You are on page 1of 85

ค�ำน�ำ

ยาจีนเป็นขุมทรัพย์ทางปัญญา อันทรงคุณค่าของบรรพชนที่ได้
สั่งสมองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น พัฒนาและผสมผสานแนวคิดในการจัดการยาจีน
ผ่านวิถีธรรมชาติทั้งกาย-จิต และสรรพสิ่งหล่อหลอมรวมกัน กลายเป็น
พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2556 แนวคิดการจัดการและการบริหารยาจีนบนทฤษฎีเกื้อกูลหยินหยาง ต่อตรง
เชื่อมถึงอวัยวะภายในซ่อมแซมบ�ำรุงส่วนที่สูญเสียเพื่อคืนความสมดุลให้ร่างกาย
ผู้เรียบเรียง พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ
ฟื้นฟูส่วนที่พร่องไปให้กลับมาใช้การได้ตามอัตภาพแห่งการมีชีวิตอยู่ผู้ใช้
ออกแบบรูปเล่ม พิเชษฐ์ พงศิริวิลัย ยาจีนนั้น จะมีความรู้แตกฉานในการใช้ยาจีนให้มากที่สุดเท่านั้นเองทั้งนี้เพื่อให้
จำ�นวน 3,000 เล่ม เกิดประโยชน์สูงสุดในการน�ำความรู้ยาจีนมาใช้รักษาโรค
ISBN 978-616-335-788-5 ผู้เขียนจึงรวบรวมแนวคิด อีกทั้งสรรพคุณยาจีนและตัวอย่างต�ำรับยา
พิมพ์ที่ บริษัท ริช แอนด์ ซีมลี จำ�กัด มาเขียนเป็นหนังสือยาจีนเล่มนี้ขึ้นเพื่อให้แพทย์แผนจีนและผู้ที่สนใจทั่วไปได้ศึกษา
จัดทำ�โดย วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ เพิ่มเติม ใช้เป็นคู่มือการเรียนรู้ สามารถบริหารจัดการยาจีนบนพื้นฐาน
ลิขสิทธิ์เป็นของ อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร ทฤษฎีการแพทย์จีนอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพตรงตามเจตนาของ
อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ ผู้ศึกษา ผู้รวบรวมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือยาจีนเล่มนี้คงเป็นประโยชน์
ขอขอบคุณ น�ำมาซึ่งความรู้แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อย ด้วยเจตนาที่ข้าพเจ้าผู้เขียนมีความ
ปนัดดา ลิ้มประดิษฐานนท์ พจ.อรอุมา สังขารมณ์ เกื้อกูลต่อเพื่อนมนุษย์และมุ่งประโยชน์ต่อการเผยแพร่ความรู้เป็นกุศล
พจ.จตุพร พรมชัย พจ.พนัชดา นวนงาม เจตนาดี ข้าพเจ้าขออุทิศกุศลและความดีแก่ปรมาจารย์อีกทั้งผู้ที่มีส่วน
ธวัชชัย นาใจคง อธิวัฒน์ โพธิ์กลาง เกี่ยวข้องกับการแพทย์จีนทุกท่านมา ณ โอกาสนี้
นักศึกษาคณะแพทย์แผนจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ธนภัทร สิทธิอัฐกร ณัฐพร อรุณภาคย์ พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ
วิลาวัณย์ ชั้นเล็ก ฐานพร พุทธนนทวิทย์ อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร
นภัสสรณ์ ศตชัยเรืองศรี สุภารัตน์ หงส์วชิราภรณ์
อภัสรา ตั้งวีระพงษ์
前言 สารบัญ
“中药”是古人传给我们的一种宝 ความหมายของยาสมุนไพร 8
ประเภทของสมุนไพรจีนแหล่งเพาะปลูกสมุนไพรจีน 8
贵财富,在他们的思想发展过程当中把 การเก็บสมุนไพร 9
体、神 和全世界连在一起,为了能解 กรรมวิธีการเตรียมยาสมุนไพรเพื่อการใช้ (เผ้าจื่อ) 10
释怎么按照中医理论来使用药材治疗各 สรรพคุณยาสมุนไพรจีน 11
คุณลักษณะของยา 12
种疾病,例如 : 在阴阳学说上也有一 การออกฤทธิ์ของยาสมุนไพรจีน 12
部分提到 “阴平阳秘,精神乃治”, คุณสมบัติทั้ง 4 (ฤทธิ์ทั้ง 4) 12
同时它也可以来说明中医 五脏六腑的 คุณสมบัติทั้ง 4 กับการประยุกต์ทางคลินิก 13
病情,“虚则补之, 实则泄之” 。用 รสทั้ง 5 13
รสทั้ง 5 กับการประยุกต์ทางคลิินิก 14
中药来治疗疾病取决于各位医生的智慧 คุณสมบัติ ขึ้น-ลง-ลอย-จม 17
和经验,为了能给医生和对中医感兴趣 การวิ่งเส้นลมปราณ 18
的人们一个帮助,编者总结多年中药教 พิษของสมุนไพรจีน 18
การหลีกเลี่ยงพิษของยาสมุนไพร 19
学工作经验的基础上就编出了这一本 การประกอบยา (การใช้ร่วมกัน) 20
书。希望读者们能从这本书获得更好的 ข้อแนะน�ำทางคลิินิก 21
知识,为解除家人或社会的疾苦,做出 ยาที่ต้องระวังหรือยาต้องห้ามในหญิงตั้งครรภ์ 21
应有的贡献,同时能得到一份真实的幸福。 ข้อห้ามในการประกอบยา 22
อาหารแสลง 23
มาตราชั่งสมุนไพรจีน 24
主编:黄春子 วิธีต้มยาและการรับประทานยา 25
无疾阁 ยาระบายกลุ่มอาการภายนอก (接表药) 30
- ยาขับระบายลมเย็น(发散风寒药) 31
หมาหวง(麻黄) 32
กุ้ยจือ(桂枝) 34
- ยาขจัดความร้อนสลายความชื้น(清热找事药) 89
หวงฉิน(黄芩) 90
จื่อซูเย่(紫苏叶) 36
หวงเหลียน(黄连) 92
เซียงหรู(香薷) 38
หวงไป๋(黄柏) 94
จิงเจี้ย(荆芥) 40
หลงต่านเฉ่า(龙胆草) 96
ฝางเฟิง(防风) 42
ขู่เซิน(苦参) 98
เชียงหัว(羌活) 44 - ยาขจัดความร้อนล้างพิษ(清热解毒药) 102
ซี่ซิน(细辛) 46 จินอิ๋นฮวา(金银花) 104
ไป๋จื่อ(白芷) 48 เหลียนเชี่ยว(连翘) 106
ชังเอ๋อจื่อ(苍耳子) 50 ต้าชิงเย่(大青叶) 108
ซินอี๋ฮวา(辛夷花) 52 อวี๋ซิงเฉ่า(鱼腥草) 110
เซิงเจียง (生姜) 54 ผู่กงอิง(蒲公英) 112
- ยาขับระบายลมร้อน(发散风热药) 57 จื่อฮวาตี้ติง(紫花地丁) 114
ป๋อเหอ(薄荷) 58 ถู่ฝู่หลิง(土茯苓) 116
หนิวป้างจื่อ(牛旁子) 60 เซ่อกัน(射干) 118
ซางเย่(桑叶) 62 ไป๋โถวเวิง(白头翁) 120
จวี๋ฮวา(菊花) 64 ไป๋ฮวาเสอเสอเฉ่า(白花蛇舌草) 122
ฉันทุ่ย(蝉蜕) 66 ชวนซินเหลียน(穿心莲) 124
ม่านจิงจื่อ(蔓荆子) 68
เก๋อเกิน(葛根) 70 - ยาขจัดความร้อนท�ำให้เลือดเย็น(清热凉血药) 127

ไฉหู(柴胡) 72 เซิงตี้หวง(生地黄) 128
เซิงหมา(升麻) 74 เสวียนเซิน(玄参) 130
กลุ่มยาขจัดความร้อน(清热药) 76 หมู่ตันผี(牡丹皮) 132
- ยาขจัดความร้อนระบายไฟ(清热泻火药) 77 ชื่อเสา(赤芍) 134
สือเกา(石膏) 78 สุ่ยหนิวเจี่ยว(水牛角) 136
จือหมู(่ 知母) 80 - ยาขจัดอาการร้อนพร่อง(清虚热药) 138
หลูเกิน(芦根) 82 ชิงเฮา(青蒿) 140
เทียนฮวาเฝิ่น(天花粉) 84 ตี้กู่ผ(ี 地骨皮) 142
จือจื่อ(栀子) 86 อิ๋นไฉหู(银柴胡) 144
ตันจู๋เย่(淡竹叶) 88 หูหวงเหลียน(胡黄连) 146
กลุ่มยาระบาย(泻下药)
ต้าหวง(大黄) 150




ฟานเซี่ยเย่(番泻叶) 152
หลูฮุ่ย(芦荟) 154
หั่วหมาเหริน(火麻仁) 156
กันสุ้ย(甘遂) 158
ยาจีน中药
ลักษณะและความหมายของยาจีน
ผลงานหนังสือ ยาจีนมีลักษณะที่โดดเด่นคือ
แผนที่การเดินทางสู่ อโรคยาศาล จ.ชัยภูมิ 1. บริหารจัดการบนทฤษฎีทั้งองค์รวมและพื้นฐานตามหลักการและ
บรรณานุกรม ปรัชญาทางการแพทย์จีนอย่างลงตัว
2. ใช้ในด้านการป้องกัน การรักษา การตรวจวินิจฉัยทั้งการส่งเสริมการ
ดูแลและการรักษาสุขภาพแบบบูรณาการทั้งภายในและภายนอก
3. ใช้ในการเสริมสร้างและบ�ำรุงร่างกายเพื่อสุขภาพที่ดี
4. ตัวยามีการบันทึกตั้งแต่ดั้งเดิมมีประมาณ 3,000 ชนิด ปัจจุบันโดยรวม
แล้วมีถึง 12,800 ชนิด

ส่วนประกอบหลักหรือประเภทของยาจีน
1. ได้จากพืชส่วนใหญ่ร้อยละ 80
2. ได้จากสัตว์ ร้อยละ 10
3. ได้จากโลหะ แร่ธาตุ ร้อยละ 10
เนื่องจากยาจีนส่วนใหญ่มาจากพืชจึงเรียก本草( เปิ่น-เฉ่า)

แหล่งผลิตเพาะปลูกยาจีน(中药的产地)
เนื่องจากยาจีนแต่ละชนิดเติบโตได้ดีในภูมิประเทศและภูมิอากาศแตกต่างกัน
ระยะเวลาการเจริญเติบโตไม่เท่ากัน คุณภาพและสรรพคุณของยาจึงต่างกันท�ำให้
ยาจีนที่ปลูกในพื้นที่บางแห่งเป็นยาจีนที่มีคุณภาพดี มีชื่อเสียง อาทิเช่น
มณฑลเสฉวน :黄连 (หวง-เหลียน) 川芎(ชวน-ซฺรง) 附子(ฟู่-จื่อ)
贝母(เป้ย-หมู่) 乌头(อู-โถว)
มณฑลเจียงซู : 薄荷(ป๋อ-เหอ) 苍术(ชาง-จู๋)

8 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 9


มณฑลกวางตุ้ง : 砂仁(ชา-เหริน) 陈皮(เฉิน-ผี) กรรมวิธีการเตรียมยาจีนเพื่อการใช้ (เผ้าจื่อ)中药的炮制
ด้านตะวันออกเฉียงเหนือของจีน : 人参(เหริน-เซิน)细辛(ซี่-ซิน) จุดมุ่งหมายของการเผ้าจื่อ 炮制的目的
五味子(อู๋ว์-เว่ย์-จื่อ) 1. เตรียมยาล้างท�ำความสะอาด เพื่อให้ได้มาตรฐานทั้งเชิงปริมาณและ
มณฑลยูนนาน : 茯苓(ฝู่-หลิง) 三七(ซาน-ซี) คุณภาพ เพื่อแยกแยะสิ่งปนเปื้อนและคัดคุณภาพยา
มณฑลเหอหนาน : 地黄(ตี้-หวง) 牛膝(หนิว-ชี) 山药(ซาน-เย่า) 2. ท�ำให้เป็นแผ่นและชิ้น เพื่อความสะดวกและง่ายในการใช้
มณฑลซานตุง : 阿胶(อา-เจียว) กาวหนังลา 3. ท�ำให้แห้ง ง่ายต่อการเก็บรักษา
มองโกเลียใน : 黄芪(หวง-ฉี) 4. ปรับปรุงรสชาติ กลิ่น ให้ง่ายต่อการบริโภค
ชิงไห่ : 大黄 (ต้า-หวง) 5. ลดพิษของยา ท�ำให้ปลอดภัยในการน�ำมาใช้
กานซู : 当归 (ตัง-กุย) 6. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของยา ท�ำให้การรักษาได้ผลดียิ่งขึ้น
หนิงเชี่ย: 枸杞子 (โกว-ฉี-จื่อ) 7. เปลี่ยนสรรพคุณของยา เพื่อให้ใช้ได้กว้างขวางขึ้น ปรับเปลี่ยนและเพิ่ม
ฤทธิ์ของยาท�ำให้มีสรรพคุณสูงขึ้น
การเก็บยาจีน采集 8. เพื่อให้ยาเข้าไปยังเป้าหมายที่แน่นอนตามความต้องการในการรักษา
การเก็บยาจีนกับสรรพคุณยา
การเก็บยาจีนเกี่ยวข้องและส�ำคัญกับสรรพคุณของยาอย่างไร ? วิธีการเตรียมยา(เผ้าจื่อ)炮制的方法
1. เนื่องจากการเจริญเติบโตในระยะที่แตกต่างกันของพืชและภูมิประเทศไม่ 1. การท�ำความสะอาดและหั่นเป็นชิ้น 修制
เท่ากันท�ำให้องค์ประกอบส�ำคัญในสมุนไพรแต่ละช่วงอายุที่ต่างกัน 2. กระบวนการเตรียมยาโดยใช้น�้ำ 水制
2. ส่วนต่างๆของยาจีนจึงมีองค์ประกอบส�ำคัญในการออกฤทธิ์แตกต่างกัน 2.1 การล้าง ท�ำความสะอาด 洗
2.2 ท�ำให้นิ่ม 润
ช่วงเวลาที่เก็บยาจีน 2.3 แช่ 漂 ท�ำลายกลิ่น ละลายสารพิษและสารตกค้างอื่นๆ
1. ทั้งต้นเก็บขณะที่ใบกิ่งก้านแตกแขนงเต็มที่ และเริ่มมีการออกดอก 2.4 การฝน水飞ท�ำให้เป็นผงโดยใช้น�้ำเป็นตัวกลางในการจัดการยาเพื่อน�ำมาใช้
2. ใบเก็บขณะที่เริ่มออกดอก 3. กระบวนการเตรียมยาโดยใช้ไฟ火制
3. ดอกเก็บขณะที่ดอกตูมหรือก�ำลังบาน อย่าให้ดอกร่วงหล่น 3.1 การผัด沙
4. เกสรดอกเก็บขณะกลีบดอกบานเต็มที่หรือเก็บในขณะที่ก�ำลังดอกตูม 3.1.1 การผัดเดี่ยวๆ清沙แบ่งเป็น
5. ผลสุก เมล็ด เก็บเมื่อผลไม้สุกขณะที่ยังไม่ร่วงหล่น - ผัดให้เหลือง沙黄(ผิวออกเหลือง) ลดคุณสมบัติเย็นของยา
6. ราก เหง้า เก็บเมื่อปลายฤดูใบไม้ร่วง(สิงหาคม)หรือต้นฤดูใบไม้ผลิ - ผัดให้เกรียมหรือผิวน�้ำตาล沙焦 (เนื้อเหลือง) เพื่อเสริมระบบย่อย
(กุมภาพันธ์)เนื่องจากฤดูใบไม้ร่วงจะไม่มีใบ สารจ�ำเป็นต่างๆ จะไม่ส่งไป อาหารและขับของเสีย
ที่ใบจึงเก็บส่วนรากเช่นเดียวกับต้นฤดูใบไม้ผลิ - ผัดให้เป็นเถ้าถ่าน沙炭(เนื้อด�ำ) เพื่อช่วยหยุดเลือดและการดูดซึม
7. เปลือกต้นไม้ เปลือกรากไม้ เก็บในฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน (ช่วงที่พืช 3.1.2 การผัดกับสารหรือวัตถุอื่น 辅科药 เช่น การผัดกับข้าวสาร
ก�ำลังเจริญเติบโตเต็มที่)จะได้สารจ�ำเป็นกักเก็บอยู่มาก ดิน เป็นต้น เพื่อลดความเป็นพิษและเพิ่มสรรพคุณของตัวยา

10 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 11


3.2 การผัดกับสารของเหลว灸เพื่อเปลี่ยนคุณสมบัติการออกฤทธิ์ของยา เช่น บทบาทของยาสมุนไพรจีน จึงครอบคลุมสรรพคุณในขอบเขตของการรักษาเสริม
ผัดกับเหล้า ผัดกับน�้ำผึ้ง ผัดกับน�้ำส้มสายชู ผัดกับน�้ำขิง ผัดกับน�้ำเกลือ เป็นต้น พลังพื้นฐานในร่างกายและการขจัดปัจจัยก่อให้เกิดโรค 扶正祛邪 เพื่อบรรลุ
3.2.1 การผัดกับน�้ำผึ้ง密灸ช่วยแก้ไอท�ำให้ปอดชุ่มชื้น บ�ำรุงพลัง จุดมุ่งหมายและมุ่งตรงเข้าไปสู่การท�ำลายเสียชี่ฟื้นฟูและปรับสมดุลการท�ำงานของ
ลดพิษข้างเคียงของยา บ�ำรุงส่วนกลางของร่างกาย ร่างกายเพื่อให้เข้าสู่สภาวะปกติ
3.2.2 การผัดกับเหล้า 酒灸 ช่วยเสริมฤทธิ์ในการไหลเวียนเลือด คุณลักษณะของยา药性
3.2.3 ผัดกับน�้ำส้มสายชู 醋灸 ช่วยระบายพลังที่ท�ำให้ตับติดขัดและ เนื่องจากคุณลักษณะของยาเกี่ยวข้องกับสรรพคุณของการรักษาโรคเกี่ยว
ระงับอาการปวด กับยา เนื้อหาจึงครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนี้
3.2.4 การผัดกับน�้ำเกลือ盐灸และเสริมฤทธิ์บ�ำรุงไต บ�ำรุงหยินลดหยาง 1. คุณสมบัติทั้ง 4 (ฤทธิ์ทั้ง4) 四气
3.2.5 การผัดกับน�้ำขิง姜灸ช่วยควบคุมไม่ให้ยาเย็นจนเกินไปและลด 2. รสทั้ง 5 五味
ผลข้างเคียงของยาช่วยหยุดการอาเจียนและแก้ปวด 3. คุณสมบัติการมุ่งตรงของฤทธิ์ยา ได้แก่ ขึ้นบน – ลงล่าง-ลอย-จม 升-降-浮-沉
3.3 การเผากับไฟโดยตรงโดยอ้อม煅จุดมุ่งหมายเพื่อท�ำให้บริสุทธิ์และท�ำให้ 4. การวิ่งเส้นลมปราณ (ไปอวัยวะเป้าหมาย) 归经
เปราะง่ายหรือเพิ่มฤทธิ์ยาให้สูงขึ้น 5. 毒性 หมายถึงมีพิษ-ไม่มีพิษ ความเป็นพิษ
3.4 การห่อและน�ำไฟหมกไฟ 煨 ควรใช้กระดาษเปียกหรือแป้งห่อหุ้มยาและใส่ไปใน คุณลักษณะทั้งหมดนี้จะถูกน�ำไปประสานกับหลักพื้นฐานของการแพทย์จีน ทฤษฎี
เตาถ่านเมื่อด้านนอกเริ่มไหม้ด�ำเป็นอันใช้ได้ จุดมุ่งหมายเพื่อใช้ขจัดน�้ำมันหรือสาร หยินหยาง ทฤษฎีอวัยวะจั้งฝู่ ทฤษฎีเส้นลมปราณ ฯลฯ เพื่อประยุกต์ใช้ทางคลินิก
ระคายเคืองหรือท�ำลายพิษที่ไม่พึงประสงค์ก่อนน�ำมาใช้
4. กระบวนการเตรียมยาโดยใช้ไฟและน�้ำร่วมกัน水火共制
การออกฤทธิ์ของยาสมุนไพรจีน中药的性能
4.1 การนึ่ง (อบไอน�้ำ)蒸
1.การออกฤทธิ์ในการรักษาโรค
4.2 การต้ม煮ใช้สมุนไพรใส่ในน�้ำหรือของเหลวที่ร้อนเพื่อท�ำความสะอาด
2.การออกฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ คือ เกิดพิษและไม่เกิดพิษ
4.3 การลวก น�ำสมุนไพรไปใส่ในน�้ำเดือดคนให้ทั่วแล้วล้างออก

