You are on page 1of 16

วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ.

ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 269

เทคโนโลยีการทำ�แห้งแบบผสมผสาน :
การนำ�มาใช้เพื่อถนอมผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความร้อน
ชาลีดา บรมพิชัยชาติกุล*
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

บทคัดย่อ
การทำ�แห้งเป็นกระบวนแปรรูปและถนอมอาหารที่สำ�คัญโดยลดความชื้นของผลิตภัณฑ์อาหาร และค่ากิจกรรม
ของน้ำ� (water activity, aw) เพื่อยับยั้งต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และการทำ�งานของเอนไซม์ที่ส่งผลให้อาหาร
เสื่อมเสีย แต่การทำ�แห้งผลิตภัณฑ์อาหารนั้น มักพบปัญหาทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและองค์ประกอบที่
สำ�คัญของอาหาร เช่น การหดตัว การสูญเสียสารหอมระเหย สี และคุณค่าทางโภชนาการ การทำ�แห้งแบบผสมผสาน
(Hybrid drying) เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่นำ�มาแก้ไขข้อบกพร่องของการทำ�แห้งแบบขั้นตอนเดียว เช่น การใช้การทำ�
แห้งแบบหลายขั้นตอน ซึ่งอาจจะใช้เครื่องอบแห้งชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันก็ได้ การเปลี่ยนอุณหภูมิของการทำ�แห้ง
ในแต่ละขั้นตอน การเปลี่ยนความดัน หรือการนำ�วิธีการทำ�แห้งแบบต่างๆ มาใช้ร่วมกัน เพื่อผสมผสานข้อดีของเครื่อง
อบแห้งแต่ละชนิด ทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้น ในเอกสารนี้จะกล่าวถึงลักษณะของกระบวนการทำ�แห้งแบบผสม
ผสาน ตัวอย่างและผลของวิธีการทำ�แห้งแบบผสมผสานต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความร้อนที่มีการนำ�มา
ใช้ในงานวิจัยและอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งในการศึกษาวิจัยการอบแห้งกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อ
ความร้อน

คำ�สำ�คัญ : การทำ�แห้งแบบผสมผสาน / อาหารที่ไวต่อความร้อน / คุณภาพ

* Corresponding author. Email: Chaleeda.b@chula.ac.th


อาจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์
270 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555

Hybrid Drying Technology :


Application for Preservation of Heat Sensitive Food Products
Chaleeda Borompichaichartkul*
Chulalongkorn University, Phayathai Rd., Pathumwan, Bangkok 10330 Thailand.

Abstract
Drying is an important process for food preservation as it can reduce moisture content and
water activity of food in order to inhibit enzyme activity and growth of microorganisms that cause
food deteriorations. However, during the drying process, changes in food products such as shrinkage,
darkening of colour, or loss of volatile compounds and nutritional value can devalue the dried products.
Hybrid drying is an alternative approach that can be used to solve problems that occur during conventional
drying by employing multi-stage drying that may use the same or different types of dryers, step-wised
changing of drying temperature, applying low pressure or vacuum conditions as well as a combination of
different types of dryers to improve the final quality of the dried products. This paper will explain hybrid
drying principles and its application as well as the effect of different hybrid drying methods on the quality
of dried food products. The information presented in this paper suggests benefits and provides options for
drying of heat sensitive food materials.

Keywords : Hybrid Drying / Sensitive Food Products / Quality

* Corresponding author. E-mail: Chaleeda.b@chula.ac.th


Lecturer, Department of Food Technology, Faculty of Science.
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 271
1. บทนำ� (Freeze drying) เป็นวิธีที่ใช้ทำ�แห้งอาหารที่ไวต่อความ
ในปัจจุบันผู้บริโภคมีบทบาทที่สำ�คัญในการกำ�หนด ร้อน เช่น กลุ่มอาหารราคาแพง โสมผง กาแฟ น้ำ�ผลไม้
คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารต่างๆ ผลิตภัณฑ์อาหารทีผ่ า่ น ผง สตรอเบอรี่ กุ้งแห้งชั้นดี เห็ดแห้ง เป็นต้น การทำ�แห้ง
การแปรรูปต้องมีคณ ุ ภาพทางโภชนาการสูง ปลอดภัย และ แบบแช่เยือกแข็งสามารถรักษาส่วนประกอบสำ�คัญของ
มีอายุการเก็บที่นาน กระบวนการทำ�แห้งเป็นกระบวนการ อาหารที่ถูกทำ�ลายได้ง่ายด้วยความร้อน เช่น วิตามิน กลิ่น
แปรรูปอาหารที่นิยมใช้ในการลดความชื้นของอาหารสด สี รักษารูปร่างและเนื้อสัมผัสของอาหารให้คงอยู่ใกล้เคียง
หรือแปรรูปอาหารเหลวให้เป็นอาหารผง เพื่อยืดอายุการ กับของเดิม แต่ข้อเสียคือค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูงและใช้
เก็บรักษา สะดวกในการจัดเก็บ ขนส่ง เพิ่มความหลาก เวลานานในการทำ�แห้ง
หลายให้กับผลิตภัณฑ์อาหาร และเพิ่มความสะดวกใน สำ�หรับผลิตผลที่มีปริมาณมากนิยมใช้การอบแห้งด้วย
การนำ�มาใช้ในชีวิตประจำ�วันที่เร่งรีบของสังคมในปัจจุบัน อากาศร้อนร่วมกับการทำ�แห้งโดยใช้อุณหภูมิต่ำ� เช่น การ
เช่น กลุ่มอาหารแห้งประเภทกึ่งสำ�เร็จรูปที่เพียงแค่เติม อบแห้งข้าวด้วยเทคนิคฟลูอิดไดซ์เบดร่วมกับอบในโรง
น้ำ�ก็สามารถบริโภคได้เลย แต่อาหารนั้นต้องมีคุณภาพ เก็บโดยใช้อากาศแวดล้อม หรือเป่าอากาศเย็นเพื่อรักษา
ปลอดภัยและมีลักษณะปรากฏเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค กลิ่นในข้าวหอมมะลิ การอบแห้งแมคคาดาเมียหรือถั่วที่
การทำ�แห้งมีด้วยกันหลายวิธี ซึ่งแต่ละวิธีมีข้อดีและ มีปริมาณไขมันสูง ในโรงเก็บ (In-store drying) ต้องใช้
ข้อเสียแตกต่างกันไป เช่น การใช้ลมร้อนเป็นวิธีในการทำ� อุณหภูมิต่ำ�ประมาณ 40 – 60 °C เพื่อป้องกันการสลาย
แห้งโดยทั่วไป ทำ�ได้โดยตากแดด หรือใช้เครื่องทำ�แห้งลม ของไขมันและเกิดกลิ่นหืน การอบแห้งในโรงเก็บมีข้อเสีย
ร้อนแบบต่างๆ ได้แก่ เครื่องอบแบบถาด แบบอุโมงค์ ตู้ คือใช้เวลานาน แต่สามารถรักษาคุณค่าทางอาหารและ
อบลมร้อน เครื่องอบแห้งแบบฟลูอิดไดซ์เบด เครื่องอบ คุณภาพได้ เหมาะสมกับการอบแห้งผลิตผลที่มีประมาณ
แห้งแบบพ่นฝอย หรือใช้พลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องอบ มาก และความชื้นเริ่มต้นไม่ควรมากกว่า 20% (w.b.)
เหล่านี้สามารถใช้ทำ�แห้งอาหารที่มีลักษณะเป็นก้อน ชิ้น การทำ�แห้งผลิตภัณฑ์อาหารโดยใช้เครื่องอบแห้งแบบ
ผง เส้นใย อาหารขึ้นรูป กึ่งเหลวกึ่งแข็ง ของเหลว และ ขั้นตอนเดียว ยังมีข้อจำ�กัด ยกตัวอย่างเช่น การทำ�แห้ง
เมล็ดพืช การทำ�แห้งแบบนีจ้ ะสิน้ เปลืองพลังงานมาก และ แบบแช่เยือกแข็ง แม้ว่าทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่มี
ทำ�ให้อาหารสูญเสียคุณค่าทางอาหารได้ง่าย เนื่องจากใช้ คุณภาพดี แต่ต้องใช้เวลาในการทำ�แห้งนาน หรือ การทำ�
ความร้อนสูงในการอบแห้ง ดังนัน้ วิธกี ารระเหยน้ำ�ออกจาก แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ ซึ่งใช้เวลาในการทำ�แห้งสั้นและ
อาหารที่อุณหภูมิต่ำ� เช่น การใช้สุญญากาศร่วมในการทำ� ช่วยลดการหดตัวของผลิตภัณฑ์ได้ แต่ยังพบปัญหาความ
แห้งจะทำ�ให้อัตราการทำ�แห้งเพิ่มขึ้น และใช้เวลาสั้นลง ไม่สม่ำ�เสมอของสนามไฟฟ้า ทำ�ให้เกิดการไหม้เป็นจุดๆ
ช่วยในการรักษากลิ่น รสชาติ ลักษณะทางกายภาพเช่น ได้ดังนั้นจึงได้มีการศึกษาการทำ�แห้งแบบผสมผสาน เพื่อ
สี รูปร่าง ให้คงอยู่ได้ดี ในการกระบวนการทำ�แห้งแบบนี้ เป็นการแก้ไขข้อบกพร่องของการทำ�แห้งแบบขัน้ ตอนเดียว
ประกอบด้วยห้องสุญญากาศ แหล่งความร้อน เครื่องทำ�
สุญญากาศ อาหารที่นิยมใช้ทำ�แห้งแบบสุญญากาศ เช่น 2. การทำ�แห้งแบบผสมผสาน (Hybrid Drying)
ผักและผลไม้ เนื้อสัตว์ สมุนไพร เครื่องเทศ และเห็ด การทำ�แห้งแบบผสมผสานเป็นการใช้เครื่องอบแห้ง
ข้อเสียคือการติดตั้งปั๊มดูดอากาศที่มีประสิทธิภาพที่ดีนั้นมี หลายลักษณะหรือหลายขั้นตอนในการทำ�แห้งผลิตภัณฑ์
ราคาแพง ชนิดใดชนิดหนึ่ง เพื่อเป็นการแก้ไขข้อบกพร่องของการ
อาหารบางประเภทมีองค์ประกอบทีส่ ลายตัวได้งา่ ยหรือ ทำ�แห้งแบบขั้นตอนเดียว โดยมีลักษณะการทำ�งานหลาย
เสียโครงสร้างเมื่อได้รับความร้อน การใช้อุณหภูมิต่ำ� เช่น รูปแบบ เช่น การใช้เครื่องอบแห้งชนิดเดียวกันแต่มีการ
การแช่เยือกแข็งจึงเป็นทางออกที่น่าสนใจในการทำ�แห้ง ปรับเปลี่ยนอุณหภูมิของการทำ�แห้งในแต่ละขั้นตอน การ
ร่วมกับการลดความดันบรรยากาศให้ต่ำ�ลงในระดับที่น้ำ� เปลี่ยนความดัน หรือการพักในที่อับอากาศระหว่างการทำ�
แข็งสามารถระเหิดเป็นไอได้ การทำ�แห้งแบบแช่เยือกแข็ง แห้ง หรือการนำ�วิธีการทำ�แห้งแบบต่างๆ หรือใช้เครื่อง
272 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555

