนตรี 10% อ.ไก๋ อ.ไก๋
การเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างมี 3.2.1 แนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดนตรี 2 4 11 3 1 0
ประสิทธิภาพ 3.2.2 การผลิตสื่อประกอบการสอน 1 4 1 1 อ.โทน 3 0
3.2.3 การวัดและปะเมินผลทางดนตรี 1 4 1 1 อ.เต้ย 3 0
รวม 100% 25% 50% 25%
120 ข้อ 30 ข้อ 60 ข้อ 30 ข้อ

6
ข้อสังเกต เงื่อนไข และข้อเสนอแนะในการสร้างแบบทดสอบสาขาวิชา/วิชาเอก ดนตรีศึกษา
1. การจัดทำข้อสอบจะต้องพิจารณาข้อความเนื้อหาของทั้งวิชาดนตรีไทยและดนตรีตะวันตกให้ชัดเจน เพื่อไม่ให้เกิดความสับสันในการตีความ
2. การจัดทำข้อสอบจะต้องคำนึงถึงจำนวนของข้อสอบ โดยจะต้องมีทั้งในส่วนของการบูรณาการเนื้อหาวิชาและส่วนที่แยกย่อยออกเป็นดนตรีไทยและดนตรีตะวันตกในสัดส่วนที่เท่า ๆ กัน
3. การจัดทำข้อสอบจะต้องคำนึกถึงพื้นฐานความรู้ดนตรีไทยและดนตรีตะวันตกอย่างเหมาะสม โดยจะต้องมุ่งไปที่การนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนมากกว่าการนำไปใช้เพื่อการแสดง

ผู้ทรงคุณวุฒิ สาขาวิชา / วิชาเอก ดนตรีศึกษา :


1. ผศ.อัญชนา สุตมาตร 4. ผศ.อุทาน บุญเมือง 7. ผศ.สุรศักดิ์ จำนงค์สาร
2. รศ.พัชธรภรณ์ เอื้อจิตเมศ 5. ผศ.พีระชัย ลี้สมบูรณ์ผล 3. ผศ.ธิติ ปัญญาอินทร์ 6. ผศ.อาทิตย์ โพธิ์ศรีทอง

ผังการสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) สาขาวิชา/วิชาเอกดนตรีศึกษา

ลายมือชื่อ.........................................................................ผู้จัดทำผังการสร้างข้อสอบวิชาเอกดนตรีศึกษา
(…………………………………………………..)
............./...................../..................

รวมข้อสอบ 20 พฤษภาคม 64

You might also like