4.4 การกลั่นซึ่งเป็นการจัดการยาให้บริสุทธิ์ ในรูปแบบไอน�้ำเพื่อให้ได้ยาที่
มีฤทธิ์แรงมุ่งตรงต่อการรักษาโรคที่ให้ผลการรักษาที่เร็วขึ้น
คุณสมบัติทั้ง4 (ฤทธิ์ทั้ง4)四气
ซื่อชี่ 四气 บางครั้งเรียกว่า ซื่อซิ่ง四性เป็นตัวบ่งบอกคุณสมบัติ หยิน-หยาง
หรือฤทธิ์ในทางร้อน-เย็นของตัวยาสมุนไพร ตัวยาที่มีคุณสมบัติหยางคือร้อน 热
สรรพคุณยาสมุนไพรจีน(中药的性能) อุ่น 温 ตัวยาที่มีคุณสมบัติหยินคือเย็น寒ค่อนเย็น凉
ทฤษฎีแพทย์จีนกล่าวว่าการเกิดโรคใดๆ เป็นผลของการต่อสู้ระหว่างเสียชี่
นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติฤทธิ์กลางๆ เรียกว่า 平性(ผิง-ซิ่ง) เช่น 党参(ต่าง-เซิน)
และเจิ้งชี่ (สิ่งก่อโรคกับพลังชีวิตพื้นฐานของร่างกาย) ในกระบวนการต่อสู้กัน ท�ำให้
山药(ซาน-เย่า)甘草(กัน-เฉ่า) อย่างไรก็ตามยาเหล่านี้ถ้าน�ำมาเตรียมเพื่อใช้ใน
เกิดผลกระทบต่อหยิน-หยาง เลือดและพลังในลักษณะที่มากไปหรือพร่องลง ท�ำให้เกิด
การรักษาจะเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติได้ เช่น กัน-เฉ่า ถ้าน�ำมาใช้สดๆจะมีฤทธิ์ค่อน
ผลกระทบต่อการท�ำงานของอวัยวะภายใน 脏腑 ซึ่งเสียสมดุลตามธรรมชาติ
ข้างเย็นและถ้าน�ำไปผัดกับน�้ำผึ้งจะมีฤทธิ์ค่อนข้างไปทางอุ่น ดังนั้นฤทธิ์ยากลาง ๆ จึง

ขึ้นกับการปรับสภาพของยาในการใช้จริงในสมัยโบราณจึงไม่ได้จัดคุณสมบัติของยา
เป็น 5 แบบ แต่จัดคุณสมบัติไว้เพียง 4 แบบเท่านั้น
12 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 13
คุณสมบัติทั้ง4 กับการประยุกต์ใช้ทางคลินิก รสทั้ง 5 กับการประยุกต์ทางคลินิก
รสผ็ดและประโยชน์ทางการรักษา
ยาคุณสมบัติเย็น-ค่อนเย็น 寒凉性药 1. กระจาย发散 ใช้กับโรคที่อยู่ระดับผิวภายนอก เช่น ขับลมร้อนหรือขับลมเย็น
สรรพคุณ ขับร้อนระบายไฟท�ำให้เลือดเย็นขับพิษเสริมหยินและขจัดความแห้ง ที่กระทบจากปัจจัยภายนอก
ขับร้อนขับอุจจาระ ขับร้อนขับปัสสาวะ ขับละลายเสมหะร้อน ระบายหัวใจเปิดทวาร 2. เคลื่อนพลัง 行乞 ใช้กับภาวะพลังอุดกั้นแน่นอึดอัด
ระบายความร้อนของตับสงบลม เป็นต้น 3. ผลักดันเลือด 行血 ใช้กับภาวะเลือดอุดกั้น
ทางคลินิก รักษาร้อนแกร่ง กระหายน�้ำ ไข้ผื่นร้อน เลือดร้อนท�ำให้ ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์
อาเจียนเป็นเลือด พิษร้อนท�ำให้เกิดแผล ท้องผูกจากความร้อน ดีซ่านจากร้อนชื้น ถ้าใช้มากท�ำลายพลัง ท�ำลายหยิน คนที่พลังและหยินพร่องต้องระมัดระวังในการใช้
บวมน�้ำจากร้อนชื้น ไข้สูงหมดสติไอหอบจากเสมหะร้อน
รสหวานและประโยชน์ทางการรักษา
ยาสรรพคุณร้อน-อุ่น 热温性药 1. บ�ำรุง补益 กรณีพลังพร่อง
สรรพคุณ อุ่นภายในกระจายความเย็น อุ่นตับกระจายร้อน บ�ำรุงไฟเพิ่มหยาง 2. ปรับคุณสมบัติของยา调和เช่น ชะเอมเทศ甘草(กัน-เฉ่า) ปรับสมาน
อุ่นหยางเพื่อขับน�้ำ อุ่นเส้นลมปราณ ช่วยการไหลเวียน น�ำไฟกลับสู่ต้นก�ำเนิด ยาเข้าด้วยกัน มีฤทธิ์และแก้พิษของยา
引火归原 ดึงหยางกับมาเพื่อฟื้นอาการหมดสติ 回阳救逆 3. ปรับส่วนกลาง 和中 ปวดแน่นท้อง เป็นตะคริว
ทางคลินิก รักษาอาการปวดท้องจากกระทบความเย็น ปวดไส้เลื่อนจาก 4. แก้ปวด แก้เกร็ง 缓急止痛 เช่น ท้อง แขนขา เป็นตะคริว
ความเย็น โรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ มดลูกเย็นไม่ตั้งครรภ์ ลมเย็นท�ำให้ปวด ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์
เลือดเย็นประจ�ำเดือนไม่มา ช็อคจากหยางน้อยหรือพลังหมด ส่วนมากจะมีลักษณะเหนียวหนืด ขัดขวางการท�ำงานของกระเพราะอาหาร
ท�ำให้แน่น มีความชื้นตกค้าง อาหารตกค้างไม่ย่อย พลังติดขัดแน่นอึดอัด
รสทั้ง 5 五味
มีความหมายทางการแทพทย์จีน 2 ประการ รสเปรี้ยวและประโยชน์ทางการรักษา
1. รสชาติที่สัมผัสรับรู้ ได้แก่ รสเปรี้ยว ขม หวาน เผ็ด เค็ม 1. พยุงดึงรั้ง 收敛固涩
2. ความส�ำคัญทางคลินิก 2. ระงับเหงื่อ 止汗
2.1 รสของสมุนไพรธรรมชาติมีมากกว่า 5 ชนิด เช่น รสจืด รสฝาด 3. ระงับไอ 止咳
เป็นต้น แต่รสทั้ง 5 เป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญของสมุนไพร (รสฝาดจัดอยู่ในรสเปรี้ยว รสจืด 4. ระงับอาการท้องเสีย 止泻
จัดอยู่ในรสหวาน) 5. ดึงรั้งน�้ำกามเคลื่อน 固精 ดึงรั้งปัสสาวะ 缩尿
2.2 ยาสมุนไพรบางตัว ไม่มีรสเหมือนที่ชิมสัมผัสด้วยลิ้น แต่ฤทธิ์ 6. หยุดตกขาว 止带 หยุดประจ�ำเดือนมามากผิดปกติ 固崩
สรรพคุณทางยาเป็นเหมือนรสธรรมชาติตามหลักทฤษฎี ก็จัดไว้เป็นคุณสมบัติทางยา
นั้นเป็นไปตามหลักทฤษฏี

14 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 15


ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ รสจืดและประโยชน์ทางการรักษา
การดึงรั้งท�ำให้เกิดปัจจัยก่อโรค邪气(เสียชี่)อยู่ภายในร่างกาย ไม่สามารถขับ ช่วยขับชื้นขับปัสสาวะ渗湿利小便 เช่น บวมน�้ำ ปัสสาวะขัด เช่น
ออกจากร่างกาย ลูกเดือย 薏苡仁 (อี่ว์-อี้-เหริน)
ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์
รสขมและประโยชน์ทางการรักษา ถ้าใช้มากท�ำลายสารน�้ำ คนที่ยินพร่องหรือของเหลวในร่างกายถูกท�ำลาย (แห้ง)
1. ช่วยขับระบาย 能泄 ไม่ควรใช้
- ขับไฟร้อน เช่น 黄芩 (หวง-ฉิน) 栀子(จือ-จื่อ)
- ขับพลังลงล่าง เช่น 杏仁 (ซิ่ง-เหริน) รสฝาดและประโยชน์ทางการรักษา
- ขับอุจจาระ เช่น大黄 (ต้า-หวง) 枳实(จื่อ-สือ) จะพยุง-ดึงรั้ง 收敛固本 เช่นเหงื่อออก ท้องเสีย ปัสสาวะบ่อย น�้ำกาม
2. ช่วยท�ำให้แห้ง (สลายชื้น) รักษากลุ่มอาการร้อนชื้น เช่น 龙胆草(หลง- เคลื่อน เลือดออกเช่น 莲子 (เหลียน-จื่อ=เมล็ดบัว)
ต่าน-เฉ่า) 黄连(หวง-เหลียน) ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์
3. รักษาหยินพร่องท�ำให้เกิดไฟ 阴虚火旺 เช่น 知母 (จือ-หมู่) ถ้าใช้มากจะท�ำให้เสียชี่ (ปัจจัยก่อโรค) จะตกค้างอยู่ภายในร่างกายต้อง
黄柏(หวง-ไป๋) ระมัดระวังในการใช้ กรณีที่เสียชี่ยังไม่ถูกขจัด
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ หมายเหตุ
ถ้าใช้มากจะท�ำลายสารจิงเย่ 津液(ของเหลวในร่างกาย) ท�ำลายกระเพราะ 1. รสฝาดจัดอยู่ในรสเปรี้ยว
อาหาร คนที่มีความแห้งจากยินพร่องหรือโรคกระเพราอาหารอ่อนแอ ไม่ควรใช้ 2. รสจืดจัดอยู่ในรสหวาน
ปริมาณมาก 3. สมุนไพรทุกตัวต้องพิจารณาคุณสมบัติควบคู่กับรสชาติ
ถ้าคุณสมบัติและรสชาติเหมือนกัน สรรพคุณยาจะเหมือนกัน ตัวอย่าง黄连
รสเค็มและประโยชน์ทางการรักษา (หวง-เหลียน) กับ黄芩(หวง-ฉิน) ขับพิษร้อน
1. ช่วยท�ำให้ถ่ายและระบาย 泄下通便 อุจจาระที่แข็งและแห้ง เช่น 4. คุณสมบัติต่างกัน รสชาติต่างกัน สรรพคุณทางการรักษาจะต่างกันตัวอย่าง
芒硝(หมาง-เซียว=ดีเกลือ) 黄连(หวง-เหลียน) คุณสมบัติเย็น รสขม ขับพิษร้อน ขับชื้น ขิงแห้ง 干姜
2. ท�ำให้นิ่ม软坚สลายการเกาะตัวเป็นก้อน散结ต่อมน�้ำเหลืองโต ไทรอยด์ (กัน-เจียง) คุณสมบัติร้อน รสเผ็ด อุ่นส่วนกลาง กระจายเย็น
ก้อนเนื้อต่างๆ เช่น 海藻(ไห่-เจ่า) 5. คุณสมบัติเหมือนกัน รสชาติต่างกัน สรรพคุณทางการรักษาจะต่างกัน
ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ ตัวอย่าง 黄连 (หวง-เหลียน) คุณสมบัติเย็น รสหวาน ขับพิษร้อน ขับชื้น 生地黄
1. ไม่ควรรับประทานมากโดยเฉพาะในคนที่มีความดันเลือดสูงหรือหลอดเลือด (เซิง-ตี้-หวง) คุณสมบัติเย็น รสหวาน ขับร้อน ท�ำให้ชุ่มชื้น
แดงแข็งตัว 6. คุณสมบัติต่างกัน รสชาติเหมือนกัน สรรพคุณทางการรักษา จะต่างกัน
2. รสเค็มบางอย่างท�ำลายกระเพราะอาหารและม้ามเช่น芒硝(หมาง-เซียว ตัวอย่าง ขิงสด 生姜(เซิง-เจียง) คุณสมบัติร้อน รสเผ็ด ขับลมเย็น ขับเหงื่อ 薄荷
= ดีเกลือ) คนที่ม้ามพร่อง ท้องเสียไม่ควรใช้ (ป๋อ-เหอ) คุณสมบัติเย็น รสเผ็ด ขับลมร้อน ขับเหงื่อ

16 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 17


คุณสมบัติขึ้น-ลง-ลอย-จม 升-降-浮-沉 旋覆花 (เสวียน-ฟู่-ฮวา) เป็นดอก แต่ดึงลงล่าง
หมายถึงกลไกพลัง เป็นทิศทางการเคลื่อนที่ของยาสมุนไพรเข้าสู่ภายใน 川芎 (ชวน-ซฺรง) ทั้งขึ้นบนลงล่างได้
1. โรคมีทั้งอยู่ที่ระดับผิวและระดับลึก มีทั้งอาการที่ขึ้นด้านบน หรืออาการที่ดึงลงล่าง 6. การผัดกับเหล้าท�ำให้ยาขึ้นบนได้มากขึ้น การผัดกับเกลือหรือผัดกับ
2. การใช้สมุนไพรจีน จึงต้องเข้าใจ ใช้หลักการปรับกลไกพลังของร่างกายให้เกิดสมดุล น�้ำส้มสายชูท�ำให้ยาลงล่างได้มากขึ้น
3. ยาที่มีคุณสมบัติกลไกขึ้นบน (ลอย) และกระจายออกนอก มีคุณสมบัติเป็นหยาง
ได้แก่ ยาขับเหงื่อ ขับลม กระทุ้งพิษ ยากระจายเย็น ยาเปิดทวาร ยากระจายการอุดกั้น การวิ่งเส้นลมปราณ归经(กุย-จิง)
ยาสลายเลือด สลายก้อน ยาทะลวงเส้นลมปราณ เป็นต้น คุณสมบัติของยาที่สามารถออกฤทธิ์ต่อส่วนใดส่วนหนึ่งหรืออวัยวะจั้งฝู่ที่เฉพาะ
4. ยาที่มีคุณสมบัติกลไกจมและลงล่างและเข้าด้านในมีคุณสมบัติเป็นหยิน ตามหลักทฤษฏีจั้งฝู่และเส้นลมปราณ หรืออีกนัยหนึ่ง "กุย-จิง” จะบ่งบอกสรรพคุณ
ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ยาขับพิษ ขับร้อน ขับระบาย ขับน�้ำ ยาระงับเกร็ง ควบคุม ของยาสมุนไพรที่มีเป้าหมายต่ออวัยวะ หรือส่วนของร่างกายที่แน่นอน
หยางของตับ แก้อาเจียน หยุดเลือด ดึงเหงื่อ แก้ไอ แก้ท้องเสีย ตัวอย่างยาที่วิ่งเส้นลมปราณเดียวกันและมีสรรพคุณทางยาคล้ายกัน เช่น
5. ตัวอย่างยา 嘛黄(หมา-หวง) 杏仁(ซิ่ง-เหริน) วิ่งเส้นปอด รักษาการไอหอบหืด
-“ขึ้นบน” 黄芪(หวง-ฉี)+升麻(เซิง-หมา)+柴胡(ไฉ-หู) แก้มดลูก 青皮(ชิง-ผี) 香附(เซียง-ฟู่) วิ่งเส้นตับ รักษาโรคของเต้านม แน่นชายโครง ไส้เลื่อน
หย่อนกระเพราะอาหารหย่อนยาน ท้องเสียเรื้อรัง ยาที่วิ่งเส้นลมปราณเหมือนกันและมีสรรพคุณทางยาต่างกัน ตัวอย่าง เช่น
-“ลงล่าง” 代赭石(ต้าย-เจ่อ-สือ)沉香(เฉิน-เซียง)石决明 羌活(เชียง-หัว) เผ็ด อุ่น กับ 泽泻(เจ๋อ-เซี่ย) เย็นจืด วิ่งเส้นลมปราณ
(สือ-เจวี๊ย-หมิง) ดึงไฟลงล่าง ดึงหยางของตับลงล่าง ดึงพลังกระเพราอาหารที่หย่อน กระเพราะปัสสาวะเหมือนกัน
ขึ้นบนกับลงข้างล่าง ใช้ในโรคความดันเลือดสูง แผลร้อนในเหงือกบวม เวียนศรีษะ หอบหืด แต่ 羌活 (เชียง-หัว) มีสรรพคุณแก้ปวด ขับลมเย็นส่วนบน
-“ลอย” มักใช้กับโรคที่อยู่ด้านนอกและด้านใน 麻黄(หมา-หวง) 紫苏 หลังด้านบน 泽泻(เจ๋อ-เซี่ย) มีสรรพคุณ ขับปัสสาวะ ขับชื้น
(จื่อ-ซู)防风(ฝาง-เฟิง) 羌活 (เชียง-หัว) เช่นหวัดลมร้อน หวัดลมเย็น
-“จม” ใช้กับโรคที่อยู่ในส่วนล่าง 大黄(ต้า-หวง) 木通(มู่-ทง) ใช้ท�ำให้ พิษของสมุนไพรจีน 中药“毒”
ถ่ายอุจจาระ ขับปัสสาวะ 1. ตัวสมุนไพรที่มีผลร้ายต่อร่างกายเรียกว่า "สมุนไพรมีพิษ" พิษรุนแรง
หมายเหตุ อาจถึงแก่ชีวิต พิษที่ไม่รุนแรงท�ำความเสียหายแก่ร่างกาย
1. รสเผ็ดหวานคุณสมบัติอุ่น มักจะมีคุณสมบัติขึ้นและลอย 2. ขนาดสมุนไพรที่เป็นยาในการรักษา
2. รสเค็ม ขม เปรี้ยว คุณสมบัติเย็นมักจะลงล่างและจม ขนาดยาที่ท�ำให้เกิดพิษใกล้เคียงกับขนาดในการรักษาโรคเรียกว่าไม่มี
3. ส่วนของดอก ใบ กิ่ง เปลือก มักจะเบา คุณสมบัติจึงค่อยไปทางลอยและขึ้นบน ความปลอดภัยในการใช้ ถ้าขนาดแตกต่างกันมาก ถือว่ามีความปลอดภัย
4. ส่วนของเมล็ด ผลของสมุนไพร แร่ธาตุ เปลือกหอย มักจะหนัก คุณสมบัติจึง ในการใช้ (แต่ไม่ใช่ว่าจะปลอดภัยในทุกกรณี)
ค่อนไปทางจมและลงล่าง
5. มีข้อยกเว้นจากกฎเกณฑ์เหล่านี้ในทางปฎิบัติ
川朴(ชวน-ผอ) รสเผ็ด ดึงลง แก้หอบหืด