อบแห้งต่างชนิดกันมาใช้ร่วมกัน เพื่อผสมผสานข้อดีของ Drying ---> Coating : อบแห้งร่วมกับการเคลือบ


เครื่องอบแห้งแต่ละชนิด โดยมีจุดประสงค์เพื่อทำ�ให้ได้ Drying ---> Filtration : อบแห้งร่วมกับการกรอง
ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้น เพิ่มอัตราการทำ�แห้ง อีกทั้งลด
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและลดการใช้พลังงาน งานวิจัยที่ใช้การทำ�แห้งแบบผสมผสานโดยส่วนใหญ่
Kudra และ Mujumdar (2009) [1] ได้แบ่งการทำ� จะเกี่ยวข้องกับการนำ�เทคนิคการอบแห้งชนิดอื่นๆ มา
แห้งแบบผสมผสานออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ๆ ได้แก่ ทดแทนการอบแห้งโดยใช้ลมร้อน เนื่องจากการอบแห้ง
1. Combined modes of heat transfer : การ โดยใช้ลมร้อน เช่น เครื่องอบแห้งแบบตู้อบลมร้อน เป็น
ผสมผสานลักษณะการถ่ายเทความร้อนหลายๆ ประเภท เครื่องอบแห้งที่ใช้หลักการในการพาความร้อนจากอากาศ
เข้าด้วยกัน แบ่งเป็นลักษณะต่างๆ เช่น ที่มีทิศทางการไหลแบบบังคับ เพื่อถ่ายเทความร้อนไป
Convection and conduction : การพาความร้อน ยังวัสดุที่ชื้น แต่การอบแห้งด้วยวิธีนี้มักส่งผลเสียต่อ
ร่วมกับการนำ�ความร้อน ผลิตภัณฑ์อาหารในด้านเนื้อสัมผัส สี กลิ่นรส และคุณค่า
Convection and Microwave / Infrared radiation / ทางโภชนาการบางอย่าง ดังนั้นการพัฒนาเทคโนโลยี
Radio-frequency : การพาความร้อนร่วมกับการแผ่รังสี การทำ�แห้งในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นที่จะลดการเสื่อมเสียของ
เช่น คลื่นไมโครเวฟ / รังสีอินฟราเรด / คลื่นวิทยุ อาหารจากปฏิกิริยาทางเคมี และเพิ่มความคงอยู่ของสาร
Simultaneous : การถ่ายเทความร้อนหลายแบบ อาหารเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมากขึ้น โดยเฉพาะ
เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน กลุ่มอาหารที่ไวต่อความร้อน
Sequential : การถ่ายเทความร้อนหลายแบบเกิด
ขึ้นเป็นขั้นตอนต่อเนื่องกัน 3. ผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความร้อน
Continuous : การทำ�แห้งแบบต่อเนื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความร้อน หมายถึง อาหารที่
Intermittent : การทำ�แห้งเป็นช่วงๆ ไม่ต่อเนื่อง มี เกิดการเสื่อมเสียคุณภาพได้ง่ายด้วยความร้อน เช่น ผัก
การหยุดพัก ผลไม้ สมุนไพร อาหารที่มีสารหอมระเหย และผลิตภัณฑ์
2. Multistage dryers : การทำ�แห้งแบบหลาย ยา เป็นต้น โดยสิ่งที่เป็นปัจจัยสำ�คัญที่ใช้ในการพิจารณา
ขั้นตอน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ คุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารประเภทนี้ ได้แก่
Each stage same dryer type : แต่ละขั้นตอน • คุณภาพด้านสีของผลิตภัณฑ์
ใช้เครือ่ งอบแห้งชนิดเดียวกัน เช่น Two-stage fluid bed • ลักษณะโครงสร้างของผลิตภัณฑ์
หรือ Two-stage vibrofluid bed เป็นต้น • ความสามารถในการดูดน้ำ�กลับและการคืนตัว
Each stage a different dryer : ใช้เครื่องอบแห้ง • ปริมาณสารหอมระเหย
หลายชนิดร่วมกันในขั้นตอนเดียว เช่น Flash / fluid bed • คุณค่าทางโภชนาการ เช่น วิตามิน โปรตีน
หรือ Spray / fluid bed หรือ Fluid bed / packed แป้ง หรือ สารที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพต่างๆ
bed วิธีการทำ�แห้งที่เหมาะสมกับอาหารที่ไวต่อการเสื่อม
Different drying technologies per stage : ใช้ เสียคุณภาพด้วยความร้อน ต้องเป็นวิธีที่ใช้อุณหภูมิต่ำ�
เครื่องอบแห้งต่างชนิดกันในแต่ละขั้นตอน เช่น Super- ในการทำ�แห้ง ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายมีคุณภาพดี มีการ
heated steam dryer ตามด้วย Hot air drying ทำ�ลายโครงสร้างน้อย สามารถรักษาสารหอมระเหย สี
3. Multiprocessing dryers : การทำ�แห้งร่วมกับ และคุณค่าทางโภชนาการได้ใกล้เคียงผลิตภัณฑ์ก่อนทำ�
กระบวนการอื่นๆ เช่น แห้งได้มาก ซึ่งวิธีที่นิยมใช้คือ การทำ�แห้งแบบแช่เยือก
Drying ---> Cooling : อบแห้งร่วมกับการทำ�เย็น แข็ง แต่การทำ�แห้งแบบแช่เยือกแข็งมีข้อจำ�กัดในเรื่อง
Drying ---> Granulation/Agglomeration : อบ ของค่าใช้จา่ ยในการลงทุนและการดำ�เนินการค่อนข้างมาก
แห้งร่วมกับการขึ้นรูปเป็นอนุภาคใหญ่ขึ้น และต้องใช้เวลาในการทำ�แห้งนาน และมีผลต่อเนื้อสัมผัส
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 273
ของอาหารบางชนิดทำ�ให้เนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์แข็ง สำ � หรั บ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ วต่ อ ความร้ อ นที่ ต้ อ งใช้ อุ ณ หภู มิ ต่ำ �
และเหนียว หรือการทำ�แห้งโดยการใช้ระบบสุญญากาศ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพที่ดีในด้านสี กลิ่นและเนื้อสัมผัส
เนื่องจากระบบสุญญากาศทำ�ให้จุดเดือดของน้ำ�ลดต่ำ�ลง เพิ่มประสิทธิภาพในการอบแห้ง และสภาพของอากาศ
น้ำ�จึงระเหยออกไปได้ที่อุณหภูมิต่ำ� นอกจากนี้ในระบบ ภายนอกไม่มีผลต่อการอบแห้ง การใช้ปั๊มความร้อนมีข้อดี
สุญญากาศยังมีออกซิเจนในปริมาณต่ำ�จึงลดการเสื่อม คือสามารถลดความชื้นในบรรยากาศได้ต่ำ�กว่าการใช้ตู้อบ
เสียจากปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ แต่มีข้อจำ�กัดในเรื่องของ ลมร้อนที่อุณหภูมิการอบแห้งเดียวกัน ปั๊มความร้อนจะ
เนื้อสัมผัสของอาหารบางประเภทและเวลาที่ใช้ในการ ปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพในช่วงอุณหภูมิการอบ
ทำ�แห้งนาน ดังนั้นการใช้เทคนิคการทำ�แห้งแบบผสม แห้งที่ต่ำ�อยู่ระหว่าง 25 – 70 °C ซึ่งจะช่วยประหยัดเวลา
ผสาน โดยการนำ�จุดเด่นของหลักการอบแห้งแต่ละวิธีมา ในการอบแห้งเมือ่ เทียบกับการอบแห้งด้วยตูอ้ บลมร้อน แต่
ประกอบกันสำ�หรับอบแห้งอาหารที่ไวต่อความร้อนจึงเป็น การอบแห้งด้วยปั๊มความร้อนเป็นการอบแห้งที่ใช้กระแส
เรื่องที่ท้าทาย เนื่องจากผลิตภัณฑ์อาหารแต่ละชนิดมีองค์ ไฟฟ้าเป็นแหล่งพลังงาน จึงอาจมีค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน
ประกอบและการเสื่อมเสียที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมี ที่เพิ่มขึ้นหากใช้ปั๊มความร้อนเพียงขั้นตอนเดียวในการ
การศึกษาเทคโนโลยีการทำ�แห้งแบบผสมผสานทีเ่ หมาะสม อบแห้ง
สำ�หรับอาหารแต่ละประเภท ดังนั้นการศึกษาการนำ�ปั๊มความร้อนมาร่วมกับการ
มีนกั วิจยั หลายกลุม่ ทีน่ �ำ เทคโนโลยีการทำ�แห้งแบบผสม อบแห้งด้วยลมร้อนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการอบแห้ง
ผสานมาทดลองศึกษากับกลุ่มอาหารที่ไวต่อความร้อนและ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์อาหารจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ
ประสบความสำ�เร็จในการรักษาคุณภาพของอาหาร เช่น Borompichaichartkul และคณะ (2009) [2] ศึกษาการ
อาหารทีม่ ไี ขมันสูง มีสารหอมระเหยทีส่ ำ�คัญ หรือสารออก ใช้ปั๊มความร้อนร่วมกับการอบแห้งด้วยลมร้อนในการอบ
ฤทธิ์ทางชีวภาพ เทคโนโลยีการอบแห้งแบบผสมผสานที่ แห้งถั่วแมคคาดาเมียทั้งกะลาพบว่าการใช้ปั๊มความร้อน
ศึกษาได้แก่ การใช้ปั๊มความร้อนร่วมกับการอบแห้งด้วย ที่ 40°C ร่วมด้วยตู้อบลมร้อนที่ 50°C อบแห้งจนกระทั่ง
ลมร้อน (ถั่วแมคคาดาเมีย) การทำ�แห้งอาหารด้วยไอน้ำ� ความชื้นของถั่วแมคคาดาเมียลดลงเหลือ 1-2% (w.b.)
ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ� (แครอท มะขามป้อม ใบ สามารถชะลอการเกิดกลิ่นหืนและสีน้ำ�ตาลในเนื้อแมค
โหระพา) และการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบ คาเดเมียได้ดีกว่าวิธีที่ใช้ในอุตสาหกรรมซึ่งใช้เวลานานใน
สุญญากาศ (ใบโหระพา เห็ด ใบสะระแหน่ แครอท) ใน การอบแห้งถึง 17 วัน ในขณะที่การใช้ปั๊มความร้อนร่วม
ที่นี้จะขอยกตัวอย่างเทคโนโลยีการทำ�แห้งแบบผสมผสาน กับลมร้อนสามารถลดความชื้นลงให้อยู่ในระดับที่ต้องการ
ดังกล่าวและผลของการทำ�แห้งด้วยวิธีดังกล่าวต่อคุณภาพ ได้ภายใน 3 วัน และพบว่าระดับความชื้นที่เหมาะสมใน
ของผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความร้อน การเปลี่ยนขั้นตอนการอบแห้งจากปั๊มความร้อนเป็นลม
ร้อนโดยมีการเพิ่มอุณหภูมิคือ 10-11% (d.b.)
4. การอบแห้งด้วยปั๊มความร้อนร่วมกับลมร้อน Phattanayindee และคณะ (2009) [3] ตรวจสอบ
(Heat pump drying combined with convec- คุณภาพของถั่วแมคคาดาเมียที่อบแห้งทั้งกะลาโดยการใช้
tion hot air drying) ปัม๊ ความร้อนที่ 38°C และตามด้วยการอบแห้งแบบอุโมงค์
การอบแห้ งโดยใช้ ปั๊ ม ความร้ อ น (Heat Pump ที่ 55°C อบแห้งจนกระทั่งความชื้นของถั่วแมคคาดาเมีย
Dryer, HPD) ได้รับความสนใจอย่างมากในอุตสาหกรรม ลดลงเหลือ 1-2% (w.b.) พบว่าการอบแห้งแบบปั๊มความ
อาหาร เนื่องจากสามารถนำ�เอาพลังงานมาใช้ได้อย่าง ร้อนร่วมกับการอบแห้งแบบอุโมงค์สามารถรักษาคุณภาพ
มีประสิทธิภาพสูงเนื่องจากมีการเก็บคืนความร้อนจาก ของไขมันไม่อิ่มตัวชนิดดี เช่น กรดโอเลอิก และชะลอ
อากาศหลังการอบแห้ง เมื่อทำ�งานในระบบปิดอย่าง การเกิดสารให้กลิ่นรสที่ไม่ต้องการในผลิตภัณฑ์ถั่วแมคคา-
สมบูรณ์ปั๊มความร้อนมีการสูญเสียปริมาณความร้อน ดาเมียอบแห้งได้ดีกว่าวิธีการอบแห้งแบบเดิมที่ใช้การ
จำ�เพาะต่ำ�ที่สุด การอบแห้งด้วยปั๊มความร้อนเหมาะ อบแห้งแบบลมร้อนอย่างเดียว
274 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555