18 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 19


การหลีกเลี่ยงพิษของยาสมุนไพร การประกอบยา (การใช้ยาร่วมกัน)中药的配伍
1. เข้มงวดกระบวนการเตรียมยา 炮制(เผ้า-จื่อ) การน�ำเอาสนุมไพรมากกว่า 2 ชนิด มาประกอบกันเป็นยาเพื่อการรักษาทางคลินิก
การเผ้าจื่อ มีการตรียมยาเพื่อลดพิษของยา ให้ได้ผลทางยาตามความต้องการ
ตัวอย่าง 巴豆(ปา-โต้ว)สลอด 附子(ฟู่-จื่อ)โหราเดือยไก่ จุดมุ่งหมายในการน�ำยามาประกอบกันหลายชนิด
2. เข้มงวดขนาดหรือปริมาณยาที่ใช้ ระยะเวลาที่ใช้ 1. เพื่อรักษาภาวะที่ซับซ้อน ซึ่งไม่สามารถใช้ยาเดี่ยวๆ ตัวใดตัวหนึ่งได้
2.1 ควรเริ่มใช้ในปริมาณที่น้อย 2. เพื่อเพิ่มสรรพคุณในการรักษาโรคเพิ่มขึ้น
2.2 ระมัดระวังการใช้ระยะเวลานาน 3. เพื่อลดภาวะไม่พึงประสงค์และผลข้างเคียงของยา
3. เข้มงวดเทคนิคในการใช้ยา 4.เพื่อท�ำลายพิษของยาบางตัว
3.1 บางชนิดใช้ได้เฉพาะภายนอก เช่น 升药(เซิง-เย่า) เมื่อน�ำยาตั้งแต่ 2 ชนิด มาประกอบกันจะเกิดสถานการณ์หรือสภาพทั้ง 7 (七情)
3.2 บางชนิดใช้เป็นยาลูกกลอน เช่น 蟾酥(ฉัน-ซู) ของการเกิดคุณสมบัติทางยาใหม่
3.3 บางชนิดผสมกับเหล้า พิษจะรุนแรงขึ้น ช่น 川乌(ชวน-อู) 1. ยาตัวเดี่ยว 单行 ฤทธิ์ของยาเกิดผลตามตัวยาเดี่ยวที่ใช้
3.4 บางชนิดใช้กับตัวยาอื่นช่วยลดพิษ เช่น 附子(ฟู่-จื่อ) กับขิงแห้ง 2. เสริมฤทธิ์ 相须 ตัวยาที่ใช้มีคุณสมบัติและผลการรักษาใกล้เคียงกันมาใช้ร่วมกัน เช่น
干姜(กัน-เจียง) - 红花 (หง-ฮวา) กับ 桃仁(เถา-เหริน)
4. การใช้ยาให้ถูกกับอาการและสภาวะของโรค - 麻黄(หมา-หวง) กับ 桂枝(กุ้ย-จือ)
โบราณกล่าวว่า "ยาที่ไม่มีพิษก็สามารถก่อให้เกิดโทษได้” 所谓无毒,亦可伤人。 - 石膏(สือ-เกา)กับ知母(จือ-หมู่)
“ยากับโรคสอดคล้อง –ต้าหวง大黄(ยาระบาย) ก็สามารถบ�ำรุงร่างกายได้”药 3. ช่วยฤทธิ์ ยาที่ใช้มีคุณสมบัติการรักษาไม่เหมือน ตัวยาหลักโดยตรงแต่เมื่อรวม
证相符,大黄也补。ยากับโรคไม่สอดคล้อง โสมและเขากวางอ่อนก็คือพิษ กันจะไปช่วยออกฤทธิ์มีผลทางอ้อม เช่น
药不对症,参茸亦毒。 - 黄芪 (หวง- ฉี) กับ 防己(ฝาง-จี๋) - บ�ำรุงพลัง +ขับน�้ำ
5. ต้องรู้ว่ายาบางชนิด ใช้ร่วมกันจะเกิดพิษควรหลีกเลี่ยงการใช้เช่น - 黄芩(หวง-ฉิน) กับ 大黄(ต้า-หวง) - ขับร้อน ขับไฟ + ท�ำให้ถ่าย
5.1乌头(อู-โถว) เสริมพิษ 半夏(ปั้น-เซี่ย), 瓜蒌(กวา-โหลว) 4. ถูกท�ำลายพิษ 相使 ตัวยาที่ใช้มีคุณสมบัติในการถูกท�ำลายหรือดูดลดพิษ
5.2 藜芦(หลี-หลู) เสริมพิษ 细亲(ซี่-ซิน) 芍药(เสา-เย่า) และถูกลดผลข้างเคียงโดยยาตัวอื่น เช่น 半夏(ปั้น-เซี่ย) และ 天南星(เทียน –
人参(เหริน-เซิน) 党参(ตั่ง-เซิน) 玄参(เสวียน-เซิน) 沙参(ซา-เซิน) หนาน-ซิง) ถูกท�ำลายพิษโดยขิงสด 生姜 (เซิง-เจียง)
5.3甘草(กัน-เฉ่า) กับ 海藻(ไห่-เจ่า) 大戟(ต้า-จี๋) 甘遂(กัน-สุ้ย) 5. ท�ำลายพิษ 相杀 ตัวยาที่ใช้มีคุณสมบัติในการท�ำลายหรือลดพิษและลดผล
芫花(หยวน-ฮวา) ข้างเคียงของยาตัวอื่น เช่น
6. ยาพิษ 毒药 บางครั้งใช้รักษาโรคที่ร้ายแรง โรคที่เป็นพิษได้ โบราณกล่าวว่า - ขิงสด 生姜(เซิง-เจียง) ท�ำลายพิษ ของ半夏(ปั้น-เซี่ย) และ天南星(เทียน
“ใช้พิษท�ำลายพิษ”以毒攻毒หนามยอกเอาหนามบ่ง เช่น 雄黄(เสวี่ยง-หวง) – หนาน-ซิง)
砒霜(พี-ซวง) สารหนู 水银(สุ่ย-หยิน) ปรอท ใช้กรณีแผลเรื้อรัง ก้อเนื้อร้าย มะเร็ง 6. ลดสรรพคุณยา 相恶 ยาที่ใช้มีคุณสมบัติไปท�ำลายหรือลดสรรพคุณของยา
โรคเรื้องรังต่างๆ อันเกิดจากพิษไฟ เป็นต้น ตัวอื่น เช่น เมล็ดผักกาด 莱菔子(ไหล-ฝู-จื่อ) 茶叶ใบชา 萝卜头หัวไชเท้า
山楂(ซาน-จา) ท�ำลายหรือลดสรรพคุณยา 人参 (เหริน-เซิน) โสมคน

20 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 21


7. เสริมพิษ 相反 ยา 2 ชนิดใช้ร่วมกันท�ำให้เกิดพิษของยามากขึ้น ได้แก่ ข้อห้ามในการประกอบยา 药材配伍禁忌
18 เสริมพิษ เช่น 十八反(สือ-ปา-ฝ่าน)=18 เสริมพิษ : ยาที่เสริมพิษและท�ำให้เกิดผลข้างเคียงที่
- 甘草(กัน-เฉ่า ) กับ芫花(หยวน-ฮวา) ไม่พึงประสงค์ 18 ตัว
- 乌头(อู-โถว) กับ半夏(ปั้น-เซี่ย) 瓜蒌(กวา-โหลว) 贝母(เป้ย-หมู่) 白及(ไป๋-จี๋) -甘草(กัน-เฉ่า)-เสริมพิษ 甘遂(กัน-สุ้ย)大戟(ต้า-จี๋) 芫花(หยวน-ฮวา)
海藻(ไห่-เจ่า)
ข้อแนะน�ำทางคลินิก -乌头(อู-โถว)-เสริมพิษ贝母(เป้ย-หมู่)瓜蒌(กวา-โหลว)半夏(ปั้น-เซี่ย)
1. สมุนไพรใช้ในการเสริมฤทธิ์ 相须 การช่วยฤทธิ์ 相使 ควรพิจารณา 白蘞(ไป๋-เหลี่ยน)白及(ไป๋-จี๋)
การใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา -藜芦(หลี่-หลู)-เสริมพิษ细辛(ซี่-ซิน)白芍(ไป๋-เสา) 人参(เหริน-เซิน)
2. สมุนไพรที่มีพิษหรือมีผลข้างเคียงมาก ควรพิจารณาการถูกท�ำลายพิษ 党参(ตั่ง-เซิน) 玄参(เสวียน-เซิน) 沙参(ซา-เซิน)丹参(ตัน-เซิน)
相畏 และการท�ำลายพิษ 相杀 ประกอบ ต้องระมัดระวังในการใช้ 苦参(ขู่-เซิน)
3. สมุนไพรที่มีคุณสมบัติท�ำลายสรรพคุณยา 相恶 และเสริมพิษ相反
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ 十九畏(สือ-จิ่ว-เว้ย):19 ลดสรรพคุณของยา คือยาที่ประกอบกันแล้ว
ท�ำให้สรรพคุณในการรักษาโรคด้อยลง
ยาที่ต้องระวังหรือยาต้องห้ามในหญิงตั้งครรภ์ -硫黄(ซู-หวง) กับ 扑硝(ผู่-เซียว)
1. ประเภทที่ต้องระมัดระวังในการใช้ -水银(สุ่ย-หยิน) ปรอทกับ 砒霜(พี-ซวง) สารหนู
- ยาประเภทขับประจ�ำเดือนหรือสลายการอุดกั้นของเลือด 红花(หง-ฮวา) -狠毒(เหิ่น-ตู๋) กับ 密陀曾(มี่-ถัว-เจิง)
桃仁(เถา-เหริน) -丁香(ติง-เซียง) กับ 郁金(ยวี๋-จิน)
- ยาประเภทสลายท�ำลายพลังอุดกั้น เช่น 枳实 (จื่อ- สือ) 大黄(ต้า-หวง) -八豆(ปา-โต้ว) กับ 牵牛(เชวียน-หนิว)
- ยาเผ็ดร้อน เช่น 附子(ฟู่-จื่อ) 肉桂(โร่ว-กุ้ย) -川乌(ชวน-อู)草乌(เฉ่า-อู) กับ犀角(ซี-เจี่ยว)
- ยาขับปัสสาวะ เช่น 冬葵子(ตง-ขุย-จื่อ) 瞿麦(จวี๋-ม่าย) -牙硝(หย่า-เซียว) กับ三棱(ซาน-หลิง)
2. ประเภทที่ห้ามใช้โดยสิ้นเชิง -官桂(กวน-กุ้ย) กับ石脂(สือ-จื่อ)
- ยาที่มีพิษรุงแรง 巴豆ปา-โต้ว(สลอด) 牵牛(เชวียน-หนิว) -人参(เหริน-เซิน) กับ五灵脂(อู่ว์-หลิง-จื่อ)
- ยาที่ออกฤทธิ์รุนแรงหรือท�ำให้แท้ง 三棱(ซาน-หลิง) 莪术(เอ้อ-จู๋)
川乌(ชวน-อู) 蜈蚣(อู๋-กง)ตะขาบ อาหารแสลง 飲食禁忌
อาหารแสลงหมายถึงอาหารต้องห้ามขณะรับประทานยา
- โดยทั่วไปผู้ป่วยทุกรายควรงดอาหารที่มีคุณสมบัติเย็นจัด อาหารของมัน
อาหารเหม็นคาว อาหารที่ระคายเคืองหรือมีฤทธิ์กระตุ้นรุนแรง

22 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 23


- ส�ำหรับคนที่เป็นโรคต่างๆ ห้ามรับประทานดังต่อไปนี้ คือ ระบบที่ใช้กันในท้องตลาดในเมืองไทย
โรคร้อน-ห้ามรับประทานอาหาร ที่มีรสเผ็ดของทอด ของที่มีไขมันมาก 1 กิโลกรัม公斤= 1.67 ชั่ง 斤= 26.67 ต�ำลึง 两
หวานจัดหรือของที่ให้พลังงานมาก 1 ชั่ง斤 = 600 กรัม克
โรคเย็น-ห้ามรับประทานที่มีฤทธิ์เย็นหรืออาหารดิบ ผู้ป่วยพวกเสมหะ 1 ชั่ง斤 = 16 ต�ำลึง两
อุดกั้นในทรวงอก โรคหัวใจขาดเลือด – ห้ามของมัน บุหรี่ เหล้า 1 ต�ำลึง两 = 37.5 กรัม克
โรคหยางของตับขึ้นบนท�ำให้เวียนศรีษะ – ห้ามของเผ็ด 1 สลึง钱 = 3.75 กรัม克
โรคกระเพาะอาหารอ่อนแอพร่อง ห้ามของเหนียวเหนอะ และของมัน (กิโลกรัม公斤 ชั่ง =斤 ต�ำลึง=两 สลึง =钱)
โรคผิวหนังคันและแผลอักเสบ เป็นหนอง – ห้ามปลา ปู กุ้ง และของเผ็ด
เห็ดหอม หน่อไม้ เป็นต้น วิธีการต้มยาและการรับประทานยา
โรคหอบหืด ไอ – ห้ามสูบบุหรี่ อาหารรสเผ็ด อาหารมันเหียวเหนอะ การต้มยาสมุนไพร
อาหารรสหวานจัด 1. อุปกรณ์ที่ใช้ หม้อดินหรือหม้อเคลือบดีที่สุด ห้ามใช้หม้อเหล็ก
ผู้ป่วยนอนหลับยาก – ควรหลีกเลี่ยงรับประทานเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์ หม้อทองเหลือง หม้ออลูมิเนียม เพื่อป้องกันการท�ำปฎิกิริยาระหว่างยากับโลหะ
ไขมันสัตว์ ชา กาแฟ 2. น�้ำที่ใช้ต้มใช้น�้ำสะอาด อาจเป็นน�้ำประปา น�้ำพุ น�้ำในบ่อ น�้ำคลองเป็นต้น
ผู้ป่วยหยางพร่อง–หนาวง่าย พลังความร้อนของร่างกายไม่พอ ต้องหลีกเลี่ยง 3. ควรแช่ยาทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที เพื่อให้น�้ำซึมเข้ายา
อาหาร ผัก ผลไม้ ที่มีฤทธิ์เย็น น�้ำเย็น น�้ำแข็ง 4. ไฟที่ใช้ในการต้มยา จะใช้ไฟแรงหรือไฟอ่อน ตามประเภทของยาที่จะต้ม
ผู้ป่วยหยินพร่อง - คอแห้ง ร่างกายแห้ง ขาดสารน�้ำในร่างกาย ร้อนจาก 5. ไฟแรง ใช้กับสมุนไพร ที่มีน�้ำมันหอมระเหย ต้มจนเดือด หรี่ไฟอ่อนเป็นใช้ได้
ภาวะหยินพร่อง (เซลล์แห้ง) ต้องหลีกเลี่ยง เหล้า ของเผ็ด ของทอด ของมัน เพราะจะ 6. ไฟอ่อน ใช้กับสมุนไพรที่มีลักษณะหนืดหรือยาประเภทบ�ำรุง เพราะตัวยาจะ
ท�ำให้เกิดเสมหะและความร้อนภายในร่างกายมากขึ้น ค่อยๆ ละลายออกมา จะต้องค่อยๆ ให้ความร้อนและใช้เวลานาน
7. การรับประทานยาทั่วไปมักจะรับประทาน 2 ครั้ง/ห่อ/วัน ถ้าเป็นยาบ�ำรุง
รับประทาน 3 ครั้ง/ห่อ/วัน แต่ละครั้งต้มเหลือ 250-300 มิลลิลิตร

มาตราชั่งสมุนไพรจีน ข้อแนะน�ำเกี่ยวกับการต้มยา
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2522 รัฐบาลจีนได้ก�ำหนดมาตราชั่งอย่างเป็นทางการ เนื่องจากยามีคุณสมบัติและคุณภาพต่างกัน ระยะเวลา และวิธีการต้ม จะต้องพิถีพิถัน
ระบบที่ใช้ในประเทศจีน 1. ยาที่ต้องต้มก่อน 洗煎 ต้มก่อนยาอื่น 10-30 นาที เช่น
1 กิโลกรัม 公斤= 1000 กรัม 克 1.1 พวกสมุนไพรวัตถุ แร่ธาตุ เปลือกหอย หิน กระดองเต่า กระดอง
1 ชั่ง 斤= 500กรัม 克=16 ต�ำลึง 两= 160 สลึง 钱 ตะพาบน�้ำ ต้องใช้เวลาต้มนานฤทธิ์ยาจึงละลายออกมา
1 ต�ำลึง = 31.25 = ประมาณ 30 กรัม 1.2 สมุนไพรมีพิษท�ำให้ลดพิษของยาสมุนไพร เช่น 附子 (ฟู่-จื่อ)乌头(อู-โถว)
1 สลึง = 3.125 กรัม = ประมาณ 3 กรัม 2. ยาที่ต้องต้มทีหลัง 后下ต้มยาตัวอื่น 10-30 นาที จนเกือบได้ปริมาณที่

24 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 25


ต้องการแล้ว จึงใส่สมุนไพรที่ต้มภายหลังนานประมาณ 5 นาทีเป็นอันใช้ได้ เช่น 7. โรคอยู่ส่วนบน – ทรวงอก ศรีษะ ตา ล�ำคอ หรือการย่อยไม่ดีควร
薄荷 (ป๋อ-เหอ)大黄(ต้า-หวง)砂仁(ซา-เหริน)钩藤(โกว-เถิง) รับประทานหลังอาหาร
3. ห่อใส่ถุงผ้าต้ม包煎พวกที่เป็นเมล็ดเล็กๆ หรือมีขน ได้แก่ ยาบางตัวเมื่อ 8. โรคอยู่ส่วนล่าง เช่น โรคตับ โรคไต ควรรับประทานก่อนอาหาร
ต้มรวมกันจะท�ำให้เหนียวเหนอะ กินล�ำบาก ติดคอ ระคายคอ เช่น 9. ไม่ควรรับประทานยาร่วมกับอาหารที่ย่อยยาก เช่น พวกถั่ว เนื้อสัตว์ ของที่
车前子(เชอ-เฉียน-จื่อ) 旋覆花(เสวียน-ฝู่-ฮวา) มีฤทธิ์เย็น เพราะท�ำให้การดูดซึมยาไม่ดี
4. ต้มหรือตุ๋นเดี่ยวๆ另炖เหมาะส�ำหรับสมุนไพรที่มีราคาแพง เพื่อป้องกัน 10. ยาขับเหงื่อ ยากระทุ้งผื่น 解表,透疹 ไม่ควรรับประทานร่วมกับ
การดูดซับตัวยาสมุนไพรที่มีราคาแพงเข้าไปในสมุนไพรอื่น เช่น 人参(โสมคน) อาหารที่ฤทธิ์เย็น รสเปรี้ยว เพราะจะลดสรรพคุณของยาในการรักษาโรค
西洋参(โสมอเมริกัน) 羚羊角หลิงหยางเจี่ยว (เขา-กุย) 11. ยาบ�ำรุงที่มีฤทธิ์อุ่นร้อน ไม่ควรรับประทานร่วมกับน�้ำชา หัวไชเท้า หน่อไม้
5. ใช้ในการละลาย烊化เหมาะส�ำหรับสมุนไพรที่เป็นกาวเหนียว ละลายยาก เพราะจะไปท�ำลายสรรพคุณของยา
ใช้สมุนไพรประเภทกาว เช่น阿胶(กาวหนังลา) 龟胶(กาวกระดองเต่า) 12. ไม่ควรรับประทานยาร่วมกับน�้ำชา หรือนม เพราะจะท�ำให้การดูดซึมยาไม่ดี
饴糖(ตังเม) 麦芽糖(น�้ำตาลข้าวมอลต์) เป็นต้น จะละลายในยาสมุนไพรที่ต้ม 13. แยกรับประทานยาสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน ควรมีระยะห่างอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
จนได้ที่แล้วหรือแยกละลายในน�้ำต่างหาก จากนั้นน�ำมาเทรวมกับสมุนไพรที่ต้มจน
ได้ที่ ถ้าละลายไม่ดีหรือไม่หมด สามารถน�ำไปอุ่นไฟอ่อน เพื่อให้ละลายและสะดวก
ในการรับประทาน
6. ใช้เทชงผสม冲服 สมุนไพรที่ละลายน�้ำง่าย หรือมีราคาแพง ยาที่ไม่ต้องการ
ความร้อน เพราะท�ำลายฤทธิ์ยา เช่น ซาน-ชี三七และน�้ำคั้นของสมุนไพร เช่น
น�้ำขิง 姜汁

วิธีการรับประทานยา
1. โดยทั่วไปจะดื่มในขณะที่ยายังอุ่น วันละ 1 ห่อ ต้ม 2 ครั้ง รับประทานวันละ 2 ครั้ง
2. โรคที่เฉียบพลันรุนแรงต้มดื่มวันละ 2-3 ห่อ ดื่มทุก 4 ชั่วโมง/ห่อ(6ชั่วโมง/ครั้ง)
3. โรคเรื้อรังอาจรับประทานวันละครั้งหรือวันเว้นวัน
4. โรคร้อน ดื่มยาขณะเย็น โรคเย็น ควรดื่มยาขณะร้อน
5. ยาบ�ำรุง ควรรับประทานก่อนอาหาร ยากล่อมประสาท รับประทานก่อนนอน
ยารักษามาลาเรีย รับประทานก่อนเกิดอาการ 2 ชั่วโมงหรือโรคเฉียบพลันควรรับ
ประทานได้ทันที ไม่ต้องเลือกเวลา
6. ยาขับพยาธิ ยาถ่าย ยาขับปัสสาวะ ควรรับประทานขณะท้องว่าง

26 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 27


28 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 29
กลุ่มยาระบายลมภายนอก
(发散解表药)
- ยาขับระบายลมเย็น(发散风寒药)
- ยาขับระบายลมร้อน(发散风热药)

30 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1
ยาขับระบายลมเย็น หมา-หวง (Mahuang) 麻黄
(发散风寒药)
ชื่อแต้จิ๋ว : มั่ว-อึ้ง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Ephedra Sinica Stapf
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Ephedrae

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
หมาหวง(麻黄) กุ้ยจือ(桂枝) จื่อซูเย่(紫苏叶)

เซียงหรู(香薷) จิงเจี้ย(荆芥) ฝางเฟิง(防风)


เชียงหัว(羌活) ซี่ซิน(细辛) ชางเอ๋อร์จื่อ(苍耳子)

ไป๋จื่อ(白芷) ซินอี๋ฮวา(辛夷花) เซิงเจียง(生姜)

อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 33


กุ้ย-จือ (Guizhi)桂枝
ชื่อแต้จิ๋ว : กุ้ย-กี
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Cinnamomum cassia Siebold subsp. pseudomelastoma J.C.Liao, Y.L.Kuo & C.C.Lin
ชื่อเภสัชวิทยา : Ramulus Cinnamomi
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับเหงื่อ แก้เจ็บคอ แก้หวัด ระงับหอบ ขับน�้ำ ลดบวม สลายชื้น
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 微苦毒 (ขมมีพิษเล็กน้อย) 温(อุ่น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ)
ส่วนที่ใช้ ทั้งต้น กิ่งก้าน
ปริมาณที่ใช้ 2–10 กรัม
ท�ำให้เลือดหดตัว เพิ่มความดันเลือด ท�ำให้ใจสั่น ตื่นเต้นง่าย
นอนไม่หลับ ลดการหดเกร็งของหลอดล�ำไส้ ขับเมือกเสมหะ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ขับเหงื่อ ต้านพิษมอร์ฟีนและบาร์บิทอล ขับปัสสาวะ ลดไข้
ต้านแบคทีเรียและไวรัส
麻黄(去节)หมาหวง (ชฺวี้เจี๋ย) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 杏仁(去皮尖) ซิ่งเหริน (ชฺวี้ผีเจียน) 9 กรัม 桂枝 กุ้ยจือ 6 กรัม
หมาหวงทัง (麻黄汤) 甘草 กันเฉ่า 3 กรัม
การออกฤทธิ์ ขับเหงื่อ กระทุ้งหวัด กระจายชี่ที่ปอด บรรเทาหอบ

ข้อควรระวัง
ไม่ควรใช้ในคนไข้ความดันสูง เพราะหมาหวง (Mahuang) 麻黄 มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลาง
ท�ำให้ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น ห้ามใช้กับบุคคลที่มีอาการร่างกายอ่อนแอ เหงื่อออกมากตอนกลางคืน
อาการของปอดและไตพร่องที่มีอาการอ่อนเพลีย ลิ้นมีฝ้าหนา ชีพจรเร็วตึง

34 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 35


จื่อ-ซู-เย่ (Zisuye) 紫苏叶
ชื่อแต้จิ๋ว : จี๋-โซว-เฮียะ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Perilla frutescens L. ex B.D.Jacks. var. purpurascens (Hayata) H.W.Li
ชื่อเภสัชวิทยา : Folium Perilae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับเหงื่อ อุ่นเส้นลมปราณ เสริมหยาง กระตุ้นการไหลเวียนพลัง
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 甘(หวาน) 温(อุ่น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 心(หัวใจ) 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ)
ปริมาณที่ใช้ 3–10 กรัม
ส่วนที่ใช้ กิ่ง
ต้านแบคทีเรีย ต้านไวรัส ขับปัสสาวะ กระตุ้นการหลั่งน�้ำลาย
น�้ำย่อยกระเพาะอาหาร คลายกล้ามเนื้อเรียบทางเดินอาหาร
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
กระตุ้นการไหลเวียนเลือด กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ แก้ปวด
แก้ไข้
桂枝(กุ้ยจือ) 9 กรัม 大枣(ต้าเจ่า) 12 ผล 白芍(ไป๋เสา) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 生姜(เซิงเจียง) 9 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 6 กรัม
กุ้ยจือทัง (桂枝汤) การออกฤทธิ์ กระทุ้งไข้หวัด ผ่อนคลายกล้ามเนื้อผิวหนัง
ปรับสมดุลของอิ๋งชี(่ 营气)กับเว่ย์ช(ี่ 卫气)

ข้อควรระวัง

ห้ามใช้ตํารับยานี้ในผู้ป่วยโรคหวัดที่เกิดจากการกระทบลมเย็นภายนอกที่มีอาการเกร็ง หรือ
ผู้ป่วยที่ ถูกลมร้อนกระทบภายนอก ซึ่งแสดงออกโดยกลัวลม มีเหง่ื่อออกเองและมีอาการคอแห้ง
ชีพจรเต้นเร็ว ลิ้นฝ้าขาวหนา ตัวยาห้ามใช้ส�ำหรับ อาการหวัดร้อน หยินพร่อง ไฟเกิน เลือดร้อนจน
เกิดอาการเลือดออก ส่วนสตรีมีครรภ์และสตรีมีประจ�ำเดือนไม่ควรใช้เพราะจะท�ำให้เลือดออกมาก

36 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 37


เซียง-หรู (Xiangru)香薷
ชื่อแต้จิ๋ว : เฮียง-ยู้
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Mosla chinensis Maxim. var. kiangsiensis G.P.Zhu & J.L.Shi
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Moslae

สรรพคุณ ขับเหงื่อ ปรับไหลเวียนลมปราณ แก้ปวดเกร็ง สลายเสมหะ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน


รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 温(อุ่น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 5-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ใบ
ลดไข้ ขับเหงื่อ โดยการขยายตัวของหลอดเลือด ผิวหนังและ
กระตุ้นการท�ำงานของต่อมเหงื่อ ออกฤทธิ์ต้านแบคทีเรียเพิ่ม
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ระดับน�้ำตาลในเลือด โดยการรับประทานให้ผลเร็วกว่าการฉีดเข้า
ใต้ผิวหนัง ลดการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม
ระงับอาการหอบหืด แก้ไอขับเสมหะ
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 半夏(ปั้นเซี่ย) 12 กรัม 厚朴(โฮ่วผอ) 9 กรัม 
ปั้นเซี่ยโฮ่วผอทัง 茯苓(ฝูหลิง) 12 กรัม 生姜(เซิงเจียง) 9 กรัม
(半夏厚朴汤) 紫苏叶(จื่อซูเย่) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้สลายเสมหะที่อุดกลั้นภายใน ที่เกิดจากพลัง
ลมปราณตับติดขัด

ข้อควรระวัง
ตัวยาในต�ำรับยานี้ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติอุ่นแห้ง จึงเหมาะส�ำหรับผู้ป่วยที่มีอาการชี่ติดขัด
หรือเสมหะชื้นอุดกั้นเท่านั้น ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ขาดสารน�้ำหล่อเลี้ยงเนื่องจากหยินพร่อง
หรือมีความร้อนจากหยินพร่อง

38 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 39


จิง-เจี้ย (Jingjie) 荆芥
ชื่อแต้จิ๋ว : เก็ง-ไก่
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Schizonepeta tenuifolia Briq.
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Schizonepetae

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

สรรพคุณ ขับเหงื่อ ระบายชื้น ขับน�้ำ ลดบวม


รสชาติและคุณสมบัติ 辛(รสเผ็ด) 微温(อุ่นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) 脾 (ม้าม)
ปริมาณที่ใช้ 3-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ กิ่ง-ก้าน-ดอก-ใบ
ขับกระจายลมเย็น สลายความชื้น ปรับสมดุลจงเจียว ขับน�้ำลดบวม
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
แก้ปวดเกร็ง
香薷(เซียงหรู) 9 กรัม 白扁豆(ไป๋เปี่ยนโต้ว) 6 กรัม 厚
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 朴(โฮ่วผอ) 6 กรัม
เซียงหรูส่าน(香薷散) การออกฤทธิ์ ขับลมเย็นที่เกิดในช่วงฤดูร้อน สลายลมเย็น ขจัดชื้น


ข้อควรระวัง
บุคคลที่ร่างกายอ่อนแอ เหงื่อออกง่ายหรือมีอาการลมร้อนกระหายน�้ำไม่ควรใช้

40 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 41


ฝาง-เฟิง (Fangfeng) 防风
ชื่อแต้จิ๋ว : ห่วง-ฮง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Siler divaricatum Benth. & Hook.f.
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Ledebouriellae

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับเหงื่อ ระบายชื้น ขับน�้ำ ลดบวม
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 微温(อุ่นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺 (ปอด) 肝 (ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 5 – 10 กรัม (ไม่ควรต้มนาน)
ส่วนที่ใช้ ดอก
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา แก้ไข้ ปวดเกร็งรักษาวัณโรค ท�ำให้หนองฝี ที่อักเสบหายเร็วขึ้น
川芎(ชวนซฺรง) 12 กรัม 羌活(เชียงหัว) 6 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
白芷(ไป๋จื่อ) 6 กรัม 细辛(ชี่ชิน) 3 กรัม
ชวนซฺรงฉาเถียวส่าน
薄荷(ป๋อเหอ) 12 กรัม 荆芥 (จิงเจี้ย) 12 กรัม
(川芎茶调散)
防风 (ฝางเฟิง) 5 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ กระจายลมเย็นระงับปวด รักษาอาการไมเกรน

ข้อควรระวัง
เมื่อใช้จะท�ำให้เหงื่อออกมากเนื่องจากหยินพร่องหรือพลังพร่อง ตัวยาไม่ควรต้มนาน

42 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 43


เชียง-หัว (Jianghuo) 羌活
ชื่อแต้จิ๋ว : เกียง-อัวะ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Notopterygium incisum Ting ex H.T.Chang
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma seu Radix Notopterygii

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลม ขับชื้น แก้ปวด ลดอาการเกร็ง
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 甘(หวาน) 微温(อุ่นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ) 肝(ตับ) 脾(ม้าม)
ปริมาณที่ใช้ 5–10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ลดไข้ ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ต้านพิษของสารหนู ระงับปวด
黄芪(หวงฉี) 12 กรัม 白术(ไป๋จู๋) 12 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 防风(ฝางเฟิง) 6 กรัม 大枣(ต้าเจ่า) 1 ผล
ยฺวี่ผิงเฟิงส่าน การออกฤทธิ์ เพิ่มชี่ เสริมภูมิคุ้มกัน ระงับเหงื่อ รักษาหวัดที่เกิด
(玉屏风散)
จากชี่พร่อง

ข้อควรระวัง
ไม่ควรใช้ต�ำรับยายฺวี่ผิงเฟิงส่านกับผู้ป่วยที่มีเหงื่อออกตอนกลางคืนเนื่องจากหยินพร่อง
ตัวยา ไม่ควรใช้กับอาการความร้อนที่ท�ำให้เกิดลมในกระเพาะอาหาร

44 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 45


ซี่-ซิน (Xixin) 细辛
ชื่อแต้จิ๋ว : โซ่ย-ซิง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Asarum heterotropoides F.Schmidt f. viride (Sugaya) Yamaji & Ter.Nakam.
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Asari
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมเย็นและสลายชื้น แก้ปวด
รสชาติและคุณสมบัติ 温(อุ่น) 辛(เผ็ด) 苦(ขม)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 3–9 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านเชื้อรา แก้ปวดข้อ แก้ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ
羌活(เชียงหัว) 9 กรัม 防风(ฝางเฟิง) 9 กรัม
苍术(ชังจู๋) 9 กรัม 细辛(ซี่ซิน) 3 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 川芎(ชวนซรฺง) 6 กรัม 白芷(ไป๋จื่อ) 6 กรัม
จิ่วเว่ย์เชียงหัวทัง 生地(เซิงตี้) 6 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 6 กรัม
(九味羌活汤)
甘草(กันเฉ่า) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ ขับเหงื่อ ขจัดความชื้น และระบายลมร้อนภายใน แก้ปวด

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยาจิ่วเว่ย์เชียงหัวทัง ห้ามใช้กับอาการลมร้อนหรืออาการหยินพร่องก�ำเนิดไฟ
อาการม้ามกระเพาะอาหารพร่อง ส่วนอาการหยินและเลือดพร่อง ร้อนแห้ง ไม่ควรใช้
ถ้าใช้ตัวยาในปริมาณมาก อาจท�ำให้เกิดอารคลื่นไส้อาเจียน

46 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 47


ไป๋-จื่อ (Baizhi) 白芷
ชื่อแต้จิ๋ว : แปะ-จี้
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Angelica dahurica (Hoffm.) Maxim.
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Anglicae Dahuricae

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมเย็นและความชื้น แก้ปวด ท�ำให้จมูกโล่ง ละลายเสมหะ
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 温(อุ่น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 肝(ตับ) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 1–3 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก ต้น ใบ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านเชื้อรา แก้ปวดข้อ แก้ปวดเกร็งกล้ามเนื้อ
麻黄(去节) หมาหวง(ชฺวี้เจี๋ย) 9 กรัม 桂枝(กุ้ยจือ) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 干姜(กันเจียง) 6 กรัม 细辛(ซี่ซิน) 6 กรัม 白芍( ไป๋เสา) 9 กรัม
五味子(อู่เว่ย์จื่อ) 6 กรัม 半夏(ปั้นเซี่ย) 9 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 6 กรัม
เสี่ยวชิงหลงทัง
การออกฤทธิ์ กระทุ้งไข้หวัด ขับความเย็น แก้ไอระงับหอบ
(小青龙汤)
เสริมความอุ่นให้ปอดและสลายของเหลวในปอด

ข้อควรระวัง
ไม่ควรใช้ต�ำรับยานี้กับผู้ป่วยที่มีอาการไอแห้งไม่มีเสมหะหรือมีเสมหะสีเหลือง ข้นเหนียว
คอแห้ง ปากแห้ง ตัวยามีพิษไม่ควรใช้เยอะและควรต้มนาน ๆ เพื่อป้องกันผลข้างเคียง
ที่ท�ำให้ปวด อาเจียน คลื่นไส้ ขั้นร้ายแรง อาจท�ำให้เกิดอาการชัก และท้ายสุดอาจท�ำให้
หายใจไม่ได้จนตาย นอกจากนี้แล้วอาการชี่พร่องเหงื่อออกเยอะอาการหยินพร่องไม่ควรใช้
รวมทั้งตัวยาห้ามใช้กับยาหลี่หลู(藜芦)

48 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 49


ชัง-เอ๋อ-จื่อ (Cangerzi)苍耳子
ชื่อแต้จิ๋ว : ชาง-หยือ-จี้
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Xanthium sibiricum Patrin ex Widder var. jingyuanense H.G.Hou & Y.T.Lu
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Xanthii

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมเย็นและสลายชื้น แก้ปวด ท�ำให้จมูกโล่ง ขับหนอง แก้พิษงู
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 温(อุ่น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 3-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก-หัว
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต้านแบคทีเรีย แก้พิษงู แก้ปวด แก้หวัด
柴胡 (ไฉหู) 6 กรัม 甘草 (กันเฉ่า) 3 กรัม
黄芩 (หวงฉิน) 9 กรัม 羌活 (เชียงหัว) 3 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 白芷 (ไป๋จื่อ) 3 กรัม 芍药 (เสาเย่า) 3 กรัม
ไฉเก๋อเจี่ยจีทัง 桔梗 (เจี๋ยเกิ่ง) 3 กรัม 生姜 (เซิงเจียง) 3 แผ่น
(柴葛解肌汤)
大枣 (ต้าเจ่า) 2 ผล
การออกฤทธิ์ คลายกล้ามเนื้อ ระบายความร้อน ระงับปวด

ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ต�ำรับยานี้กับผู้ป่วยที่ลมเย็นกระทบร่างกายแล้วยังไม่แปรเปลี่ยนเป็นความร้อน หรือ
ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคเข้าสู่อวัยวะหยางหมิง(กระเพาะอาหารและล�ำไส้)แล้วท�ำให้มีอาการ
ท้องผูกและปวดท้อง ตัวยาไม่ควรใช้กับอาการหยินพร่องและเลือดร้อน

50 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 51


ซิน-อี๋-ฮวา (Xinyihua)辛夷花
ชื่อแต้จิ๋ว : ซิง-อี่-ฮวย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Magnolia denudata Desr. var. pyriformis T.D.Yang & T.C.Cui
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อเภสัชวิทยา : Flos Magnoliae

สรรพคุณ ขับลมเย็น แก้ปวด ท�ำให้จมูกโล่ง รักษาอาการคัน ลมพิษ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน


รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 苦(ขม) 温(อุ่น) 有毒(มีพิษ)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด)
ปริมาณที่ใช้ 3 -10 กรัม
ส่วนที่ใช้ เมล็ด
ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา รักษาอาการปวดข้อ แก้การเกร็ง
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กล้ามเนื้อ แก้ปวด ถ้าใช้มากจะเกิดพิษ ท�ำให้น�้ำตาลในเลือดต�่ำ
มากจนชัก ยานี้จึงไม่ควรใช้ปริมาณมากจนเกินไป
苍耳子(ชังเอ๋อจื่อ) 10 กรัม 辛夷花(ซินอี๋ฮวา) 10 กรัม
白芷(ไป๋จื่อ) 10 กรัม 川芎(ชวนซฺรง) 10 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 黄芩(หวงฉิน) 10 กรัม 薄荷(ป๋อเหอ) 10 กรัม
ชางเอ๋อจื่อส่าน 川贝母(ชวนเป้ยหมู่) 10 กรัม 菊花(จวี๋ฮวา) 10 กรัม
(苍耳子散) 甘草(กันเฉ่า) 10 กรัม
การออกฤทธิ์ ขับกระจายลม ท�ำให้จมูกโล่ง ระงับอาการปวด
ออกฤทธิ์ต่อปอด ทะลวงเส้นท�ำให้เส้นลมปราณโล่ง

ข้อควรระวัง
ยามีพิษอาจท�ำให้คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย ส่วนอาการปวดหัวจากเลือดพร่องและ
สตรีมีครรภ์ไม่ควรใช้

52 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 53


เซิง-เจียง (Shengjiang)生姜
ชื่อแต้จิ๋ว : แช-เกีย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Zingiber officinale var. rubrum Theilade
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Zingiberris Recens

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมเย็น ท�ำให้จมูกโล่ง
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 温 (อุ่น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 3 -9 กรัม
ส่วนที่ใช้ ดอก
ต้านเชื้อรา แก้อาการปวด และกล่อมประสาท ท�ำให้เกิดการหด
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ตัวของหลอดเลือดในโพรงจมูก ท�ำให้มดลูกหดตัว ลดความดันเลือด
白芷(ไป๋จื่อ) 6 กรัม 薄荷(ป้อเหอ) 6 กรัม
辛夷花(ซินอี๋ฮวา) 10 กรัม 苍耳子(ชังเอ๋อจื่อ) 10 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 黄芩(หวงฉิน) 10 กรัม 菊花(จวี๋ฮวา) 10 กรัม
เสี่ยวชางเอ๋อจื่อส่าน 连翘(เหลียนเชี่ยว) 10 กรัม
(小苍耳子散)
การออกฤทธิ์ ขับลม ขจัดเย็น ระงับปวดบริเวณใบหน้าและ
ศีรษะ ท�ำให้จมูกโล่ง

ข้อควรระวัง
ตัวยานี้ห้ามใช้กับคนที่ปวดศรีษะจากหยินพร่อง โรคที่เกิดจากความร้อน

54 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 55



กลุ่มยาระบายลมภายนอก
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้

ขับเหงื่อ แก้อาเจียน แก้ไอ ลดพิษของสมุนไพรบางชนิดได้ เช่น


สรรพคุณ
(发散解表药)
半夏(ปั้นเชี่ย)
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 温(อุ่น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ
ปริมาณที่ใช้
肺(ปอด) 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร)
3–10 กรัม
- ยาขับระบายลมเย็น(发散风寒药)
ส่วนที่ใช้ เหง้า
ช่วยย่อยอาหาร ออกฤทธิ์เพิ่มการหลั่งน�้ำย่อยและกระตุ้นการ
- ยาขับระบายลมร้อน(发散风热药)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา บีบตัวของกระเพาะอาหาร ระงับอาการคลื่นไส้อาเจียน ขับเหงื่อ
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
柴胡 (ไฉหู) 24 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 半夏 (ปั้นเซี่ย) 9 กรัม 生姜(เซิงเจียง) 9 กรัม
เสี่ยวไฉหูทัง 人参 (เหรินเซิน) 9 กรัม 大枣(ต้าเจ่า) 12 ผล
(小柴胡汤) 甘草(炙) กันเฉ่า(จื้อ) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ ปรับสมดุลเส้นเส้าหยาง (ถุงน�้ำดี) ระงับปวด

ข้อควรระวัง
ยาต�ำรับนี้ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่เป็นโรคส่วนบนแกร่ง ส่วนล่างพร่อง ไฟตับสูงจัดจนพุ่งขึ้นส่วน
บน มีอาการหยินพร่องผสมเลือดจางส่วนคนที่มีอาการหยินพร่องก�ำเนิดร้อนไม่ควรใช้

56 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 57


ยาขับระบายลมร้อน ป๋อ-เหอ (Bohe)薄荷
(发散风热药)
ชื่อแต้จิ๋ว : ป่อ-ห่อ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Mentha cordifolia Lej. & Courtois
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Menthae

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

ป๋อเหอ(薄荷) หนิวป้างจื่อ(牛旁子) จวี๋ฮวา(菊花)

ซางเย่(桑叶) ฉานทุ่ย(蝉蜕) ม่านจิงจื่อ(蔓荆子)