นอกจากนี้มีการศึกษาการแทนที่อากาศในปั๊มความ กับการปรับบรรยากาศจึงเหมาะสมกับอาหารที่ไวต่อความ
ร้อนด้วยตัวกลางการให้ความร้อนอื่นๆ เช่น N2 หรือ ร้อนที่มีไขมันสูงหรือสารหอมระเหย
CO2 ซึ่งเป็นวิธีการปรับบรรยากาศในการอบแห้งเพื่อลด
และชะลอการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับออกซิเจน 5. การทำ�แห้งด้วยไอน้�ำ ร้อนยวดยิง่ ทีส่ ภาวะความ
ในอากาศ เช่น การเปลี่ยนสี ปฏิกิริยาออกซิเดชันของ ดันต่ำ� (Low pressure superheated steam
ไขมัน เป็นต้น งานวิจัยของ Hawlader และคณะในปี drying)
2006 [4] พบว่าในการอบแห้งขิงด้วยปั๊มความร้อนแบบ เทคโนโลยีการทำ�แห้งอาหารด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่ง
ดัดแปรบรรยากาศพบว่าสามารถป้องกันการสูญเสียสาร (Superheated Steam Drying, SSD) เป็นวิธีการทำ�
ให้กลิ่นรสเฉพาะของขิง (6-gingerol) ได้สูงสุดเมื่อใช้ N2 แห้งที่ใช้ไอน้ำ�ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิอิ่มตัวที่ความดัน
เปรียบเทียบกับ CO2 และอากาศปกติ ตามลำ�ดับ การใช้ ใดความดันหนึง่ ซึง่ มีสมบัตดิ า้ นการถ่ายเทความร้อนดีกว่า
N2 สามารถป้องกันการเกิดปฏิกิริยาการเกิดออกซิเดชันใน อากาศที่อุณหภูมิเดียวกัน มาเป็นตัวกลางในการทำ�แห้ง
ระหว่างการอบแห้งได้ เพื่อถ่ายเทความร้อนไปยังวัสดุ และพาน้ำ�ในผลิตภัณฑ์ให้
Borompichaichartkul และคณะ (2010) [5] ศึกษา ระเหยออกมา ในระหว่างการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่ง
การอบแห้งถั่วแมคคาดาเมียทั้งกะลาด้วยปั๊มความร้อน ความต้านทานการแพร่ความชื้น ซึ่งระเหยออกจากวัสดุ
แบบหลายขั้ น ตอนแบบปรั บ บรรยากาศ โดยใช้ ก๊ า ซ เข้าสู่กระแสของไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งจะไม่เกิดขึ้น ดังนั้นอัตรา
ไนโตรเจน (N) และ/หรือ อากาศ (A) เป็นตัวกลางในการ การทำ�แห้งในช่วงอัตราการอบแห้งคงที่ จึงขึ้นอยู่กับอัตรา
ถ่ายโอนความร้อนให้แก่ถั่วแมคคาดาเมีย การอบแห้งใช้ การถ่ายเทความร้อนเพียงอย่างเดียว [1]
ปั๊มความร้อนอบแห้งแบบ 2 ขั้นตอนให้อุณหภูมิช่วงแรก การทำ�แห้งอาหารด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่ง ยังคงมีข้อ
เป็น 40°C และปรับอุณหภูมิในช่วงที่ 2 เป็น 50 หรือ จำ�กัดเมื่อนำ�มาใช้ทำ�แห้งวัสดุที่ไวต่อความร้อน (Heat-
60°C อบแห้งจนกระทั่งความชื้นของถั่วแมคคาดาเมียลด sensitive material) เช่น ผัก และผลไม้ ซึ่งมักได้รับ
ลงเหลือ 1-2% (w.b.) พบว่าสภาวะการอบแห้ง 40-50°C ความเสียหายได้ง่ายเมื่อทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่
ใช้เวลาในการอบแห้งนานกว่า 40 – 60°C และการใช้ ความดันบรรยากาศ (อุณหภูมิของไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งสูงกว่า
ไนโตรเจนเป็นตัวกลางในการถ่ายโอนความร้อนเพียงอย่าง 100°C) ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการพัฒนาระบบการทำ�แห้งด้วย
เดียว สามารถรักษากลิ่นรสของแมคคาเดเมียได้ดีกว่าใช้ ไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่ง ให้ผลิตไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่ความดันต่ำ�
อากาศเป็นตัวกลางทัง้ สองขัน้ ตอน เช่น สภาวะ 40N-50N กว่าบรรยากาศ หรือให้ระบบการทำ�แห้งทำ�งานที่ความดัน
(Peroxide value, PV = 0.38 meqO2/kg oil) กับ 40A- ต่ำ�กว่าบรรยากาศ เพื่อให้ไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งมีอุณหภูมิต่ำ�ลง
50A (PV= 1.15 meqO2/kg oil) และ 40N-60N (PV = (อุณหภูมิต่ำ�กว่า 100°C) [6]
1.15 meqO2/kg oil) กับ 40A-60A (PV= 1.53 meqO2/ Davahastin และคณะ (2004) [7] ศึกษาเปรียบ
kg oil) ส่วนการสลับตัวกลางไนโตรเจนและอากาศในขั้น เทียบคุณภาพของแครอทที่ได้จากการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�
ตอนแรกหรือขั้นตอนที่สอง ค่า PV ที่ได้มีค่าไม่แตกต่าง ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ�และการทำ�แห้งด้วยระบบ
กัน สำ�หรับค่าสี (L*, a*, b*) มีความแตกต่างกันเพียงเล็ก สุญญากาศโดยลดความชื้นของแครอทที่มีความชื้นเริ่มต้น
น้อย ซึ่งค่า L* และ a* ของภายในเมล็ดถั่วแมคคาดาเมีย 90% (w.b.) ทำ�แห้งจนมีความชื้นสุดท้าย 6.5% (w.b.)
ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำ�คัญ (p > 0.05) ซึ่งแสดง ศึกษาสภาวะความดัน 7, 10 และ 13 kPa อุณหภูมิของ
ว่าอุณหภูมใิ นการอบแห้งในช่วงทีเ่ ลือก 40 – 60°C สามารถ ไอน้ำ� 60, 70 และ 80°C นำ�ผลิตภัณฑ์แครอทแห้งจาก
รักษาคุณภาพของสีแมคคาดาเมียได้ใกล้เคียงกัน แต่ สภาวะต่างๆ มาเปรียบเทียบคุณภาพด้านปริมาตร ความ
อุณหภูมิและตัวกลางส่งผลต่อกลิ่นรสของแมคคาดาเมีย หนาแน่นปรากฏ การหดตัว การดูดน้ำ�กลับ และสี พบ
มากกว่าการเปลี่ยนแปลงสี ว่าแครอทที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะ
การอบแห้งโดยใช้ปั้มความร้อนแบบสองขั้นตอนร่วม ความดันต่ำ�มีค่าความสว่างและสีแดงมากกว่าแครอทที่
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 275
ผ่านการทำ�แห้งด้วยระบบสุญญากาศ ซึ่งสีแดงนั้นมีความ นอกจากนี้การทำ�แห้งที่อุณหภูมิต่ำ�จะสามารถรักษาสีได้ดี
เกี่ยวข้องกับปริมาณ β-carotene ตัวอย่างที่มีค่าสีแดง กว่าที่อุณหภูมิสูง และความดันที่แตกต่างกัน (7, 10 และ
มากแสดงว่ามีปริมาณ β-carotene คงอยู่มากด้วยเช่น 13 kPa) มีผลต่อสีของเนื้อมะขามป้อมเพียงเล็กน้อย แต่
กัน และอุณหภูมิที่ใช้ในการทำ�แห้งที่ต่ำ� (60°C) จะทำ�ให้ เนื้อมะขามป้อมที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่
แครอทมีค่าสีแดงและค่าความสว่างมากกว่าการทำ�แห้ง สภาวะความดันต่ำ�และการทำ�แห้งด้วยระบบสุญญากาศ
ที่อุณหภูมิสูง (80°C) ส่วนระดับความดันสุญญากาศที่ ในทุกสภาวะมีค่าความสว่างลดลงและมีค่าสีแดงเพิ่มขึ้น
ใช้ (7, 10 และ 13 kPa) มีผลต่อสีของแครอทเพียงเล็ก เมื่อเปรียบเทียบกับมะขามป้อมสด แต่เนื่องจากผลิตภัณฑ์
น้อย และแครอทที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่ง สุดท้ายที่ได้เป็นเกล็ดมะขามป้อมสำ�หรับชงชา ดังนั้นผู้
ที่สภาวะความดันต่ำ�และการทำ�แห้งด้วยระบบสุญญากาศ บริโภคจึงไม่กังวลเรื่องการเปลี่ยนแปลงสีมากนัก นอกจาก
มีเปอร์เซ็นต์การหดตัวใกล้เคียงกัน แต่รูปแบบการหดตัว นั้นผลการอบแห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความ
แตกต่างกัน โดยพบว่าการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่ ดันต่ำ�ต่อคุณค่าทางโภชนาการในด้านของปริมาณกรด
สภาวะความดันต่�ำ มีลกั ษณะการหดตัวทีส่ ม่�ำ เสมอมากกว่า แอสคอร์บิก พบว่าเนื้อมะขามป้อมที่ผ่านการทำ�แห้ง
เนื่องจากในระบบการอบแห้งมีไอน้ำ�อยู่มาก และเนื่องจาก ด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ�สามารถรักษา
ความดันไอที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วภายในผลิตภัณฑ์ ทำ�ให้ ปริมาณกรดแอสคอร์บิกไว้ได้ดีกว่าการทำ�แห้งด้วยระบบ
เซลล์เกิดการขยายตัว ผลิตภัณฑ์จึงไม่เสียรูปมากและ สุญญากาศ เนื่องจากในระบบการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อน
มีความพรุนมากขึ้น นอกจากนี้การทำ�แห้งด้วยระบบ ยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ�นั้นปราศจากออกซิเจน จึง
สุญญากาศ ทำ�ให้เกิดโครงสร้างที่จับตัวกันแน่นและแข็ง ป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้เป็นอย่างดี กรด
เป็นชั้นที่อยู่รอบนอก ซึ่งจะไปขัดขวางการดูดน้ำ�กลับ ซึ่ง แอสคอร์บิกจึงยังคงอยู่ในปริมาณสูง ในขณะที่การทำ�
จะส่งผลต่อความสามารถในการคืนตัวของผลิตภัณฑ์ โดย แห้งด้วยระบบสุญญากาศแม้ว่าจะทำ�การดูดอากาศออก
ทำ�ให้ค่าการดูดน้ำ�กลับมีค่าน้อยกว่าแครอทที่ทำ�แห้งด้วย แล้ว แต่ยังมีออกซิเจนหลงเหลืออยู่ในระบบ จึงทำ�ให้เกิด
ไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ� ปฏิกิริยาออกซิเดชันของกรดแอสคอร์บิกขึ้นได้ จึงทำ�ให้มี
สำ�หรับเวลาในการทำ�แห้ง Devahastin และคณะ ปริมาณต่ำ�กว่า นอกจากนี้ความดันที่แตกต่างกัน (7, 10
(2004) [7] พบว่าการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่ และ 13 kPa) มีผลต่อปริมาณกรดแอสคอร์บิกของเนื้อ
สภาวะความดันต่ำ�ใช้เวลานานกว่าการทำ�แห้งด้วยระบบ มะขามป้อมเพียงเล็กน้อย แต่มแี นวโน้มทีพ่ บว่าการทำ�แห้ง
สุญญากาศในทุกสภาวะการทดลอง เนื่องในช่วงแรกของ ที่ความดันต่ำ�มีปริมาณกรดแอสคอร์บิกคงเหลืออยู่ในเนื้อ
การทำ�แห้ง ไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่มีอุณหภูมิสูงสัมผัสกับผิว มะขามป้อมในปริมาณที่มากกว่าวิธีการทำ�แห้งที่สภาวะ
ของผลิตภัณฑ์ที่มีอุณหภูมิต่ำ� ทำ�ให้เกิดการควบแน่นของ ความดันปกติ
ไอน้�ำ บนผิวของผลิตภัณฑ์ได้ ส่งผลให้ตอ้ งใช้เวลาในการทำ� Barbieri และคณะ (2004) [9] ศึกษาการทำ�แห้ง
แห้งเพิม่ ขึน้ 10-15% ทีค่ วามดันบรรยากาศ เพือ่ ระเหยน้�ำ ใบโหระพาด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ�และ
ในส่วนนี้ออกไปก่อน แต่สามารถแก้ไขได้โดยการให้ความ การทำ�แห้งด้วยลมร้อน ต่อคุณภาพด้านปริมาณสาร
ร้อนแก่ห้องอบและผลิตภัณฑ์ในเบื้องต้นก่อน (Preheat- หอมระเหยหลักที่ให้กลิ่นในใบโหระพา ได้แก่ α-pinene,
ing) Limonene, 1,8-Cineole, p-Cymene, Linalool, Hexa-
Methakhup และคณะ (2004) [8] ศึกษาการทำ�แห้ง decane, Methyl chavicol และ Methyl cinnamate
ด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ�กับเนื้อมะขาม พบว่าการทำ�แห้งใบโหระพาด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะ
ป้ อ มพบว่ า การทำ � แห้ ง ด้ ว ยไอน้ำ � ร้ อ นยวดยิ่ ง ที่ ส ภาวะ ความดันต่ำ�สามารถรักษาปริมาณสารหอมระเหยส่วน
ความดันต่ำ�สามารถรักษาสีได้ดีกว่าการทำ�แห้งด้วยระบบ ใหญ่ไว้ได้มากกว่า 80% อีกทั้งยังสามารถสกัดสารหอม
สุญญากาศในทุกสภาวะ โดยมีค่าความสว่างและสีแดง ระเหยที่ระเหยออกไปจากผลิตภัณฑ์พร้อมกับไอน้ำ�และ
มากกว่า แต่มีค่าสีเหลืองใกล้เคียงกับมะขามป้อมสด เข้าไปอยู่ในส่วนของไอน้�ำ ร้อนยวดยิ่งกลับมาได้ ทำ�ให้ลด
276 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555