เก๋อเกิน(葛根) ไฉหู(柴胡) เซิงหมา(升麻)

อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 59


หนิว-ป้าง-จื่อ (Niubangzi)牛蒡子
ชื่อแต้จิ๋ว : หงู่-ผัง-จี้
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Arctium lappa L. subsp. nemorosum (Lej.) P.D.Sell
ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Arctii

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมร้อน แก้ปวดศีรษะ ตาแดง เจ็บคอ กระทุ้งผื่น
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 凉(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺 (ปอด) 肝(ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 3–6 กรัม
ส่วนที่ใช้ ใบหรือส่วนทั้งหมดของพืช
ต้านแบคทีเรีย ลดไข้ (ช่วยขับเหงื่อ) ท�ำให้ผิวหนังเย็น ขยายหลอด
เลือดฝอยบริเวณผิวหนัง ลดอุณภูมิของร่างกาย แก้ปวดกระเพาะ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา อาหาร แก้คัน ขับเมือก ลดการอักเสบในระบบทางเดินหายใจ เพิ่ม
การขับน�้ำดีและ
เกลือดี (bile salt)
大黄(ต้าหวง) 9 กรัม 朴硝(ผอเชียว) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 甘草(กันเฉ่า) 9 กรัม 山栀子仁(ซานจือจื่อเหริน) 5 กรัม
เหลียงเก๋อส่าน 薄荷(ป๋อเหอ) 5 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 5 กรัม 连翘(เหลียนเชี่ยว) 18 กรัม
(凉膈散)
การออกฤทธิ์ รักษาอาการร้อนในของซ่างจงเจียว(上中焦)

ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับอาการชี่พร่องเหงื่อออกง่าย หรือคนที่เหงื่อออกเยอะ รวมทั้งอาการหยินพร่องเลือดแห้ง

60 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 61


ซาง-เย่ (Sangye) 桑叶
ชื่อแต้จิ๋ว : ซึง-เฮียะ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Morus alba var. emarginata Y.B.Wu
ชื่อเภสัชวิทยา : Folium Mori

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมร้อน แก้เจ็บคอ ขับพิษ ลดบวม กระทุ้งผื่น
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 苦(ขม) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 6-12 กรัม
ส่วนที่ใช้ เมล็ด
ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ขับปัสสาวะ ลดอาการไข้ ลดน�้ำตาลในเลือด
ช่วยระบาย เป็นยาที่มีผลต่อการอักเสบของเส้นลมปราณปอด โดยเฉพาะ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา อาการเจ็บคอและอาการหัด คางทูม ไข้ทรพิษ และลดอาการอักเสบของตับ
ในผู้ป่วยอักเสบเรื้อรัง มักใช้ร่วมกับ 金银花(จิน-อิ๋น-ฮวา)
连翘(เหลียน-เชี่ยว) 玄参(เสวียน-เซิน) 川贝母(ชวน-เป้ย-หมู่)
西河柳(ซีเหอหลิ่ว) 6 กรัม 荆芥(จิงเจี้ย) 4 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 3 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 干葛(กันเก๋อ) 5 กรัม 蝉蜕(ฉันทุ่ย) 3 กรัม 玄参(เสวียนเซิน) 6 กรัม
จู๋เย่หลิวป้างทัง 知母(จือหมู่) 3 กรัม 薄荷(ป๋อเหอ) 3 กรัม 竹叶(จู๋เย่) 10 กรัม
(竹叶柳蒡汤) 炒牛蒡子(เฉ่าหนิวป้างจื่อ) 5 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาโรคหัดที่มีผื่นแดงร้อนท�ำลายสารน�้ำ แก้ไข้ตัวร้อน

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยานี้ห้ามใช้ในผู้ป่วยระยะที่มีผื่นใกล้จะแตกปวดแสบปวดร้อนส่วนคนที่มีอาการม้าม
พร่องท้องเสียถ่ายเหลว ไม่ควรใช้ต�ำรับยานี้

62 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 63


จวี๋-ฮวา (Juhua) 菊花
ชื่อแต้จิ๋ว : เก๊ก-ฮวย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Chrysanthemum indicum L. var. aromaticum (Q.H.Liu & S.F.Zhang) J.M.Wang & Y.T.Wu
ชื่อเภสัชวิทยา : Flos Chrysanthemi

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมร้อน ดับร้อนในตับ เพิ่มความชุ่มชื้นปอด
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 甘(หวาน) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肝(ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 6–12 กรัม
ส่วนที่ใช้ ใบ
ต้านแบคทีเรีย ลดอาการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อ ขับเหงื่อ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ใบหม่อนชนิดสกัด ใช้ฉีดรักษาการอักเสบของโรคเท้าช้าง
ฝีหนอง ลดไขมันในเลือด ลดระดับน�้ำตาลในเลือด
桑叶(ซังเย่) 8 กรัม 菊花(จวี๋ฮวา) 3 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 杏仁(ซิ่งเหริน) 6 กรัม 连翘(เหลียนเชี่ยว) 5 กรัม
ซังจวี๋อิน 薄荷(ป๋อเหอ) 3 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 3 กรัม
(桑菊饮) 苇根(เหว่ยเกิน) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการไอจากลมร้อน

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยานี้ไม่เหมาะส�ำหรับ อาการไอที่เกิดจากลมเย็นและไม่ควรใช้เป็นเวลานานพออาการไอ
หายแล้วก็ควรเลิกใช้

64 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 65


ฉัน-ทุ่ย (Chantui)蝉蜕
ชื่อแต้จิ๋ว : เสียง-ถ่อ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cryptotympana pustulata Fabricius
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อเภสัชวิทยา : Perostracrum Cicadea

สรรพคุณ ขับลมร้อน ดับร้อนในตับ ท�ำให้ตาสว่าง ล้างพิษ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน


รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด)甘 (หวาน)苦 (ขม) 微寒(เย็นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肝(ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 5-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ดอก
ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ต้านไวรัส ลดอาการไข้ ลดความดัน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เลือดสูง ลดอาการอักเสบของตา ขยายหลอดเลือดหัวใจ
羚角片(หลิงเจี่ยวเพี่ยน) 5 กรัม 钩藤(โกเถิง) 9 กรัม
桑叶(ซังเย่) 6 กรัม 菊花(จวี๋ฮวา) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 生地(เซิงตี้) 15 กรัม 白芍(ไป๋เสา) 9 กรัม
หลิงเจี่ยวโกวเถิงทัง 川贝母(ชวนเป้ยหมู่) 12 กรัม 淡竹茹(ตันจู๋หรู) 15 กรัม
(羚角钩藤汤) 茯神(ฝู่เสิน) 9 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 3 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการชักกระตุกตามมือตามเท้าที่เกิดจาก
ความร้อนของตับ
ข้อควรระวัง
ต�ำรับยานี้ไม่ควรใช้กับอาการที่มีลมมาก จากหยินพร่องและเย็นเกิน

66 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 67


ม่าน-จิง-จื่อ (Manjingzi) 蔓荆子
ชื่อแต้จิ๋ว : หมั่ง-เก็ง-จี้
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Vitex trifolia var. subtrisecta (Kuntze) Moldenke
ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Viticis

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
ขับลมร้อน กระทุ้งผื่น ลดไข้ แก้ชักเกร็ง ลดอาการบวมที่ล�ำคอ
สรรพคุณ
ลดอาการเสียงแหบ ลดอาการต้อ
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肝(ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 3-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ คราบของตัวอ่อน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ลดไข้ ลดอาการเกร็งกล้ามเนื้อ กล่อมประสาท
荆芥(จิงเจี้ย) 防风(ฝางเฟิง) 牛蒡子(หนิวป้างจื่อ)
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 蝉蜕(ฉันทุ่ย) 苍术(ชังจู๋) 苦参(ขู่เซิน) 石膏(สือเกา)
เซียวเฟิงส่าน 知母(จือหมู่) 当归(ตังกุย) 胡麻仁(หูหมาเหริน)
(消风散) 生地(เซิงตี้) 木通(มู่ทง) 甘草(กันเฉ่า) อย่างละ 3 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาอาการผื่นที่เกิดจากลมหรือความชื้น

ข้อควรระวัง
ไม่ควรรับประทานอาหารเผ็ด ปลาเหม็นคาว บุหรี่ เหล้า น�้ำชาเข้มข้น ระหว่างใช้ต�ำรับยานี้

68 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 69


เก๋อ-เกิน (Gegen)葛根
ชื่อแต้จิ๋ว : กั่ว-กิง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Pueraria lobata (Willd.) Ohwi subsp. thomsonii (Benth.) H.Ohashi & Tateishi
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Platycodi

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับลมร้อน ดับร้อนที่ศีรษะและตา แก้ปวด
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 苦(ขม) 微寒(เย็นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร) 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ)
ปริมาณที่ใช้ 6–12 กรัม
ส่วนที่ใช้ ผล
แก้อาการปวดบริเวณศีรษะ ดวงตา กล่อมประสาท ลดการงอก
ของหนวดเครา 蔓荆子 (ม่าน-จิง-จื่อ) เด่นในการระบายร้อน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
บริเวณศีรษะและตา ใช้รักษาอาการปวดศีรษะเรื้อรัง ไมเกรน
ตามัว น�้ำตาไหล จากท่อน�้ำตาตีบตัน
羌活(เชียงหัว) 6 กรัม 独活(ตู๋หัว) 6 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 防风(ฝางเฟิง) 3 กรัม 藁本(กาวเปิ่น) 3 กรัม
เชียงหัวเชิ่งซือทัง 川芎(ชวนซฺรง) 3 กรัม 蔓荊子(ม่านจิงจื่อ) 2 กรัม
(羌活胜湿汤) 甘草(กันเฉ่า) 3 กรัม
การออกฤทธิ์ ขจัดความชื้นภายนอก ระงับปวด
ข้อควรระวัง
ยาต�ำรับนี้มีรสเผ็ดและมีคุณสมบัติอุ่น กระจายภายนอก ไม่เหมาะส�ำหรับกลุ่มอาการหวัด
จากการกระทบลมร้อนหรือหวัดที่มีเหงื่อออกมาก

70 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 71


ไฉ-หู (Chaihu) 柴胡
ชื่อแต้จิ๋ว : ฉ่า-โอ๊ว
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Bupleurum chinense DC. (Bei Chai Hu); Bupleurum scorzoneraefoliumWilld. (Nan Chai Hu)
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Bupleuri

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
คลายกล้ามเนื้อขับร้อน ลดไข้ กระทุ้งผื่น แก้กระหายน�้ำ ดึงหยาง
สรรพคุณ
แก้ท้องเสีย
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 辛(เผ็ด) 凉(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร) 肺(ปอด)
ปริมาณที่ใช้ 10 – 15 กรัม
ส่วนที่ใช้ รากและหัว
ขับเสมหะ ลดน�้ำตาลในเลือด ลดคอเลสตอรอล ต้านไวรัส
ต้านแบคทีเรีย ท�ำให้เลือดออก โดยการรับประทานท�ำให้สารที่
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ท�ำให้เลือดออก ถูกท�ำลายโดยกรดในทางเดินอาหาร (ไม่นิยมท�ำ
เป็นยาฉีด)
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 升麻(เซิงหมา) 10 กรัม 葛根(เก๋อเกิน) 10 กรัม
เซิงหมาเก๋อเกินทัง 芍药(เสาเย่า) 6 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 3 กรัม
(升麻葛根汤) การออกฤทธิ์ รักษาโรคหัดระยะเริ่มต้น

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยาไม่ควรใช้ส�ำหรับโรคหัดที่มีผื่นใกล้สุกแตกหรือพิษของผื่นเข้าสู่ภายในแล้วเกิด
อาการหอบ

72 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 73


เซิง-หมา (Shengma) 升麻
ชื่อแต้จิ๋ว : เซ็ง-มั้ว
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Cimicifuga heracleifolia Kom.
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Cimicifugae
ขับลมร้อน ลดไข้ ช่วยให้ลมปราณตับไหลเวียนดี ช่วยดึงหยาง
สรรพคุณ
และชี่สู่เบื้องบน ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 辛 (เผ็ด) 微寒(เย็นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ) 胆(ถุงน�้ำดี)
ปริมาณที่ใช้ 3-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก
ลดไข้ ต้านแบคทีเรีย ต้านไวรัส ต้านมาลาเรีย แก้อาการปวด (โดยเฉพาะชายโครง)
ต้านการอักเสบ ลด SGOT และ SGPT(การอักเสบของตับ) ใช้ในตับอักเสบเรื้อรัง
ตับมีไขมันพอก(fatty liver) ปวดชายโครงกระตุ้นการบีบตัวของน�้ำดี(กรณีน�้ำดีอักเสบ)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ลดความดันเลือดเล็กน้อย ป้องกันเซลล์ตับถูกท�ำลาย ลดคอเรสตอรอล
ไตรกลีเซอร์ไรด์ในตับ เพิ่มการสังเคราะห์ไกลโคเจนและการสร้างกรดไรโบนิวคลีอิก
ของเซลล์ตับ ป้องกันการแตกตัวของเม็ดเลือดลดความเครียดทางจิตใจ กล่อม
ประสาท กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
黄芪(หวงฉี) 18 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 9 กรัม
人参(เหรินเซิน) 6 กรัม 当归(ตังกุย) 3 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 陈皮(เฉินผี) 6 กรัม 升麻(เชิงหมา) 6 กรัม
ปู่จงอี้ชี่ทัง 柴胡(ไฉหู) 6 กรัม 白术 (ไป๋จู๋) 9 กรัม
(补中益气汤)
การออกฤทธิ์ รักษาอาการชี่ของม้ามและกระเพาะอาหารพร่อง
อาการชี่พร่องลงสู่เบื้องล่าง

ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับอาการที่พลังหยางของตับขึ้นสู่เบื้องบน ลมตับขับเคลื่อนและหยินพร่อง
ท�ำให้ไฟก�ำเริบ

74 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 75


กลุ่มยาดับร้อน
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
(清热药)
สรรพคุณ ขับลมร้อน ขับเหงื่อ กระทุ้งผื่น ล้างพิษ
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 微甘(หวานเล็กน้อย) 微寒(เย็นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่) - ยาดับร้อนระบายไฟ(清热泻火药)
ปริมาณที่ใช้
ส่วนที่ใช้
3-10 กรัม
รากและหัว - ยาดับร้อนระเหยชื้น(清热燥湿药)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ต้านแบคทีเรีย ลดไข้ กล่อมประสาท แก้ปวด (โดยเฉพาะอาการปวดศรีษะ)
ท�ำลายพิษ - ยาดับร้อนล้างพิษ(清热解毒药)
生地(เซิงตี้) 6 กรัม 当归身(ตังกุยเสิน) 6 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 牡丹皮(หมู่ตันผี) 9 กรัม 升麻(เชิงหมา) 9 กรัม - ยาดับร้อนในเลือด(清热凉血药)
ชิงเว่ย์ส่าน (清胃散) 黄连(หวงเหลียน) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาอาการปวดฟันรากฟันอักเสบที่เกิดจาก
ความร้อนของกระเพาะอาหาร
- ยาดับร้อนชนิดพร่อง(清退虚热药热)

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยาไม่ควรใช้กับอาการปวดฟันรากฟันอักเสบที่เกิดจากลมเย็นและจากอาการไตพร่อง
ร้อนใน ตัวยา ไม่ควรใช้กับผื่นที่สุกแตกแล้ว หยินพร่องไฟก�ำเริบหรือตับหยางขึ้นสู่เบื้องบน

76 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 77


ยาดับร้อนกับไฟ(清热泻火药)
สือ-เกา (Shigao) 石膏

ชื่อแต้จิ๋ว : เจียะ-กอ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Calcium sulphate
ชื่อเภสัชวิทยา : Gypsum Fibrosum

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

สือเกา(石膏) จือหมู(่ 知母)


หลูเกิน(芦根) เทียนฮวาเฝิ่น(天花粉)

จือจื่อ(栀子) ตันจู๋เย่(淡竹叶)

78 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 79


จือ-หมู่ (Zhimu) 知母
ชื่อแต้จิ๋ว : ตี-บ้อ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Anemarrhena asphodeloides Bunge
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Anemarrhenae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
ดับร้อน ดับไฟ ลดไข้ แก้กระหายน�้ำ สมานแผล ขับความร้อน
สรรพคุณ
ระดับชี่
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 甘(หวาน) 大寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 15–60 กรัม
ส่วนที่ใช้ แร่ธาตุ
ลดไข้ได้อย่างรวดเร็ว แต่ลดไข้ได้ไม่นาน(ฤทธิ์สั้น) ใช้ปรับอุณหภูมิ
ของร่างกาย ในภาวะไข้สูงแก้กระหายน�้ำ ลดการหลั่งเหงื่อของ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ต่อมเหงื่อท�ำให้อุณภูมิลดลงโดยไม่เสียเหงื่อมาก ช่วยเพิ่มระดับ
ความเข้มของแคลเซียมในเลือดช่วยดูดซึม ของแคลเซียมและ
ช่วยดูดซึมของแคลเซียมในล�ำไส้ ดีกว่าเกลือแคลเซียมอื่น ๆ
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 竹叶(จู๋เย่)  6 กรัม  石膏  (สือเกา) 5 กรัม
麦冬(ไม่ตง)  20 กรัม  人参 (เหรินเซิน) 6 กรัม
จู๋เยี่ยสือเกาทัง
半夏 (ปั้นเซี่ย) 9 กรัม   甘草 (กันเฉ่า) 6 กรัม
(竹叶石膏汤)
粳米(จิงหมี่) 10 กรัม
การออกฤทธิ์ ระบายความร้อน เพิ่มสารน�้ำ เสริมชี่ ปรับสมดุลกระเพาะอาหาร

ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามกระเพาะอาหารเย็นหรือหยินพร่อง ร้อนใน

80 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 81


หลู-เกิน (Lugen)芦根
ชื่อแต้จิ๋ว : โหล่ว-กิง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Phragmites communis Trin. f. salsus (Podp.) Soó
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Phragmits
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ดับร้อน ดับไฟ แก้หงุดหงิด สร้างความชุ่มชื่นแก้กระหายน�้ำ
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 甘(หวาน) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 6–12 กรัม
ส่วนที่ใช้ เหง้า
เป็นยาต้านแบคทีเรียและต้านเชื้อรา มีฤทธิ์ลดไข้ ขับปัสสาวะ
ลดน�้ำตาลในเลือด สามารถลดผลข้างเคียงของยาสตีรอยด์
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
(hydrocortiso) ถ้าใช้ร่วมกับสตีรอยด์จะป้องกันการฝ่อของต่อม
หมวกไตได้ ต้านมะเร็งปากมดลูก มะเร็งผิวหนังและมะเร็งตับ
石膏(สือเกา) 50 กรัม 知母(จือหมู่) 18 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
甘草(กันเฉ่า) 6 กรัม 粳米(จิงหมี่) 4 กรัม
ไป๋หู่ทัง
การออกฤทธิ์ รักษาความร้อนระดับชี(่ 气分)เหงื่อไหลมาก
(白虎汤)
กระหายน�้ำจัด ตัวร้อนสูง เส้นชีพจรใหญ่และแรง

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยาไม่ควรใช้กับอาการร้อนเทียมหรืออาการหยินแกร่งผลักดันหยางสู่ภายนอก ตัวยา
ไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามพร่องท้องเสีย

82 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 83


เทียน-ฮวา-เฝิ่น (Tianhuafen) 天花粉
ชื่อแต้จิ๋ว : เทียน-ฮวย-ฮุ่ง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Trichosanthes kirilowii Maxim.
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Trichosanthis
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะทั้งหมดของยาจีน
ดับร้อนในปอด กระเพาะอาหาร แก้อาเจียน ขับปัสสาวะ สร้าง
สรรพคุณ
สารน�้ำแก้กระหาย
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร )
ปริมาณที่ใช้ 15–60 กรัม
ส่วนที่ใช้ เหง้า
ขับปัสสาวะ ใช้ในภาวะการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ ปัสสาวะขัด
กะปิดกะปรอยและสีเหลือง ละลายนิ่วถุงน�้ำดี ใช้แก้พิษของปลา
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
และหอย แก้ไอหรือหอบ (สาร L-asparagine) ลดปวดลดไข้
ช่วยนอนหลับ (สาร cioxcl)
金银花(จินอิ๋นฮวา) 15 กรัม 连翘(เหลียนเชี่ยว) 15 กรัม
桔梗(เจี๋ยเกิ่ง) 6 กรัม 薄荷(ป๋อเหอ) 6 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 竹叶(จู๋เย่) 4 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 5 กรัม
อิ๋นเชี่ยวส่าน 荆芥(จิงเจี้ย) 4 กรัม 淡豆豉(ตันโต้วฉื่อ) 5 กรัม
(银翘散)
牛蒡子(หนิวป้างจื่อ) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการหวัดที่เกิดจากลมร้อน ปวดหัว ไอ คอบวม

ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามพร่องท้องเสีย

84 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 85


จือ-จื่อ (Zhizi) 栀子
ชื่อแต้จิ๋ว : กี-จี้
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Gardenia jasminoides J.Ellis var. plana (Voigt) M.R.Almeida
ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Gardeniae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ดับร้อน ล้างพิษ ลดบวม
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 微苦(ขมเล็กน้อย) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 10-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ เหง้า
เหนี่ยวน�ำท�ำให้เกิดการแท้ง เมื่อฉีดสารสกัดของสมุนไพรเข้าไปจะเกิดการ
ขาดเลือดของเยื่อบุรก ท�ำให้เกิดการแท้งใน 6-7 วัน มีผลต่อระดับน�้ำตาล
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ในเลือด เพิ่มความทนต่อการขาดออกซิเจน แก้ไอท�ำให้เมือกจากเยื่อบุปอด
ไม่เหนียวซึ่งส่งผลให้มีฤทธิ์ในการแก้เจ็บหน้าอกหรือปอดอักเสบ
白芷(ไป๋จื่อ) 6 กรัม贝母(เป้ยหมู่) 6 กรัม 防风(ฝางเฟิง) 6 กรัม
赤芍(ชื่อเสา) 6 กรัม 当归(ตังกุย) 6 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 6 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 皂角刺(เจ๋าเจี่ยวชื่อ) 6 กรัม 穿心莲(ชวนซินเหลียน) 6 กรัม
เซียนฟางหัวมิ่งอิ่น 天花粉(เทียนฮวาเฝิ่น) 6 กรัม 乳香(หลูเซียง) 6 กรัม 没药
(仙方活命饮)
(ม่อเย่า) 6 กรัม 金银花(จินอี๋นฮวา) 5 กรัม 陈皮(เฉินผี) 9 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการฝีหนองระยะเริ่มต้น

ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ในคนที่ท้องเสีย หรือคนที่กระเพาะอาหารและม้ามเย็น

86 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 87


ตัน-จู๋-เย่ (Danzhuye) 淡竹叶
ชื่อแต้จิ๋ว : ต่า-เต็ก-เฮียะ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Lophatherum gracile Brongn.
ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Gardeniae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะทั้งหมดของยาจีน
สรรพคุณ ดับร้อนในเลือด ลดไข้ แก้ปวด ลดบวม ล้างพิษ ขับชื้น
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น)
心(หัวใจ) 肝(ตับ) 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
เข้าสู่เส้นลมปราณ
三焦(ซานเจียว)
ปริมาณที่ใช้ 5–10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ผล
มีผลต่อการบีบตัวและการหลั่งน�้ำดีจากถุงน�้ำดีมากขึ้น ท�ำให้
ระดับความเข้มข้นของสารบิลลิรูบินในเลือดเพิ่มขึ้น ลดความดัน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เลือด ช่วยกล่อมประสาท ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา ลดไข้โดย
กดการท�ำงานของศูนย์ควบคุมอุณหภูมิ ท�ำให้เนื้อเยื่อที่เป็นแผล
หายเร็วขึ้น ลดการบวมจากเลือดคั่ง บาดเจ็บภายนอก
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 黄连(หวงเหลียน) 9 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 6 กรัม
หวงเหลียนเจี่ยตู๋ทัง 黄柏(หวงป๋อ) 6 กรัม 栀子(จือจื่อ) 9 กรัม
(黄连解毒汤) การออกฤทธิ์ รักษาอาการร้อนที่อยู่ภายในซานเจียว (三焦)

ข้อควรระวัง
ตัวยาห้ามใช้กับคนที่มีอาการม้ามพร่องท้องเสีย

88 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 89


กลุ่มยาดับร้อน
(清热药)
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้

สรรพคุณ ดับร้อน แก้กระหายน�้ำ ขับปัสสาวะ - ยาดับร้อนระบายไฟ(清热泻火药)


รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 淡(จืด) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 胃(กระเพาะอาหาร) 小肠(ล�ำไส้เล็ก) - ยาดับร้อนระเหยชื้น(清热燥湿药)
ปริมาณที่ใช้
ส่วนที่ใช้
10–15 กรัม
ใบ
- ยาดับร้อนล้างพิษ(清热解毒药)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ฤทธิ์ลดไข้ เพิ่มการขับคลอไรด์มากขึ้นทั้งที่ปัสสาวะลดลง - ยาดับร้อนในเลือด(清热凉血药)
水牛角(สุ่ยหนิวเจี่ยว) 30 กรัม 生地(เซิงตี้) 15 กรัม
玄参(เสวียนเซิน) 9 กรัม 淡竹叶(ตันจู๋เย่) 3 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 麦冬(ม่ายตง) 9 กรัม 丹参(ตันเซิน) 6 กรัม
- ยาดับร้อนชนิดพร่อง(清退虚热药热)
ชิงอิ๋งทัง(清营汤) 黄连(หวงเหลียน) 5 กรัม 金银花(จินอิ๋นฮวา) 9 กรัม
连翘(เหลียนเชี่ยว) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาความร้อนในระดับอิ๋ง(营分)

ข้อควรระวัง
ตัวยาห้ามใช้ในคนที่ท้องเสียระบบกระเพาะอาหารและม้ามเย็น ส่วนต�ำรับยาไม่ควรใช้กับอาการ
ร้อนชื้นร่วมด้วย

90 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1
กลุ่มยาขจัดความร้อนสลายความชื้น
清热燥湿药 หวง-ฉิน (Huangqin) 黄芩
ชื่อแต้จิ๋ว : อึ่ง-งิ้ม
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Scutellaria baicalensis Georgi f. albiflora H.W.Jen & Y.J.Chang
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Coptidis

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะทั้งหมดของยาจีน

หวงฉิน(黄芩) หวงเหลียน(黄连)


หวงไป๋(黄柏) หลงต่านเฉ่า(龙胆草)

ขู่เซิน(苦参)
อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 93
หวง-เหลียน (Huanglian) 黄连
ชื่อแต้จิ๋ว : อึ่ง-โน้ย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Coptis chinensis Franch. var. angustiloba W.Y.Kong
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Coptidis

ขจัดร้อน ขจัดชื้น ล้างพิษ ท�ำให้เลือดเย็นห้ามเลือด ป้องกันการ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน


สรรพคุณ
แท้งบุตร
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น)
肺(ปอด) 脾 ม้าม胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
เข้าสู่เส้นลมปราณ
小肠(ล�ำไส้เล็ก) 肝(ตับ) 胆(ถุงน�้ำดี)
ปริมาณที่ใช้ 3-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ รากและเหง้า
ฤทธิ์ลดปฏิกิริยาการอักเสบของร่างกาย เช่น ลดอาการบวม ลดการหด
ตัวหลอดลม ลดการไหลเวียนเลือดบริเวณที่มีการอักเสบ ฤทธิ์ต้านเชื้อ
แบคทีเรีย ลดการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด กระตุ้นกล้าม
เนื้อเรียบของมดลูก กระเพาะอาหาร หลอดลม ล�ำไส้ กระเพาะปัสสาวะ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กระตุ้นการหลั่งน�้ำดี เหมาะส�ำหรับรักษาโรค ถุงน�้ำดี อักเสบเรื้อรัง กระตุ้น
การท�ำงานของเม็ดเลือดขาวในการจับกินเชื้อโรค ลดไข้ ขับปัสสาวะ
เป็นยาชาเฉพาะที่ กล่อมประสาท ลดการอักเสบ ภายนอกใช้รักษาหูชั้น
กลางเป็นหนอง
当归(ตังกุย) 熟地(สูตี้) 生地(เซิงตี้) 黄芪(หวงฉี)
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 黄芩(หวงฉิน) 黄连(หวงเหลียน) 黄柏(หวงไป๋)
ตังกุยลิ่วหวงทัง อย่างละ 6 กรัม
(当归六黄汤) การออกฤทธิ์ ใช้รักษาอาการหยินพร่อง ไฟก�ำเริบ เหงื่อออกมาก
ตอนกลางคืน
ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามพร่องท้องเสีย ถ่ายเหลว

94 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 95


หวง-ไป๋ (Huangbai) 黄柏
ชื่อแต้จิ๋ว : อึ่ง-แปะ
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Phellodendron amurense Rupr. f. molle (Nakai) W.Lee
ชื่อเภสัชวิทยา : Cortex Phellodendri Chinensis
สรรพคุณ ขจัดร้อนขจัดความชื้นล้างพิษ
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น)
心(หัวใจ) 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร) 肝(ตับ)
เข้าสู่เส้นลมปราณ
胆(ถุงน�้ำดี) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
ปริมาณที่ใช้ 6-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ เหง้า
ฤทธิ์ลดอาการปฏิกิริยาอักเสบของร่างกาย เช่น ลดอาการบวม
ลดการหดตัวหลอดลม ลดการไหลเวียนเลือดบริเวณที่มีการอักเสบ
ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ขับปัสสาวะ กระตุ้นการหลั่งน�้ำดีและลด
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
การอักเสบของตับ ลดการบิดเกร็งของล�ำไส้ ลดการเกร็งตัวของ
หลอดลม มีฤทธิ์กล่อมประสาท เป็นยาชาเฉพาะที่ กระตุ้นการ
ท�ำงานของเม็ดเลือดขาวในการจับกินเชื้อโรค
黄连(หวงเหลียน) 9 กรัม 吴茱萸(อู๋จูอี๋ว์) 2 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
การออกฤทธิ์ รักษาไฟตับที่ข่มกระเพาะอาหารท�ำให้มีอาการ
จั่วจินหวาน(左金丸)
ท้องเสียถ่ายเหลว

ข้อควรระวัง
ตัวยานี้ไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามกระเพาะอาหารเย็น หรือมีอาการหยินพร่อง สารน�้ำถูก
ท�ำลาย

96 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 97


หลง-ต่าน-เฉ่า (Longdancao)龙胆草
ชื่อแต้จิ๋ว : เหล่ง-ต๋า-เฉ่า
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Gentiana scabra Bunge var. kitadakensis (N.Yonez.) T.Shimizu
ชื่อเภสัชวิทยา : Radixet Rhizoma Gentiannae

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
ขจัดร้อน ขจัดความชื้น ระบายพิษ ระบายไฟที่เกิดจากอาการ
สรรพคุณ
พร่องของหยิน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肾(ไต) 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
ปริมาณที่ใช้ 3-12 กรัม
ส่วนที่ใช้ เปลือกต้น
ต้านเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันการแตกตัวของเกล็ดเลือด
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ลดความดันเลือด กระตุ้นการหลั่งน�้ำดี ขับปัสสาวะ
ลดน�้ำตาลในเลือด ลดไข้
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 白头翁(ไป๋โถวเวิง) 15 กรัม 黄柏(หวงไป๋) 12 กรัม
ไป๋โถวเวิงทัง 黄连(หวงเหลียน) 6 กรัม 秦皮(ฉินผี) 12 กรัม
(白头翁汤) การออกฤทธิ์ แก้ท้องร่วงที่เกิดจากพิษร้อนภายใน

ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามกระเพาะอาหารเย็น

98 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 99


ขู่-เซิน (Kushen)苦参
ชื่อแต้จิ๋ว : โค่ว-เซียม
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Sophora flavescens Aiton var. kronei (Hance) C.Y.Ma
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix et Rhizoma Gentiannae

สรรพคุณ ขจัดความร้อน ท�ำความชื้นให้แห้ง ระบายไฟที่ตับและถุงน�้ำดี


ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝 (ตับ) 胆 (ถุงน�้ำดี)
ปริมาณที่ใช้ 3 - 6 กรัม
ส่วนที่ใช้ รากและหัว
รับประทานก่อนอาหาร 30 นาที กระตุ้นการหลั่งน�้ำย่อยของกระเพาะ
อาหาร ถ้ากินหลังอาหารจะมีผลกลับกัน (ยับยั้ง) กระตุ้นความอยากอาหาร
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา และการย่อย ถ้ากินมากท�ำให้คลื่นไส้ อาเจียน ลดความดันเลือด
ลดเอนไซม์ในตับ ต้านแบคทีเรีย ลดการอักเสบ
龙胆草(หลงต่านเฉ่า) 6 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 9 กรัม
栀子(จือจื่อ) 9 กรัม 泽泻(เจ๋อเซี่ย) 12 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 当归(ตังกุย) 3 กรัม 生地黄(เซิงตี้หวง) 9 กรัม
หลงต่านเซี่ยกานทัง 柴胡(ไฉหู) 6 กรัม 车前子(เซอเฉียนจื่อ) 6 กรัม
(龙胆泻肝汤) 生甘草(เชิงกันเฉ่า) 6 กรัม 木通(มู่ทง) 9 กรัม
การออกฤทธิ์ ระบายความร้อนแกร่งของตับ ถุงน�้ำดี ลดความร้อนชื้น
บริเวณส่วนล่างของร่ายกาย ตั้งแต่ใต้สะดือลงมา จนถึงท้องน้อย ตลอด
จนถึงอวัยวะเพศ

ข้อควรระวัง
ไม่ควรใช้ต�ำรับยานี้เป็นเวลานาน เนื่องจากต�ำรับยานี้ประกอบด้วย ตัวยาที่มีรสขมและเย็นเป็นส่วนใหญ่ จึงท�ำลายชี่
ของกระเพาะอาหารได้ง่าย และควรระมัดระวังการใช้กับผู้ป่วยที่กระเพาะอาหารและม้ามพร่อง รวมทั้งอาการหยิน
พร่องหยางแกร่งตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามกระเพาะอาหารเย็น และอาการหยินพร่องสารน�้ำถูกท�ำลาย

100 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 101



กลุ่มยาดับร้อน
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ (清热药)
สรรพคุณ ขับร้อนสลายความชื้นและขจัดพิษ ขจัดลมแก้คัน ขับปัสสาวะฆ่าพยาธิ
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็นมาก)

เข้าสู่เส้นลมปราณ
心(หัวใจ) 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่) - ยาดับร้อนระบายไฟ(清热泻火药)
ปริมาณที่ใช้
膀胱(กระเพาะปัสสาวะ)
3 – 6 กรัม - ยาดับร้อนระเหยชื้น(清热燥湿药)
ส่วนที่ใช้ ราก
ขับปัสสาวะ ขับเกลือโซเดียม และปริมาณปัสสาวะ ต้านแบคทีเรีย
- ยาดับร้อนล้างพิษ(清热解毒药)
และต้านเชื้อโรค ถ้าใช้ขนาดสูงท�ำให้เกิดการเกร็งตัวและอัมพาต
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ของทางเดินหายใจ ใช้รักษามะเร็งปากมดลูก มะเร็งกระเพาะ
- ยาดับร้อนในเลือด(清热凉血药)
อาหารและตับ รักษาไตวายเฉียบพลัน-เรื้อรัง บวมน�้ำและลมพิษ
ลดไขมันในเลือด ท�ำให้หัวใจเต้นปกติ (ต้าน arrhythmia) - ยาดับร้อนชนิดพร่อง(清退虚热药热)
苦参(ขู่เซิน) 6 กรัม 黄柏(หวงไป๋) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 射创智(เซ่อฉวงจื่อ) 6 กรัม 龙潭草(หลงต่านเฉ่า) 9 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาอาการผื่นคันตามผิวหนัง เป็นหิดกาก
เกลื้อน โรคเรื้อน
ข้อควรระวัง
ห้ามใช้กับหลี่หลู藜芦เพราะเป็นสือปาฝั่น(十八反)กัน ห้ามใช้ในกลุ่มอาการเย็นพร่อง

102 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 103


กลุ่มยาขจัดความร้อนล้างพิษ
清热解毒药 จิน-หยิน-ฮวา (jinyinhau)金银花
ชื่อแต้จิ๋ว : กิม-หงิ่ง-ฮวย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Lonicera japonica Thunb. f. quercifolia A.I.D.Correia
ชื่อเภสัชวิทยา : Flos Lonicerae Japonicae

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

จินอิ๋นฮวา(金银花) เหลียนเชี่ยว(连翘) ต้าชิงเย่(大青叶)


อวี๋ซิงเฉ่า(鱼腥草) ผู่กงอิง(蒲公英) จื่อฮวาตี้ติง(紫花地丁)


ถู่ฝู่หลิง(土茯苓) เซ่อกัน(射干) ไป๋โถวเวิง(白头翁)


ไป๋ฮวาเสอเสอเฉ่า(白花蛇舌草) ชวนซินเหลียน(穿心莲)

104 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 105


เหลียน-เชี่ยว (Lianqiao)连翘
ชื่อแต้จิ๋ว : เหลี่ยง-เคี้ยว
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Forsythia suspensa Vahl
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Forsythiae

สรรพคุณ ขับร้อน ขจัดพิษ สลายลมร้อน ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน


รสชาติและคุณสมบัติ 甘 (หวาน) 微苦(ขมเล็กน้อย) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 胃(กระเพาะอาหาร) 心(หัวใจ)
ปริมาณที่ใช้ 6-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ดอกตูม
มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย ยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อ Staphylococcus aureus,
Hemolytic Streptococci, Shigella dysenteriae, Salmonella typhi
,Meningitis , virus ฯลฯ ลดการดูดซึม โคเรลเตอรอลของล�ำไส้ใหญ่ใน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กระต่ายทดลองลดความดันเลือด เมื่อใช้กับดอกเก็กฮวย菊花(จวี๋ฮวา)
สามารถลดคามดันเลือดสูงและป้องกันการแข็งตัวของหลอดเลือด มีฤทธิ์ใน
การป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร สารสกัดในรูปยาฉีด สามารถ
ฉีดเป็นยารักษาทอมซิลอักเสบเฉียบพลัน
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 金银花(จินอิ๋นฮวา) 15 กรัม 连翘(เหลียนเชี่ยว) 15 กรัม
桔梗(เจี๋ยเกิง่ ) 6 กรัม 薄荷(ป๋อเหอ) 6 กรัม 竹叶(จู๋เย่) 4 กรัม
หยินเชี่ยวส่าน
甘草(กันเฉ่า) 5 กรัม 荆芥(จิงเจี้ย) 4 กรัม
(银翘散) 淡豆豉(ตันโต้วฉื่อ) 5 กรัม 牛蒡子(หนิวป้างจื่อ) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการหวัดที่เกิดจากลมร้อน ปวดหัว ไอ คอบวม

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยาไม่ควรใช้กับอาการหวัดที่เกิดจากลมเย็นหรืออาการร้อนชื้น ส่วนตัวยาไม่ควรใช้กับ
คนที่มีอาการม้ามกระเพาะอาหารเย็นหรือมีฝีหนองใส อันเกิดจากชี่พร่อง

106 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 107


ต้า-ชิง-เย่ (Daqingye)大青叶
ชื่อแต้จิ๋ว : ไต่-แช-เฮียะ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Isatis tinctoria L. subsp. parchalensis A.P.Khokhr.
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ชื่อเภสัชวิทยา : Folium Isatidis
สรรพคุณ ขับร้อน ขจัดพิษ สลายลมร้อน ลดอาการบวมสลายตุ่มก้อน
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 微寒(เย็นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 心(หัวใจ) 胆(ถุงน�้ำดี) 小肠(ล�ำไส้เล็ก)
ปริมาณที่ใช้ 6-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ ผล
เป็นยาต้านแบคทีเรียชนิดทั่วไป แก้อาเจียนและกดศูนย์อาเจียน
ของสมองบริเวณ medulla oblongata ลดเอนไซม์ SGPT
กระตุ้นการท�ำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ฤทธิ์ขับปัสสาวะ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
*เหลียนเฉียว 连翘 ถือเป็นสุดยอดยาของการรักษาแผล
อักเสบ 疮家圣药 ยังรักษาเสมหะและไฟ เช่น ก้อนไทรอยด์
เป็นพิษ และกระเพาะปัสสาวะอักเสบ
黄芩(หวงฉิน) 15 กรัม 黄连(หวงเหลียน) 15 กรัม 陈皮(เฉินผี) 6 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 甘草(กันเฉ่า) 6 กรัม玄参(เสวียนเซิน) 6 กรัม 柴胡(ไฉหู) 6 กรัม
桔梗(เจี๋ยเกิ่ง) 6 กรัม 连翘(เหลียนเชี่ยว) 3 กรัม
ฝูชี่เซียวตูหยิน 板蓝根(ป่านหลานเกิน) 3 กรัม 马勃(หม่าป๋อ) 3 กรัม
(普济消毒饮) 牛蒡子(หนิวป้างจื่อ) 3 กรัม 薄荷(ป๋อเหอ) 3 กรัม
僵蚕(เชียงฉาน) 2 กรัม 升麻(เชิงหมา) 2 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการบวมแดงบริเวณใบหน้าอันเกิดจากพิษร้อน

ข้อควรระวัง
ตัวยานี้ไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้าม กระเพาะอาหารเย็น หรือมีอาการของฝีหนองใสอัน
เกิดจากชี่พร่อง

108 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 109


อวี๋-ซิง-เฉ่า (Yuxingcao)鱼腥草
ชื่อแต้จิ๋ว : หื่อ-เซ็ง-เช่า
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Houttuynia cordata Thunb. f. polypetaloidea T.Yamaz.