การสูญเสียสารหอมระเหยได้ดี ในขณะที่การทำ�แห้งด้วย อัตราการทำ�แห้ง เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟทำ�ให้โมเลกุล


ลมร้อนทำ�ให้สารหอมระเหยส่วนใหญ่คงอยูใ่ นปริมาณน้อย ของน้ำ �ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กิ ด การสั่ น สะเทื อ นและเกิ ด เป็ น
กว่า 40-60% เพราะเกิดการสูญเสียไปกับลมร้อนและไม่ ความร้อนขึ้น ซึ่งการเกิดความแตกต่างของอุณหภูมิและ
สามารถสกัดกลับมาได้ แต่ในสารหอมระเหยบางชนิดก็พบ ความชืน้ ทีอ่ ยูภ่ ายในและภายนอกของผลิตภัณฑ์นี้ เป็นแรง
ปรากฏการณ์ Thermal reaction เช่น Methyl chavicol ผลักดันให้เกิดการเคลื่อนที่ของความชื้นในผลิตภัณฑ์ออก
ที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ 60°C ซึ่งพบว่า มาภายนอก จึงช่วยลดปัญหาการเกิดลักษณะเปลือกแข็ง
มีปริมาณมากกว่าในใบโหระพาสดอย่างมาก ซึ่งถือเป็น รอยแตกที่ผิวหน้า หรือจุดไหม้ที่เกิดจากการทำ�แห้งด้วย
ข้อดีของการทำ�แห้งผลิตภัณฑ์บางชนิดที่ต้องการ volatile ลมร้อนแบบดั้งเดิม และเนื่องจากพลังงานคลื่นไมโครเวฟ
compound ที่เกิดจาก Thermal reaction ที่อุณหภูมิสูง นัน้ เข้าสูภ่ ายในวัสดุโดยตรง ดังนัน้ จึงไม่มกี ารสูญเสียความ
เช่น การคั่วเมล็ดกาแฟ และการคั่วป๊อปคอร์น เป็นต้น ร้อนไปกับสภาพแวดล้อมเหมือนการทำ�แห้งด้วยลมร้อน
Suvarnakuta และคณะ (2005) [10] ศึกษาการ แบบดั้งเดิม แต่เนื่องจากการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ
ทำ�แห้งแครอทด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ� ก็ยังมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการลงทุนและการใช้งานของ
การทำ�แห้งด้วยระบบสุญญากาศ และการทำ�แห้งด้วย เครื่องมือค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับการทำ�แห้งแบบลมร้อน
ลมร้อน พบว่าการทำ�แห้งแครอทด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่ ดังนั้นจึงไม่นิยมใช้คลื่นไมโครเวฟเป็นแหล่งพลังงานเพียง
สภาวะความดันต่ำ�จะมีการสูญเสีย β-carotene น้อยกว่า อย่างเดียว โดยเฉพาะในการทำ�แห้งวัตถุดบิ ทีม่ คี วามชืน้ สูง
การทำ�แห้งด้วยระบบสุญญากาศ และการทำ�แห้งด้วยลม เช่น ในผักและผลไม้ ซึง่ ต้องใช้เวลาในการทำ�แห้งเป็นเวลา
ร้อน ตามลำ�ดับ เนื่องจากในระบบการทำ�แห้งด้วยไอน้ำ� นาน อย่างไรก็ตามการใช้คลื่นไมโครเวฟในการทำ�แห้ง
ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดันต่ำ�นั้นปราศจากออกซิเจน วัตถุดิบที่มีความชื้นต่ำ�จะมีประสิทธิภาพดีกว่า และเพื่อ
จึงป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ดีกว่า ในขณะ เป็นการแก้ไขข้อจำ�กัดในด้านค่าใช้จ่าย จึงมีการศึกษาการ
ที่การทำ�แห้งด้วยระบบสุญญากาศ แม้ว่าจะทำ�การดูด ใช้คลื่นไมโครเวฟร่วมกับการทำ�แห้งแบบอื่นๆ ได้แก่ การ
อากาศออกแล้ว แต่ยังมีออกซิเจนหลงเหลืออยู่ในระบบ ใช้ร่วมกับการทำ�แห้งด้วยระบบสุญญากาศ (Microwave-
จึงทำ�ให้ยังคงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้บ้าง ส่วนการ vacuum drying)
ทำ�แห้งด้วยลมร้อนนั้น มีออกซิเจนอยู่มากในระบบจึงมี Arora และคณะ (2003) [11] ศึกษาการทำ�แห้ง
โอกาสเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้มากกว่าวิธีอื่นๆ ปริมาณ เห็ด (Agaricus bisporus) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-5
β-carotene จึงมีค่าต่ำ� เซนติเมตร ซึ่งมีความชื้นเริ่มต้น 93-93.6% (w.b.) ด้วย
การอบแห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่สภาวะความดัน วิธีต่างๆ ได้แก่ การทำ�แห้งด้วยลมร้อน การทำ�แห้งด้วย
ต่ำ�เหมาะสมกับอาหารที่ไวต่อความร้อนที่ต้องการรักษา คลื่นไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน และการทำ�แห้งด้วยคลื่น
คุณภาพด้านสี เนื้อสัมผัส คุณค่าทางโภชนาการ สารหอม ไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศต่ออัตราการทำ�แห้ง
ระเหย และที่สำ�คัญการอบแห้งด้วยไอน้ำ�ร้อนยวดยิ่งที่ และอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์ พบว่าอัตราการทำ�แห้งด้วย
สภาวะความดันต่ำ�ให้ลักษณะความเป็นรูพรุนของอาหารที่ คลื่นไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน และการทำ�แห้งด้วยคลื่น
ทำ�ให้ชิ้นอาหารลดการหดตัวและมีการคืนตัวกลับที่ดี ไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศมีค่าใกล้เคียงกัน และ
มากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการทำ�แห้งด้วยลมร้อนเพียง
6. การทำ � แห้ ง ด้ ว ยไมโครเวฟร่ ว มกั บ ระบบ อย่างเดียว ส่วนระยะเวลาทีใ่ ช้ในการทำ�แห้งเห็ดพบว่าการ
สุญญากาศ (Microwave-vacuum drying) ใช้คลืน่ ไมโครเวฟทำ�ให้สามารถลดระยะเวลาในการทำ�แห้ง
ข้อดีของคลื่นไมโครเวฟคือ ความสามารถในการเพิ่ม ลงได้จาก 17 ชั่วโมง เหลือเพียง 4 ชั่วโมง
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 277

รูปที่ 1 กราฟการอบแห้งของเห็ดด้วยลมร้อน (HA) การทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ (MWV)


และการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน (MWC)

จากรูปที่ 1 จะเห็นได้ว่าการใช้เทคนิคการทำ�แห้ง ทำ�แห้งให้เร็วขึ้นได้


ร่วมกันระหว่างการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟและการทำ� แต่เมื่อพิจารณาค่าอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์ที่ทำ�แห้ง
แห้งด้วยลมร้อนสามารถปรับปรุงการถ่ายเทความร้อนให้ ในระยะเวลา 5 ชั่วโมงแรก พบว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของ
ดีขึ้นได้มากกว่าการใช้ลมร้อนเพียงอย่างเดียว และอัตรา ผลิตภัณฑ์เมื่อทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบ
การทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ สุญญากาศมีค่าต่ำ�กว่าการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วม
มีค่าต่ำ�กว่าการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน กับลมร้อน โดยพบว่าในสภาวะความดันสุญญากาศที่ 5.1
เนื่องจากการใช้ลมร้อนจะสามารถพัดพาเอาความชื้นที่ kPa ผลิตภัณฑ์มีอุณหภูมิสูงสุดเพียง 40°C ดังแสดงใน
ผิวหน้าของผลิตภัณฑ์ออกไปได้ดีกว่าจึงช่วยเร่งอัตราการ รูปที่ 2

รูปที่ 2 อุณหภูมิของเห็ดที่ทำ�แห้งด้วยลมร้อน (HA) การทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ (MWV)


และการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน (MWC)
278 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555

Therdthai และ Zhou (2009) [12] ศึกษาผลของ แห้งที่ใช้การทำ�แห้งด้วยลมร้อนในทุกสภาวะการทดลอง


การทำ�แห้งใบสะระแหน่ (Mentha cordifolia Opiz ex โดยในช่วงแรกของการทำ�แห้งพลังงานไมโครเวฟจะถูก
Fresen) ด้วยวิธีการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับ ดูดซับโดยน้ำ�ในผลิตภัณฑ์เป็นปริมาณมาก ทำ�ให้มีความ
ระบบสุญญากาศ ที่กำ�ลังไมโครเวฟ 1600, 1920 และ ร้อนเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนผลิตภัณฑ์มีอุณหภูมิสูงถึง
2240 W ความหนาแน่นของกำ�ลังไมโครเวฟ 8.0, 9.6 51.7°C และน้ำ�เริ่มระเหยกลายเป็นไอ และกรณีของ
และ 11.2 w/g ที่ความดันสุญญากาศ 13.33 kPa เปรียบ การทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ
เทียบกับการทำ�แห้งด้วยลมร้อน ทีอ่ ุณหภูมิ 60 และ 70°C นั้น การเพิ่มกำ�ลังไมโครเวฟจาก 1600 W เป็น 2240 W
พบว่าใบสะระแหน่ที่มีความชื้นเริ่มต้น 9.43 ± 0.02 kg มีผลทำ�ให้อัตราการทำ�แห้งเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากกำ�ลัง
water/kg dry solid เมื่อผ่านการทำ�แห้งด้วยลมร้อน ไมโครเวฟที่มากขึ้น ส่งผลให้น้ำ�ในผลิตภัณฑ์ถูกกระตุ้นให้
ที่อุณหภูมิ 60 และ 70°C ใช้เวลาในการทำ�แห้ง 90 กลายเป็นไอได้เร็วขึ้น จึงช่วยเร่งให้ความชื้นเคลื่อนที่ออก
และ 60 นาที ตามลำ�ดับ ในขณะที่การทำ�แห้งด้วยคลื่น มาจากผลิตภัณฑ์ได้เร็วขึ้นด้วย ในขณะที่การเพิ่มอุณหภูมิ
ไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ ที่กำ�ลังไมโครเวฟ ของการทำ�แห้งด้วยลมร้อนจาก 60°C เป็น 70°C ไม่
1600, 1920 และ 2240 W ใช้เวลาเพียง 13, 12 และ ทำ�ให้อัตราการทำ�แห้งเพิ่มขึ้น ดังแสดงในรูปที่ 3 และการ
10 นาที ตามลำ�ดับ เพื่อลดความชื้นให้เหลือน้อยกว่า ทีอ่ ตั ราการทำ�แห้งเพิม่ ขึน้ ในการทำ�แห้งด้วยคลืน่ ไมโครเวฟ
0.1 kg water/kg dry sample สำ�หรับอัตราการทำ�แห้งของ ร่วมกับระบบสุญญากาศนั้นมีผลทำ�ให้ระยะเวลาในการทำ�
ใบสะระแหน่ เมื่อใช้วิธีการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วม แห้งลดลงได้ถึง 85 – 95%
กับระบบสุญญากาศมีอัตราการทำ�แห้งสูงกว่าอัตราการทำ�

รูปที่ 3 อัตราการทำ�แห้งของใบสะระแหน่ที่ทำ�แห้งโดยการใช้ (A) คลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ


เปรียบเทียบกับ (B) การทำ�แห้งด้วยลมร้อน

จากผลการทดลองทีก่ ล่าวมาข้างต้น ทำ�ให้สงั เกตเห็นได้ ของน้ำ�ในผลิตภัณฑ์จะเกิดการสั่นสะเทือน ทำ�ให้เกิดการ