ชื่อเภสัชวิทยา : Folium Isatidis

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้

สรรพคุณ ขับร้อน ขจัดพิษ ท�ำให้เลือดเย็น ขับผื่นจากเลือดร้อน


รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 胃(กระเพาะอาหาร) 心(หัวใจ)
ปริมาณที่ใช้ 10-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ ใบ
ต้านแบคทีเรีย ต้านไวรัส ลดการอักเสบ ลดไข้ เพิ่มความสามารถ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ในการกินสิ่งแปลกปลอมของเม็ดเลือดขาว
大青叶(ต้าชิงเย่) 5 กรัม 大黄(ต้าหวง) 5 กรัม,
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 栀子(จือจื่อ) 5 กรัม 黄芪(หวงฉี) 5 กรัม
ต้าชิงหวาน 升麻(เซิงหมา) 5 กรัม 黄连(หวงเหลียน) 5 กรัม
(大青丸) 朴硝(ผอเซียว) 10 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการมีไข้ ร้อนใน กระหายน�้ำ หูหนวก

ข้อควรระวัง
ตัวยาห้ามใช้กับคนที่มีอาการม้ามกระเพาะอาหารเย็น

110 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 111


ผู่-กง-อิง (Pugongying)蒲公英
ชื่อแต้จิ๋ว : ผู่-กง-เอง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Taraxacum sinicum Kitag. var. armeriifolium (Soest) Tzvelev
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Taraxaci

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะทั้งหมดของยาจีน
ขับร้อนขจัดพิษ รักษาฝีขจัดหนอง ขับปัสสาวะและรักษาอาการ
สรรพคุณ
แสบขัด
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 微寒(เย็นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 10-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ ส่วนที่อยู่บนดิน
ต้านแบคทีเรีย ต้านไวรัส ต้านเชื้อรา ขับปัสสาวะ เพิ่มความสามารถใน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา การจับกินสิ่งแปลกปลอมของเม็ดเลือดขาว ใช้ฉีดรักษาอาการอักเสบของ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง ปอดบวม การอักเสบของอุ้งเชิงกราน
穿心连(ชวนซินเหลียน) 6 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 8 กรัม
桑白皮(ซังไป๋ผี) 12 กรัม 地骨皮(ตี้กู่ผี) 10 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
桔梗(เจี๋ยเกิ่ง) 10 กรัม 鱼腥草(อวี๋ชิงเฉ่า) 9 กรัม
ชวนซินเหลียนทัง
冬瓜仁(ตงกวาเหริน) 10 กรัม ใช้ในรูปแบบยาต้มหรือยาเม็ด
(穿心连汤)
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาโรคหอบเนื่องจากมีความร้อนในปอดมาก
หยางปอดเกินมีอาการปอดร้อนชื้นและมีอาการไอ เหนื่อย หอบ
ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาขนาดสูงหรือใช้เป็นเวลานาน หลีกเลี่ยงการใช้ในกรณีที่ม้ามและกระเพาะ
อาหารเย็นพร่อง

112 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 113


จื่อ-ฮวา-ตี้-ติง (Zihuadiying) 紫花地丁
ชื่อแต้จิ๋ว : จี๋-ฮวย-ตี่-เต็ง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Viola yedoensis Makino
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Violae

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

ขับร้อน ขจัดพิษ ลดอาการบวม สลายตุ่มก้อน ขับปัสสาวะและ


สรรพคุณ
รักษาอาการแสบขัด
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 甘(หวาน) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ) 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 10-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ ทั้งต้น
ต้านแบคทีเรีย ยับยั้งการหดตัวของถุงน�้ำดี ขับปัสสาวะ กระตุ้น
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
การขับน�้ำนมจากต่อมน�้ำนม
金银花(จินอิ๋นฮวา) 20 กรัม 野菊花(เย่ว์จวี๋ฮวา) 15 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 蒲公英(ผู่กงอิง) 15 กรัม 紫花地丁(จื่อฮวาตี้ติง) 15 กรัม
อู่เว่ย์เซียวตู๋หยิ่น 紫背天葵子(จื่อเป้ยเทียนขุยจื่อ) 15 กรัม
(五味消毒饮)
การออกฤทธิ์ รักษาอาการฝีกัณฑสูตระยะเริ่มแรก อันเกิดจากพิษร้อน

ข้อควรระวัง
ถ้าใช้ตัวยาในปริมาณมากไป อาจท�ำให้เกิดอาการท้องเสียอ่อนๆได้ รวมทั้งคนที่มีอาการท้องเสีย
ปวดท้อง ไม่ควรใช้ตัวยานี้

114 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 115


ถู่-ฝู-หลิง (Tufuling)土茯苓
ชื่อแต้จิ๋ว : โถ่ว-หก-เหล็ง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Smilax glabra Roxb.
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Smilacis Glabrae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับร้อน ขจัดพิษ รักษาฝีหนองสลายตุ่มก้อน ท�ำให้เลือดเย็น
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 辛(เผ็ด) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 肝(ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 15-30 กรัม
ส่วนที่ใช้ ทั้งต้น
ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย แก้อักเสบรักษาฝีหนอง
ลดอักเสบ ลดอาการบวม
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา * จื่อฮวาตี้ติง紫花地丁เด่นในการรักษาผิวหนังอักเสบเป็นฝีหนอง
* ผู่กงอิง蒲公英 เด่นในการรักษาเต้านมอักเสบ กระเพาะ
ปัสสาวะอักเสบ (ร้อนชื้น)
金银花(จินอี๋ฮวา) 20 กรัม 野菊花(เย่ว์จวี๋ฮวา) 15 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
蒲公英(ผู่กงอิง) 15 กรัม 紫花地丁(จื่อฮวาตี้ติง) 15 กรัม
อู่เว่ย์เซียวตู๋อิ่น
紫背天葵子(จื่อเป้ยเทียนขุยจื่อ) 15 กรัม
(五味消毒饮)
การออกฤทธิ์ รักษาอาการฝีกัณฑสูตระยะเริ่มแรก อันเกิดจาก
พิษร้อน
ข้อควรระวัง
ถ้าใช้ตัวยาในปริมาณมากไป อาจท�ำให้เกิดอาการท้องเสียอ่อนๆ ได้ รวมทั้งคนที่มีอาการ
ท้องเสีย ปวดท้อง ไม่ควรใช้ตัวยานี้

116 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 117


เซ่อ-กัน (Shegan)射干
ชื่อแต้จิ๋ว : เซี่ย-กัง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Belamcanda chinensis (L.) Redouté var. taiwanensis S.S.Ying
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Belamcandae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับร้อน ขจัดพิษ ระบายความชื้น ลดอาการติดขัดตามข้อต่างๆ
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 淡(จืด) 平(กลาง)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร) 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ)
ปริมาณที่ใช้ 15-60 กรัม
ส่วนที่ใช้ เหง้า-หัว
ในการทดลองกับกบ-เพิ่มการบีบตัวของหัวใจกบ ลดความดัน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เลือดของสุนัขทดลอง กระตุ้นการบีบตัวของมดลูกในหลอด
ทดลอง ท�ำลายพิษปรอท ลดอาการเกร็ง โครงกระดูกอักเสบ
金银花(จินอิ๋นฮวา) 6 กรัม 绿荳(ลวี่โต้ว) 10 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
生甘草 (เซิงกันเฉ่า) 6 กรัม土茯苓(ถูฝู่หลิง) 15 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาพิษสารตะกั่ว ดับพิษไฟที่เกิดจากพร่องเย็น

ข้อควรระวัง
ห้ามรับประทานน�้ำชาระหว่างทานยาตัวนี้ และตัวยานี้ไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการหยินของ
ตับและไตพร่อง ระวังการใช้ในอาการตับ ไตหยินพร่อง

118 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 119


ไป๋-โถว-เวิง (Baitouweng)白头翁
ชื่อแต้จิ๋ว : แปะ-เถ่า-อง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Pulsatilla chinensis (Bunge) Regel f. plurisepala D.K.Zang
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Pulsatillae

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
ขับร้อนขจัดพิษ ขับเสมหะลดอาการหอบ ช่วยให้คอโล่งสลาย
สรรพคุณ
ก้อน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด)
ปริมาณที่ใช้ 3-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ เหง้า
ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ลดไข้ แก้ปวด ลดอาการอักเสบ ลดอาการ
อักเสบของผิวหนัง สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์กระตุ้นการหลั่งน�้ำลายของ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กระต่าย ลดความดันเลือดและกระตุ้นการหายใจ ลดอัตราการเต้นของหัวใจ
ในกระต่าย
射干(เซ่อกัน) 9 กรัม 麻黄(หมาหวง) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 生姜(เซิงเจียง) 9 กรัม 细辛(ซี่ซิน) 3 กรัม
เซ่อกันหมาหวงทัง 紫菀(จื่อหวาน) 6 กรัม 款冬花(ขว่านตงฮวา) 6 กรัม
大枣(ต้าเจ่า) 3 ผล 半夏(ปั้นเชี่ย) 9 กรัม
(射干麻黄汤) 五味子(อู่เว่ย์จื่อ) 3 กรัม
การออกฤทธิ์ ช่วยขับพลังปราณขึ้นสู่เบื้องบน สลายเสมหะ และช่วยน�ำ
พลังปราณสู่เบื้องล่างระงับอาการไอ

ข้อควรระวัง
ตัวยานี้ไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการม้ามพร่องท้องเสีย และห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์

120 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 121


ไป๋-ฮวา-เสอ-เสอ-เฉ่า (Baihuasheshecao)白花蛇舌草
ชื่อแต้จิ๋ว : แปะ-ฮวย-จั๊ว-จี่-เช่า
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Hedyotis diffusa Willd. var. extensa (Hook.f.) Ratna Dutta
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Oldenlandiae , Herba Hedyotis

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับร้อนขจัดพิษ ท�ำให้เลือดเย็น แก้ท้องร่วง
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
ปริมาณที่ใช้ 9-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ เหง้า
ข่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย เชื้ออะมีบา ช่วยหยุด
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา การขับเมือกหยุดเลือดในล�ำไส้ใหญ่ มีฤทธิ์กระตุ้นหัวใจคล้าย
ดิจิทาลิส(digitalis) มีฤทธิ์กล่อมประสาท
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 白头翁(ไป๋โถวเวิง) 15 กรัม 黄柏(หวงไป๋) 12 กรัม
ไป๋โถวเวิงทัง 黄连(หวงเหลียน) 6 กรัม 秦皮(ฉินผี) 12 กรัม
(白头翁汤) การออกฤทธิ์ แก้ท้องร่วงที่เกิดจากพิษร้อนของกระเพาะอาหาร

ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการท้องร่วงที่เกิดจากความเย็น

122 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 123


ชวน-ซิน-เหลียน (Chuanxinlian)穿心莲
ชื่อแต้จิ๋ว : ชวง-ซิม-โน้ย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Andrographis paniculata Nees
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Andrographis

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขับร้อน ขจัดพิษ ขับความชื้น ขับปัสสาวะ
รสชาติและคุณสมบัติ 辛(ขม) 甘(หวาน) 寒(เย็นมาก)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 脾(ม้าม) 肝(ตับ)小肠(ล�ำไส้เล็ก)大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
ปริมาณที่ใช้ 15-30 กรัม
ส่วนที่ใช้ ทั้งต้น
ต้านมะเร็งหลายชนิด ยับยั้งกระบวนการไมโตรซิสของการแบ่ง
เซลล์ ท�ำร้ายเนื้อมะเร็ง ยับยั้งการขยายของก้อนมะเร็ง เพิ่มการ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ท�ำงานของระบบการผลิตเม็ดเลือดขาวและระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกาย ยับยั้งการแบ่งตัวของแบคทีเรีย ต้านการอักเสบ แก้ปวด
กล่อมประสาท มักใช้ร่วมกับ ปั้นจื่อเหลียน(半枝莲)
白花蛇舌草(ไป๋ฮวาเสอเสอเฉ่า) 12 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
红藤 (หงเถิง) 8 กรัม 败酱草 (ป้ายเจี้ยงเฉ่า) 10 กรัม
牡丹皮 (หมู่ตันผี) 9 กรัม
การออกฤทธิ์ ในกรณีไส้ติ่งอักเสบ
ข้อควรระวัง
ไม่ควรใช้กรณีหยินเกินที่มีอาการชาและถ่ายเหลว หมายเหตุ 白花蛇舌草 ไป๋ฮวาเสอ
เสอเฉ่า มักใช้ในการบ�ำรุงหยิน กรณีหยินพร่องที่เกิดจากการฉายแสงควรเน้นบ�ำรุงหยินเสีย
ก่อนแล้วค่อยรักษา อาการปวดและอักเสบภายหลัง

124 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 125




กลุ่มยาดับร้อน
(清热药)
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้

สรรพคุณ
ขับร้อนขจัดพิษ ท�ำให้ความชื้นแห้ง แก้ท้องร่วง ท�ำให้เลือดเย็น - ยาดับร้อนระบายไฟ(清热泻火药)
สลายก้อน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็นมาก) - ยาดับร้อนระเหยชื้น(清热燥湿药)
เข้าสู่เส้นลมปราณ
ปริมาณที่ใช้
心(หัวใจ) 肺(ปอด) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่) 膀胱(กระเพาะปัสสาวะ)
6-9 กรัม
- ยาดับร้อนล้างพิษ(清热解毒药)
ส่วนที่ใช้ ส่วนเหนือดิน - ยาดับร้อนท�ำให้เลือดเย็น(清热凉血药)
รักษาโรคในกลุ่มอาการร้อนชื้น มีไข้ปวดศีรษะ รักษาฝีหนอง
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
อักเสบบวม - ยาดับร้อนชนิดพร่อง(清退虚热药热)
黄芩(หวงฉิน) 8 กรัม 桑白皮(ซังไป๋ผี) 12 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 地骨皮(ตี้กู่ผี) 10 กรัม 桔梗(เจี๋ยเกิ่ง) 10 กรัม
ชวนซินเหลียนทัง 鱼腥草(อวี๋ชิงเฉ่า) 9 กรัม 冬瓜仁(ตงกวาเหริน) 10 กรัม
(穿心连汤) ใช้ในรูปแบบยาต้มหรือยาเม็ด
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาโรคหอบเนื่องจากมีความร้อนในปอดมาก
หยางปอดเกินมีอาการปอดร้อนชื้นและมีอาการไอ เหนื่อย หอบ

ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาขนาดสูงหรือใช้เป็นเวลานาน หลีกเลี่ยงการใช้ในกรณีที่ม้ามและกระเพาะ
อาหารเย็นพร่อง

126 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 127


กลุ่มยาขจัดความร้อนท�ำให้เลือดเย็น
(清热凉血药) เซิง-ตี้-หวง (shengdihuang)生地黄
ชื่อแต้จิ๋ว : แช-ตี่-อึ๊ง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Rehmannia glutinosa Steud. f. lutea Y.C.Chu & J.F.Li
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Rehmanniae

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

เซิงตี้หวง(生地黄) เสวียนเซิน(玄参)

หมู่ตันผี(牡丹皮) ชื่อเสา(赤芍)

สุ่ยหนิวเจี่ยว(水牛角)

128 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 129


เสวียน-เซิน (Xuanshen)玄参
ชื่อแต้จิ๋ว : หง่วง-เซียม
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Scrofularia Spreng.
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Scrophulariae

สรรพคุณ ขับความร้อนท�ำให้เลือดเย็น บ�ำรุงหยิน เสริมสารน�้ำในร่างกาย ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน


รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 苦(ขม) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 肺(ปอด) 肝(ตับ) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 10 – 30 กรัม
ส่วนที่ใช้ รากและหัว
ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา มีฤทธิ์ต่อหัวใจ ใช้ในปริมาณ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา กลาง มีผลต่อการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจในสัตว์ทดลอง ถ้าใช้
ในปริมาณมากจะท�ำให้เกิดพิษ เพิ่มความดันเลือด ขับปัสสาวะ
ห้ามเลือด ท�ำให้เลือดแข็งตัวเร็ว
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 玄参(เสวียนเซิน) 30 กรัม 麦冬(ม่ายตง) 25 กรัม
เจิงเย่เฉิงชี่ทัง 生地黄(เซิงตี้หวง) 9 กรัม 芒硝(หมางเซียว) 5 กรัม
(增夜承气汤) การออกฤทธิ์ รักษาอาการท้องผูกอันเกิดจากความร้อนท�ำลายสารน�้ำ

ข้อควรระวัง
ยามีคุณลักษณะเย็นท�ำให้พลังติดขัดคั่ง ไม่ควรใช้ในผู้ที่ม้ามพร่อง ความชื้นคั่งติดขัด
ภายในที่มีอาการแน่น คนท้องเดินไม่ควรใช้

130 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 131


หมู่-ตัน-ผี (Mudanpi) 牡丹皮
ชื่อแต้จิ๋ว : โบ-ตัง-พ้วย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Paeonia suffruticosa subsp. yinpingmudan D.Y.Hong, K.Y.Pan & Zhong W.Xie

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อเภสัชวิทยา : Cortex Moutan Radicis

สรรพคุณ ดับร้อนในเลือด บ�ำรุงหยิน ล้างพิษ


ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 甘(หวาน) 咸(เค็ม)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 10 – 15 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก
กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจขนาดน้อย กระตุ้นการบีบตัวของ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา หัวใจเมื่อใช้ปริมาณมากและเป็นพิษต่อหัวใจ ลดระดับน�้ำตาลใน
เลือด ขยายหลอดเลือด ต้านแบคทีเรียต้านเชื้อรา
百合(ไป่เหอ) 12 กรัม 熟地(สูตี้) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 生地(เซิงตี้) 9 กรัม 当归身(ตังกุยเสิน) 9 กรัม
ไป่เหอกู้จินทัง 白芍(ไป๋เสา) 6 กรัม 甘草(กันเฉ่า) 3 กรัม
(百合固金汤) 桔梗(เจี๋ยเกิ่ง) 6 กรัม 玄参(เสวียนเซิน) 3 กรัม
贝母(เป้ยหมู่) 6 กรัม 麦冬(ม่ายตง) 9 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการไอหอบ เสมหะปนเลือด

ข้อควรระวัง
ตัวยานี้ไม่ควรใช้กับผู้มีอาการม้ามพร่องท้องเสีย และตัวยาห้ามใช้กับหลี่หลู (藜芦)

132 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 133


ชื่อ-เสา (Chishao) 赤芍
ชื่อแต้จิ๋ว : : เซียะ-เจียก
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Paeonia lactiflora var. villosa M.S.Yan & K.Sun

ชื่อเภสัชวิทยา : Redix Paeoniae Rubra
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ดับร้อนในเลือด ปรับการไหลเวียนเลือด ขจัดเลือดคั่ง

รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 辛(เผ็ด) 微寒(เย็นเล็กน้อย)


เข้าสู่เส้นลมปราณ 心 (หัวใจ) 肝(ตับ) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 6 – 12 กรัม
ส่วนที่ใช้ เปลือกราก
ต้านแบคทีเรีย ลดความดันเลือดกล่อมประสาทและลดปวด
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ลดการอักเสบและลดไข้ ต้านการชักเกร็ง
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 生地(เซิงตี้) 6 กรัม 当归身(ตังกุยเสิน) 6 กรัม
ชิงเว่ย์ส่าน 牡丹皮(หมู่ตันผี) 9 กรัม 升麻(เชิงหมา) 9 กรัม
(清胃散) 黄连(หวงเหลียน) 6 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาอาการปวดฟันรากฟันอักเสบที่เกิดจากความร้อน
ของกระเพาะอาหาร

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยาไม่ควรใช้กับอาการปวดฟันรากฟันอักเสบที่เกิดจากลมเย็นและจากอาการไตพร่อง
ร้อนใน ตัวยา ไม่ควรใช้กับอาการเลือดพร่องมีความเย็น และห้ามใช้ตัวยากับสตรีมีประจ�ำ
เดือนหรือสตรีมีครรภ์

134 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 135


สุ่ย-หนิว-เจี่ยว (Shuiniujiao) 水牛角
ชื่อแต้จิ๋ว : สุ่ย-หงู่-กัก
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Bubalus bubalis
ชื่อเภสัชวิทยา : Cornu Bubali
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ดับร้อนในเลือด สลายเลือดคั่ง ระงับอาการปวด

รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 微寒(เย็นเล็กน้อย)


เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 6 – 15 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก
ต้านแบคทีเรีย ต้านอาการปวดเกร็งของกระเพาะอาหารและ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา มดลูก ใช้ร่วมกับชะเอม 甘草(กันเฉ่า) เสริมฤทธิ์การแก้ปวด
จากการหดเกร็งมีฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 水牛角(สุ่ยหนิวเจี่ยว) 30 กรัม 生地(เซิงตี้) 24 กรัม
ซีเจี่ยวตี้หวงทัง 赤芍(ซื่อเสา) 12 กรัม 牡丹皮(หมู่ตันผี) 9 กรัม
(犀角地黄汤) การออกฤทธิ์ รักษาความร้อนในระดับเลือด (血分)

ข้อควรระวัง
ตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการเลือดพร่อง ประจ�ำเดือนไม่มา นอกจากนี้ตัวยาห้ามใช้กับหลี่หลู(藜芦)

136 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 137



กลุ่มยาดับร้อน
(清热药)
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้

สรรพคุณ ดับร้อนในเลือด ล้างพิษ แก้ชัก

รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 咸(เค็ม) 寒(เย็น)


- ยาดับร้อนระบายไฟ(清热泻火药)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร) - ยาดับร้อนระเหยชื้น(清热燥湿药)
ปริมาณที่ใช้ 15-30 กรัม
ส่วนที่ใช้ เขา-สัตว์วัตถุ - ยาดับร้อนล้างพิษ(清热解毒药)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
กระตุ้นการท�ำงานของหัวใจโดยเฉพาะในภาวะที่หัวใจอ่อนแอ
ภาวะหัวใจผิดปกติท�ำให้หลอดเลือดหดตัวในระยะแรกและค่อยๆ - ยาดับร้อนท�ำให้เลือดเย็น(清热凉血药)
ขยายตัวในระยะต่อมา ช่วยเพิ่มความดันในระยะแรก ลดความดัน
ในระยะหลัง จากนั้นค่อยๆ คงที่ ลดไข้ เพิ่มปริมาณเม็ดเลือดขาว - ยาดับร้อนชนิดพร่อง(清退虚热药热)
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 水牛角 (สุ่ยหนิวเจี่ยว) 30 กรัม 生地黄(เซิงตี้หวง) 30 กรัม
ซีเจี่ยวตี้หวงทัง 赤芍 (ชื่อเสา) 12 กรัม 牡丹皮 (หมู่ตันผี) 9 กรัม
(犀角地黄汤) การออกฤทธิ์ ระบายความร้อน ขจัดสารพิษ ท�ำให้เลือดเย็น
ขจัดการคั่งค้าง

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยานี้ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยหยินเกินที่มีอาการท้องเสียถ่ายเหลว ชี่พร่องตัวเย็นและผู้ป่วยที่
ตัวเย็นอ่อนเพลีย ตัวยาไม่ควรใช้ในผู้มีอาการม้าม และกระเพาะอาหารเย็น

138 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 139


กลุ่มยาขจัดอาการร้อนพร่อง
(清退虚热药) ชิง-เฮา (Qinghao)青蒿
ชื่อแต้จิ๋ว : แช-เฮา
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Artemisia annua L. f. macrocephala Pamp.
ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Artemisiac Annuae

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

ชิงเฮา(青蒿) ตี้กู่ผ(ี 地骨皮)


อิ๋นไฉหู(银柴胡) หูหวงเหลียน(胡黄连)

140 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 141


ตี้-กู่-ผี (Digupi) 地骨皮
ชื่อแต้จิ๋ว : ตี่-กุก-พ้วย
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Lycium barbarum L. var. implicatum T.Y.Chen & Xu L.Jiang
ชื่อเภสัชวิทยา : Cortex Lycli Radicis
ขับระบายความร้อนจากภาวะหยินพร่อง ขับร้อนจากลมแดด
สรรพคุณ
เพิ่มรักษาอาการมาลาเรีย ขจัดกระดูกร้อน ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 辛(เผ็ด) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ) 胆(ถุงน�้ำดี) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 6-12 กรัม
ส่วนที่ใช้ ทั้งต้น
ต้านแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา ยับยั้งการเติบโตของเชื้อมาลาเรีย
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
แก้ปวดลดการอักเสบ แก้ไข้ตัวร้อน
青蒿(ชิงเฮา) 10 กรัม 鳖甲(เปี๋ยเจี่ย) 15 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 知母(จือหมู่) 6 กรัม 丹皮(ตันผี) 9 กรัม
ชิงเฮาเจียเปี่ยทัง 生地(เซิงตี้) 12 กรัม
(青蒿鳖甲汤) การออกฤทธิ์ รักษาอาการร้อนใน เป็นไข้ ตัวเย็น ไม่มีเหงื่อหยินพร่อง
ใช้รักษาโรคมาเรีย หัด

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยานี้ไม่ควรใช้กับอาการหยินพร่องมีอาการชักกระตุก ตัวยาไม่ควรใช้กับอาการม้าม
กระเพาะอาหารเย็นท้องเสียที่เกิดจากล�ำไส้

142 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 143




อิ๋น-ไฉ-หู (Yinchaihu) 银柴胡
ชื่อแต้จิ๋ว : หงิ่ง-ฉ่า-โอ๊ว
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Stellaria dichotoma L. [gamma]. lanceolata Bunge
ชื่อเภสัชวิทยา : Redix Stellariae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
ขับความร้อนภายในจากภาวะหยินพร่อง ขับความร้อนโดย
ท�ำให้เลือดเย็น ท�ำให้เลือดหยุด ขับความร้อนของปอด เสริม
สรรพคุณ
สารน�้ำ
แก้กระหายน�้ำ
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 淡(จืด) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肝(ตับ) 肾(ไต)
ปริมาณที่ใช้ 9-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ เปลือกของราก
ลดความดันเลือดท�ำให้หลอดเลือดขยายตัว ขัดขวางการท�ำงาน
ของระบบประสาทซิมพาเทติก ลดน�้ำตาล ลดคลอเรสเตอรอลใน
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เลือด ลดไข้ ต้านแบคทีเรียและยับยั้งการเจริญเติบโตของ
เชื้อไทฟอยด์ พาราไทฟอยด์ เชื้อบิดซิเจลลา
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 地骨皮(ตี้กู่ผี) 15 กรัม 桑白皮(ซังไป๋ผี) 15 กรัม
เซี่ยไป๋ส่าน 甘草(กันเฉ่า) 3 กรัม 桔梗(เจี๋ยเกิ่ง) 4 กรัม
(泻白散) การออกฤทธิ์ รักษาอาการปอดร้อน หอบไอ
ข้อควรระวัง
ต�ำรับยาไม่ควรใช้กับอาการไอที่เกิดจากลมเย็นหรือปอดพร่องหอบไอ ตัวยาไม่ควรใช้อาการ
ม้ามพร่องท้องเสีย

144 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 145




หู-หวง-เหลียน (Huhuanglian) 胡黄连
ชื่อแต้จิ๋ว : โอ๊ว-อึ่ง-โน้ย
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Picrorhiza kurrooa Royle
ชื่อเภสัชวิทยา : Rhizoma Picrorrhizae

ขับความร้อนจากภาวะหยินพร่อง ขับความร้อนเนื่องจากสาร ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน


สรรพคุณ หยินถูกท�ำลายจากไข้–ความร้อนจากภายนอก ขับความร้อนจาก
ภาวะขาดอาหารท�ำให้เกิดไข้เซื่องซึม
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 微寒(เย็นเล็กน้อย)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 3-10 กรัม
ส่วนที่ใช้ ราก
ลดไขมันลดคลอเลสเตอรอลในเลือด ขับความร้อนจากกระเพาะ
อาหารโดยไม่ท�ำลายหยินในร่างกาย สามารถรักษาอาการเป็นไข้
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ร้อนสลับหนาว และไข้มาลาเรีย ซึ่งสามารถกระจายความร้อน
เข้าสู่ด้านบนแต่ไม่สามารถรักษาไข้ที่เกิดจากหยินพร่องได้
银柴胡 (อิ๋นไฉหู) 15 กรัม 地骨皮(ตี้กู่ผี) 12 กรัม
青蒿 (ชิงเฮา) 10 กรัม 鳖甲(เปี๋ยเจี่ย) 12 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
胡黄连(หูหวงเหลียน) 10 กรัม
ชิงกู่ส่าน (清骨散)
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาอาการความร้อนแผ่ซ่านออกมาจากกระดูก
ไข้เป็นเวลานานหรือเหงื่อออกตอนกลางคืนอันเนื่องมาจากหยินพร่อง
ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงการใช้ในกรณีที่ถูกลมร้อนกระท�ำจากภายนอกและกลุ่มอาการเลือดพร่องที่ไม่มีไข้

146 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 147


กลุ่มยาระบาย
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
(泻下药)
สรรพคุณ ลดไข้จากภาวะหยินพร่อง ลดไข้จากภาวะขาดอาหาร ขับร้อนชื้น
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่) - ต้าหวง (大黄)
ปริมาณที่ใช้
ส่วนที่ใช้
3-10 กรัม
ราก
- ฟานเซี่ยเย่ (番泻叶)
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา กระตุ้นการหลั่งน�้ำดี ใช้รักษาอาการติด
เชื้อตับอักเสบ การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
- หลูฮุ่ย (芦荟)
银柴胡 (อิ๋นไฉหู) 15 กรัม 地骨皮(ตี้กู่ผี) 12 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 青蒿 (ชิงเฮา) 10 กรัม 鳖甲(เปี๋ยเจี่ย) 12 กรัม
- หั่วหมาเเหริน (火麻仁)
ชิงกูส่าน(清骨散) 胡黄连 (หูหวงเหลียน)10 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้รักษาอาการความร้อนแผ่ซ่านออกมาจากกระดูก
- กันสุ้ย (甘遂)
ไข้เป็นเวลานาน เหงื่อออกมากตอนกลางคืนอันเนื่องมาจากหยินพร่อง

ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงการใช้ในกรณีที่ถูกลมร้อนกระท�ำจากภายนอกและกลุ่มอาการเลือดพร่องที่ไม่มีไข้

148 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 149


กลุ่มยาระบาย ต้า-หวง (Dahuang)大黄
(泻下药)
ชื่อแต้จิ๋ว : ตั่ว-อึ๊ง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Rheum officinale Baill.
ชื่อเภสัชวิทยา : Radixet Rhizoma Rhei

ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน

ต้าหวง(大黄) ฟานเซี่ยเย่(番泻叶)

หลูฮุ่ย(芦荟) หั่วหมาเหริน(火麻仁)

กันสุ้ย(甘遂)

150 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 151



ฟาน-เซี่ย-เย่ (Fanxieye) 番泻叶
ชื่อแต้จิ๋ว : ห่วง-เซีย-เฮียะ
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Cassia angustifolia Vahl
ชื่อเภสัชวิทยา : Folium Sennae
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
ระบายอย่างแรงกรณีอาหารตกค้างในล�ำไส้ ระบายไฟ ขจัดพิษ ท�ำให้
สรรพคุณ เลือดเย็น ห้ามเลือด เพิ่มการไหลเวียน สลายเลือดคั่ง ขจัดชื้นรักษา
ดีซ่าน ท�ำให้ประจ�ำเดือนมาปกติ
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น)
脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
เข้าสู่เส้นลมปราณ
心包(เยื่อหุ้มหัวใจ) 肝(ตับ)
ปริมาณที่ใช้ 3-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ รากกับเหง้า
เป็นยาระบายแก้อาการท้องผูก รักษาอาการไข้สูงจนสติเลอะ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เลือน รักษาอาการร้อนจนท�ำให้เลือดออก รักษาพิษร้อนที่ท�ำให้
เกิดแผล ฝีหนอง
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 大黄(ต้าหวง) 12 กรัม 厚朴(โฮ่วผอ) 24 กรัม
ต้าเฉิงชี่ทัง 枳实(จื่อสือ) 12 กรัม 芒硝(หมางเซียว) 6 กรัม
(大承气汤) การออกฤทธิ์ รักษาอาการท้องผูกที่เกิดจากความร้อน

ข้อควรระวัง
ยามีคุณสมบัติระบายอย่างรุนแรง ปรับไหลเวียนเลือด ดังนั้นตัวยาไม่ควรใช้กับคนที่มีอาการ
ม้าม กระเพาะพร่องมากและสตรีมีครรภ์หรือช่วงให้นมบุตร สตรีมีประจ�ำเดือนไม่ควรใช้

152 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 153



หลู-ฮุ่ย (Luhui)芦荟
ชื่อแต้จิ๋ว : โล่ว-ไกว่
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Aloe vera var. officinalis (Forssk.) Baker
ชื่อเภสัชวิทยา : Aloe
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ใช้ในการระบายท้อง ขับปัสสาวะ ขับน�้ำสลายก้อน

รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 苦(ขม) 寒(เย็น)


เข้าสู่เส้นลมปราณ 大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
ปริมาณที่ใช้ 3-6 กรัม
ส่วนที่ใช้ ใบ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ระบายท้องขับอุจจาระ ท�ำให้เกิดการไซท้องใช้มากอันตราย
番泻叶(ฟานเซี่ยเย่) 6 กรัม 枳实 (จื่อสือ) 8 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
厚朴(โฮ่วผอ) 12 กรัม
การออกฤทธิ์ ใช้ในกรณีท้องผูก อันเนื่องมาจากมีการสะสมของ
ความร้อน รวมทั้งท้องผูกในคนชรา

ข้อควรระวัง
ข้อควรระวังห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร ก�ำลังมีระดู ถ้าใช้ขนาดสูงเกินไป
อาจท�ำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง

154 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 155




หั่ว-หมา-เหริน (Huomaren) 火麻仁
ชื่อแต้จิ๋ว : หวย-หม่า-ยิ้ง
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Cannabis sativa var. ruderalis (Janisch.) S.Z.Liou
ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Cannabis
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ ขจัดความร้อนที่ตับ ระบายท้อง ขับพยาธิ

รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น)


เข้าสู่เส้นลมปราณ 大肠(ล�ำไส้ใหญ่) 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร)
ปริมาณที่ใช้ 2-5 กรัม
ส่วนที่ใช้ ยางของว่านหางจระเข้
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ระบายท้องขับอุจจาระ
当归(ตังกุย) 2 กรัม 龙胆草(หลงต่านเฉ่า) 15 กรัม
栀子(จือจื่อ) 3 กรัม 黄连(หวงเหลียน) 3 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 黄柏(หวงไป๋) 3 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 3 กรัม
ตังกุยหลงฮุ่ยหวาน 芦荟(หลูฮุ่ย) 3 กรัม 大黄(ต้าหวง) 3 กรัม
(当归龙荟丸) 大枣(ต้าเจ่า) 3 ผล 麝香(เซ่อเซียง) 1 กรัม
การออกฤทธิ์ รักษาอาการตับถุงน�้ำดีร้อนแกร่ง ถุงน�้ำดีอักเสบ

ข้อควรระวัง
ห้ามใช้ ในผู้ที่ม้ามและกระเพาะอาหารอ่อนแอเบื่ออาหารท้องเดิน

156 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 157



กัน-สุ้ย (Gansui) 甘遂
ชื่อแต้จิ๋ว : ก�ำ-ซุ้ย
ชื่อพฤกษศาสตร์ : Euphorbia kansui Liou ex S.B.Ho
ชื่อเภสัชวิทยา : Radix Euphorbiae Kansui
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน
สรรพคุณ เพิ่มความชุ่มชื้นภายในล�ำไส้ บรรเทาอาการท้องผูก
รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 平(กลาง)
เข้าสู่เส้นลมปราณ 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่)
ปริมาณที่ใช้ 10-15 กรัม
ส่วนที่ใช้ เมล็ด
รักษาอาการท้องผูกในคนชรา สตรีหลังคลอด และคนที่ร่างกาย
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา อ่อนแอ รักษากรณีท้องผูกและความแห้งอันเนื่องมาจากการขาดน�้ำ
火麻仁(หั่วหมาเหริน) 20 กรัม 芍药(เสาเย่า) 9 กรัม
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก
杏仁(ซิ่งเหริน) 10 กรัม大黄(ต้าหวง) 12 กรัม
หมาจื่อเหรินหวาน
厚朴(โฮ่วผอ) 9 กรัม 枳实(จื่อสือ) 9 กรัม
(麻子仁丸)
การออกฤทธิ์ รักษาอาการท้องผูกอันเกิดจากกระเพาะอาหารร้อน

ข้อควรระวัง
ต�ำรับยานี้ไม่ควรใช้กับหญิงมีครรภ์หรือมีอาการเลือดพร่องสารน�้ำถูกท�ำลายจนเกิดอาการท้องผูก

158 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1 อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 159



อโรคยาศาล
ผลงานหนังสือ
ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้
“สมุนไพรในรั้ววัด”
สรรพคุณ ขับน�้ำระบายชื้น ละลายเสมหะใส ลดบวมสลายก้อน หนังสือที่รวบรวมสมุนไพรที่มีในอโรคยาศาล
วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร พร้อมวิธีใช้เพื่อให้คนไข้ที่มารับยา
รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น) 有毒(มีพิษ)
จากทางวัด ได้เข้าใจถึงวิธีใช้และสรรพคุณของสมุนไพร
เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肾(ไต) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่) พิมพ์เมื่อ เดือนมีนาคม 2554
ปริมาณที่ใช้ 1-3 กรัม จำ�นวน 3,000 เล่ม
ส่วนที่ใช้ ราก-หัว
ลดอาการบวมในช่องอกหรือช่องท้อง รักษาโรคลมชักที่เกิดจาก “พุทธมนต์บำ�บัด”
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เสมหะลม รักษาฝีหนองบริเวณผิวหนัง หนังสือที่รวบรวมบทสวดมนต์ที่ช่วยบำ�บัดรักษาโรค
ต�ำรับยาที่ใช้ทางคลินิก 甘遂(กันสุ้ย) 1 กรัม 大戟(ต้าจี๋) 1 กรัม ตามคัมภีร์พระไตรปิฎก เพื่อช่วยเยียวยารักษาจิตใจแก่ผู้
ฉือเจ่าทัง 芫花(หยวนฮวา) 1 กรัม 大枣(ต้าเจ่า) 10 ผล ป่วยระยะสุดท้าย นอกจากจะรักษาทางกายแล้วการรักษา
(十枣汤) การออกฤทธิ์ รักษาอาการบวมน�้ำ ก้อนน�้ำภายใน ทางจิตใจก็สำ�คัญไม่น้อย พิมพ์เมื่อ เดือนธันวาคม 2554
จำ�นวน 1,500 เล่ม

ข้อควรระวัง “๑๐๐ พรรณพฤกษา คู่มือเก็บยาเล่ม 1”


ต�ำรับยาสตรีมีครรภ์ห้ามใช้ ตัวยาห้ามใช้กับคนที่ร่างกายอ่อนแอและสตรีมีครรภ์ตัวยา หนังสือที่รวบรวมพันธุ์ไม้ ที่กลุ่ม ๑๐๐ พรรณพฤกษา
ห้ามใช้กับกันเฉ่า (甘草) ได้เดินป่าสำ�รวจพรรณไม้ และจดบันทึกสรรพคุณของตัว
ยาสมุนไพรทั้งหมด 100 ชนิด พิมพ์ 4 สีทั้งเล่ม
พิมพ์เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2555
จำ�นวน 1,000 เล่ม
160 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนด้วยตนเอง 1
แผนที่ไป บรรณานุกรม
อโรคยาศาล กระทรวงสาธารณสุข กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.


ตำ�รับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การหารผ่าน
ศึกในพระบรมราชูปถัมภ์. 2550.
กระทรวงสาธารณสุข กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
ตำ�รับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การ
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์. 2551.
กระทรวงสาธารณสุข กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
ตำ�รับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การ
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์. 2553.
กระทรวงสาธารณสุข กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
ตำ�รับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การ
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์. 2554.
โกวิท คัมภีรภาพ. ยาจีน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท พิมพ์ดี จำ�กัด. 2551.
ภาสกิจ วัณนาวิบูล. คู่มือสมุนไพรจีนกับการรักษาทางคลินิก เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1.
กรุงเทพฯ : หมอชาวบ้าน. 2552.
ศุภนิมิต ทีฆชุณหเถียร. ยาจีนปรับสมดุลหยินหยาง. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเครชั่น. 2556.
สมคิด ปิยะมาน. สมุนไพรจีนในเวชปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : พุ่มทอง. 2554.
แสงธรรมโอสถ. สมุนไพรจีน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.hanji-herb.com
(วันที่ค้นข้อมูล : 18 กรกฎาคม 2556)
บันทึก บันทึก
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
บันทึก บันทึก
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
บันทึก บันทึก
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................
.................................................................................................................... ....................................................................................................................

You might also like