ว่าการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ เปลี่ยนพลังงานจลน์เป็นพลังงานความร้อน และการที่
สามารถลดระยะเวลาการทำ�แห้งลง และเพิ่มอัตราการ ระบบเป็นสุญญากาศทำ�ให้จุดเดือดของน้ำ�ลดต่ำ�ลง น้ำ�จึง
ทำ�แห้งให้สูงขึ้นได้เมื่อเปรียบเทียบกับการทำ�แห้งด้วยลม สามารถกลายเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต�่ำ กว่า 100°C ไอน้ำ�ที่
ร้อนเนื่องจาก เมื่อผลิตภัณฑ์ได้รับคลื่นไมโครเวฟโมเลกุล เกิดขึ้นในผลิตภัณฑ์ทำ�ให้ความดันภายในผลิตภัณฑ์เพิ่ม
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 279
มากขึ้น และความแตกต่างระหว่างความดันไอภายในกับ ระบบการทำ�แห้งมีปริมาณออกซิเจนอยู่น้อย จึงลดการ
ภายนอกผลิตภัณฑ์ จะเป็นแรงผลักดันให้น�้ำ ในผลิตภัณฑ์ เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ซึ่งทำ�ให้เกิดการสลายตัวของสาร
เคลื่อนที่ออกไปภายนอกได้เร็วขึ้น จึงช่วยลดระยะเวลาใน หอมระเหย และในส่วนของปริมาณ Linalool ที่เพิ่มขึ้น
การทำ�แห้งลงและเพิ่มอัตราการทำ�แห้งขึ้นได้ ด้วยเหตุนี้ น่าจะมีสาเหตุมาจากปฏิกิริยาการสังเคราะห์สารเนื่องจาก
ผลิตภัณฑ์จึงสามารถทำ�ให้แห้งได้โดยไม่ต้องใช้อุณหภูมิสูง Thermal reaction ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยน Linalyl acetate
จึงเป็นการลดอุณหภูมิของกระบวนการทำ�แห้ง นอกจาก ไปเป็น Linalool เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการทำ�แห้ง
นั้นการที่ระบบเป็นสุญญากาศจึงมีปริมาณออกซิเจนต่ำ� ปริมาณสารดังกล่าวจึงสูงกว่าที่พบในใบโหระพาสด โดย
มากในระหว่างการทำ�แห้ง สามารถลดการเกิดปฏิกิริยา พบว่ามี Linalool เพิม่ ขึน้ ประมาณ 2.5 เท่า และ Methyl-
ออกซิเดชันในผลิตภัณฑ์ จึงช่วยรักษาสีและคุณค่าทาง chavicol เพิ่มขึ้นประมาณ 1.5 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับ
โภชนาการได้ การทำ�แห้งด้วยลมร้อน
Lin และคณะ (1998) [13] ศึกษาผลของการทำ�แห้ง Arora และคณะ (2003) [11] รายงานว่าเมื่อวัดการ
แครอทแผ่นด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ เปลี่ยนแปลงค่าสีของเห็ดที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยวิธีต่างๆ
ต่อปริมาณ β-carotene เปรียบเทียบกับการทำ�แห้ง พบว่าเห็ดที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยลมร้อนมีสีใกล้เคียงกับ
ด้วยลมร้อน พบว่าการทำ�แห้งด้วยลมร้อนทำ�ให้ปริมาณ เห็ดสดมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่าการทำ�แห้งด้วยคลื่น
β-carotene ของแผ่นแครอทลดลง 19.2% ซึ่งลดลงใน ไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศจะทำ�ให้เห็ดมีค่าความ
ปริมาณมากกว่าแผ่นแครอทที่ทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ สว่าง (L*) และค่าความเหลือง (b*) มากกว่าการทำ�แห้ง
ร่วมกับระบบสุญญากาศ ซึ่งปริมาณ β-carotene ลดลง ด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน โดยพบว่าการใช้กำ�ลัง
เพียง 3.2% เนื่องจากการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ ไมโครเวฟที่สูงขึ้น จะทำ�ให้ค่าความสว่างของผลิตภัณฑ์
ร่วมกับระบบสุญญากาศ ทำ�ให้เกิดอัตราการทำ�แห้งที่ ลดลง โดยสรุปพบว่าการทำ�แห้งเห็ดด้วยคลื่นไมโครเวฟ
รวดเร็ว จึงลดระยะเวลาการทำ�แห้งลง นอกจากนี้การ ร่วมกับระบบสุญญากาศ จะทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพ
ที่ใช้ระบบสุญญากาศมีปริมาณออกซิเจนอยู่น้อย จึงลด ด้านสีดีกว่าเห็ดที่ทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับลม
การเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของ β-carotene และระบบ ร้อน เนื่องจากอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์ที่ทำ�แห้งด้วยคลื่น
สุญญากาศยังทำ�ให้จุดเดือดของน้ำ�ในผลิตภัณฑ์ลดต่ำ�ลง ไมโครเวฟร่วมกับสุญญากาศมีค่าต่ำ�กว่า ในสภาวะที่มี
น้ำ�จึงสามารถระเหยได้ที่อุณหภูมิต� ่ำ ดังนั้นในสภาวะการ ความหนาแน่นของกำ�ลังไมโครเวฟคงที่
ทำ�แห้งที่มีออกซิเจนอยู่น้อยและอุณหภูมิต่ำ� จึงทำ�ให้การ งานวิจัยของ Therdthai และ Zhou (2009) [12]
สลายตัวของ β-carotene ลดลง รายงานว่ าใบสะระแหน่ ที่ ผ่ า นการทำ � แห้ ง ด้ ว ยคลื่ น
Yousif และคณะ (1999) [14] ศึกษาการทำ�แห้งใบ ไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ มีความสว่างและสี
โหระพา (Ocimum basilicum L.) ด้วยคลื่นไมโครเวฟ เหลืองมากกว่าการทำ�แห้งด้วยลมร้อน เนื่องจากการทำ�
ร่วมกับระบบสุญญากาศเปรียบเทียบกับการทำ�แห้งด้วย แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศใช้เวลาใน
ลมร้อนต่อสารหอมระเหย ผลการทดลองที่ได้พบว่าใบ การทำ�แห้งที่สั้นกว่า และการใช้ระบบสุญญากาศ ทำ�ให้
โหระพาที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบ อุณหภูมิของผลิตภัณฑ์มีค่าต่ำ�กว่าการทำ�แห้งด้วยลมร้อน
สุญญากาศ มีปริมาณสารหอมระเหยที่เป็นสารหลัก ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีน้อยกว่า ทั้งนี้การอบแห้งที่
2 ชนิดคือ Linalool และ Methylchavicol มากกว่า อุณหภูมิ 60 และ 70°C ให้ผลไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้อัตรา
ใบโหระพาที่ ทำ � แห้ ง ด้ ว ยลมร้ อ น และพบมากกว่ าใน การเปลี่ยนแปลงสีของผลิตภัณฑ์จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิที่
ใบโหระพาสด เนื่องจากการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ ใช้ในการทำ�แห้ง เวลาที่ใช้ในการทำ�แห้ง และปริมาณ
ร่วมกับระบบสุญญากาศ ทำ�ให้เกิดอัตราการทำ�แห้งที่ ออกซิเจนในระบบ โดยการทำ�แห้งที่ใช้อุณหภูมิสูง เวลา
รวดเร็ว จึงลดเวลาการแพร่ของสารหอมระเหยออกจาก นาน หรือการมีออกซิเจนในระบบในปริมาณมาก จะเป็น
เนื้อเยื่อ นอกจากนี้การที่ใช้ระบบสุญญากาศ จึงทำ�ให้ใน การกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีได้มากขึ้น ในกรณี
280 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555

ของใบสะระแหน่อุณหภูมิสูงจะทำ�ให้แมกนีเซียมในคลอโร และความแตกต่างระหว่างความดันไอภายในกับภายนอก
ฟิลล์หลุดออกไปและถูกแทนที่ด้วยไฮโดรเจน ทำ�ให้คลอ ผลิตภัณฑ์ จะเป็นแรงผลักดันให้น้ำ�ในผลิตภัณฑ์เคลื่อนที่
โรฟิลล์เปลี่ยนเป็น Pheophytins ซึ่งเป็นสาเหตุของการ ออกไปภายนอก ทำ�ให้ผลิตภัณฑ์เกิดการพองตัว นอกจาก
สลายตัวของคลอโรฟิลล์ ทำ�ให้สีเขียวของใบสะระแหน่ นี้การที่ระบบเป็นสุญญากาศทำ�ให้จุดเดือดของน้ำ�ลดต่ำ�
หายไป และกลายเป็นสีน้ำ�ตาล เมื่อผ่านการทำ�แห้งที่ ลง น้ำ�จึงสามารถกลายเป็นไอได้ที่อุณหภูมิต่ำ�กว่า 100°C
อุณหภูมิสูง [15] จึงเกิดการทำ�ลายโครงสร้างของผนังเซลล์น้อยกว่า เซลล์
เมื่อศึกษาผลของวิธีการต่อคุณภาพในด้านลักษณะ จึงยังคงรูปร่างไว้ได้ ด้วยเหตุนี้ผลิตภัณฑ์จึงเกิดการหด
โครงสร้างของผลิตภัณฑ์พบว่า การทำ�แห้งด้วยคลื่น ตัวเพียงเล็กน้อย ดังแสดงในรูปที่ 4 ซึ่งสังเกตเห็นได้ว่า
ไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศสามารถลดการหดตัว เห็ดที่ผ่านการทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบ
ของผลิตภัณฑ์ได้ เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟทำ�ให้โมเลกุล สุญญากาศมีโครงสร้างที่พองและมีการหดตัวน้อยกว่าเห็ด
ของน้ำ�ในผลิตภัณฑ์เกิดการสั่นสะเทือน เกิดการเปลี่ยน ที่ทำ�แห้งด้วยลมร้อน และเห็ดที่ทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ
พลังงานจลน์เป็นพลังงานความร้อนขึ้น ไอน้ำ�ที่เกิดขึ้น ร่วมกับลมร้อน
ในผลิตภัณฑ์ทำ�ให้ความดันภายในผลิตภัณฑ์เพิ่มมากขึ้น

รูปที่ 4 เห็ดที่ผ่านการทำ�แห้งด้วย (A) ลมร้อน (B) การทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับลมร้อน


และ (C) การทำ�แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศ

ในงานวิจัยของ Therdthai และ Zhou (2009) [12] เป็นรูพรุนที่มีขนาดใหญ่ กรณีของการอบแห้งด้วยตู้อบลม


รายงานว่าใบสะระแหน่ที่อบแห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วม ร้อนที่อุณหภูมิ 60 และ 70°C ทำ�ให้เกิดโครงสร้างที่อัดตัว
กับระบบสุญญากาศเกิดโครงสร้างเป็นรูพรุน (porous กันแน่น (packed structure) และอุณหภูมิทั้งสองระดับ
structure) มากกว่ า และมี ลั ก ษณะโปร่ ง มากกว่ าใบ ไม่ทำ�ให้โครงสร้างที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน และเมื่อเพิ่มกำ�ลัง
สะระแหน่ที่อบแห้งด้วยลมร้อน รูพรุนที่เกิดขึ้นเนื่องจาก ของไมโครเวฟจะทำ�ให้ rehydration rate เพิ่มขึ้น การทำ�
การเกิดไอน้ำ�ที่มีขนาดใหญ่ และเกิดการระเหยออกไป แห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟร่วมกับระบบสุญญากาศที่ใช้กำ�ลัง
อย่างรวดเร็ว ทำ�ให้โครงสร้างยังคงรูปอยู่ได้ และการเพิ่ม ของไมโครเวฟ 1920 และ 2240 W ทำ�ให้ rehydration
กำ�ลังไมโครเวฟให้มากขึ้น จะกระตุ้นให้น้ำ�กลายเป็นไอเร็ว rate สูงกว่าการทำ�แห้งด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ 60 และ
ขึ้น ทำ�ให้เกิดความดันไอมากขึ้น ส่งผลให้เกิดโครงสร้าง 70°C แต่การเพิ่มอุณหภูมิในการทำ�แห้งจาก 60 เป็น
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 281
70°C ไม่มีผลทำ�ให้ rehydration rate ของใบสะระแหน่ มีรูพรุนมากและรูพรุนมีขนาดใหญ่ขึ้น เมื่อเพิ่มกำ�ลัง
อบแห้งเพิ่มขึ้น รูปที่ 5 แสดงภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์ ไมโครเวฟให้สูงขึ้น ส่งผลให้อัตราการดูดน้ำ�กลับมากขึ้น
อิเล็กตรอนแบบส่องกราดทีแ่ สดงให้เห็นถึงโครงสร้างทีเ่ ป็น ด้วย ในขณะที่การทำ�แห้งด้วยลมร้อน มีโครงสร้างที่ค่อน
รูพรุนของใบสะระแหน่ ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการ ข้างลีบแบน มีรูพรุนน้อย ดังนั้นความสามารถในการดูด
ดูดน้�ำ กลับอย่างมีนยั สำ�คัญ การทำ�แห้งด้วยคลืน่ ไมโครเวฟ น้ำ�กลับจึงน้อยกว่า
ร่วมกับระบบสุญญากาศทำ�ให้โครงสร้างของใบสะระแหน่

รูปที่ 5 ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดของใบสะระแหน่ที่ผ่านการอบแห้งด้วยคลื่นไมโครเวฟ
ร่วมกับระบบสุญญากาศที่กำ�ลังไมโครเวฟ (A)1600 W, (B) 1920 W, (C) 2240 W
และการทำ�แห้งด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ (D) 60°C และ (E) 70°C
282 วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555

การใช้ไมโครเวฟร่วมกับการทำ�แห้งแบบสุญญากาศจึง ทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้น ปัจจัยสำ�คัญในการ


เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจสำ�หรับอาหารที่ไวต่อความ เลือกวิธีการทำ�แห้งเพื่อผสมผสานกันได้แก่ องค์ประกอบ
ร้อนเนื่องจากสามารถรักษาสารหอมระเหย สี การหดตัว ของอาหาร การเสื่อมเสียของอาหารเมื่อได้รับความร้อน
และผลิตภัณฑ์มีการคืนตัวกลับที่ดี และมีค่าใช้จ่ายต่ำ�กว่า ระยะเวลาและอัตราในการทำ�แห้ง และคุณภาพของ
การทำ�แห้งแบบแช่เยือกแข็งแต่ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี อาหารหลังอบแห้งและเมื่อคืนตัว
และการใช้ไมโครเวฟร่วมกับสุญญากาศทำ�ให้อัตราการอบ
แห้งเพิ่มขึ้น ดังนั้นเวลาในการอบแห้งจึงลดลง 8. เอกสารอ้างอิง
จากผลงานวิจยั ทีไ่ ด้ศกึ ษาสามารถสรุปได้วา่ การทำ�แห้ง 1. Kudra, T. and Mujumdar, A.S., 2009,
แบบผสมผสานมีข้อได้เปรียบกว่ากระบวนการทำ�แห้งแบบ Advanced Drying Technology 2nd ed, CRC Press
ขั้นตอนเดียวดังนี้ Taylor & Francis Group. 462 p.
• ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เช่น ลดการ 2. Borompichaichartkul, C., Luengsode, K.,
เกิดเปลือกแข็ง และการหดตัวของผลิตภัณฑ์ รักษาสี และ Chinprahast, N., and Devahastin, S., 2009, “Im-
คุณค่าทางโภชนาการ proving Quality of Macadamia Nut (Macadamia
• ลดระยะเวลาในการทำ�แห้ง integrifolia) through the Use of Hybrid Drying
• สามารถควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น Process”, Journal of Food Engineering, Vol. 93,
แต่ละช่วงได้ง่ายขึ้น pp. 348 – 353.
• การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 3. Hawlader, M.N.A, Perera, C.O., and Min Tian,
2006, “Comparison of Retention of 6-Gingerol in
ปัจจัยที่สำ�คัญในการเลือกวิธีการอบแห้งแบบผสม Drying of Ginger under Modified Atmosphere
ผสานต่อผลิตภัณฑ์อาหารหนึ่งๆ มีดังนี้ Heat Pump Drying and Other Methods”, Drying
• องค์ประกอบของอาหาร เช่น ไขมัน วิตามิน Technology, Vol. 24, pp. 51-56.
สารหอมระเหย ที่อุณหภูมิและเวลาในการทำ�แห้งมีผล 4. Phatanayindee, S., Borompichaichartkul,
• การเสื่อมเสียของอาหารเมื่อได้รับความร้อน C., Srzednicki, G., Craske, J., and Wootton, M.,
เช่น การเกิดสีน้ำ�ตาล การเกิดกลิน่ หืน เนือ้ สัมผัสแข็ง การ 2009, “Improving Volatile and Lipid Quality of
หดตัว Macadamia Nut through the Use of Hybrid Drying”
• ระยะเวลาและอัตราในการทำ�แห้ง การทำ�แห้ง Proceedings of The International Symposium
แบบผสมผสานนั้นต้องประหยัดเวลาและพลังงาน Agricultural Engineering towards Sustainable
• คุณภาพของอาหารหลังอบแห้งและเมื่อคืนตัว Agriculture in Asia (AESA 2009), 18-20 November.
เช่น สี การคืนตัวกลับ และคุณค่าทางโภชนาการ 5. Borompichaichartkul, C., Chinprahast, N,
Devahastin, S., Wiset, L., Poomsa-ad, N., and
7. สรุปผลการวิจัย Ratchapo, T., 2010, “Multistage Heat Pump Drying
เทคโนโลยีการทำ�แห้งแบบผสมผสานสามารถนำ�มา of Macadamia Nut under Modified Atmosphere”,
ใช้เพื่อแปรรูปและถนอมผลิตภัณฑ์อาหารที่ไวต่อความ Proceedings of IDS2010 – Drying 2010, 3 – 6
ร้อนได้ โดยการเลือกใช้การทำ�แห้งแบบหลายขั้นตอน ซึ่ง October, Magdeburg, Germany, pp. 1853 – 1858.
อาจจะใช้เครื่องอบแห้งชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันก็ได้ 6. Mujumdar, A.S., 2007, Handbook of Indus-
การเปลี่ยนอุณหภูมิของการทำ�แห้งในแต่ละขั้นตอน การ trial Drying, 3rd ed, CRC Press Taylor & Francis
เปลี่ยนความดัน หรือการนำ�วิธีการทำ�แห้งแบบต่างๆ มา Group.
ใช้รว่ มกัน เพือ่ ผสมผสานข้อดีของเครือ่ งอบแห้งแต่ละชนิด 7. Davahastin, S., Suvarnakuta, P., Soponronnarit,
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2555 283
S., and Mujumdar, A.S., 2004, “A Comparative International, Vol. 31, No. 2, pp. 111-117.
Study of Low-pressure Superheated Steam and 12. Arora, S., Shivhare, U.S., Ahmed, J.,
Vacuum Drying of a Heat-sensitive Material”, and Raghavan, G.S.V., 2003, “Drying Kinetics of
Drying Technology, Vol. 22, No. 8, pp. 1845-1867. Agaricus bisporus”, Transactions of the ASAE, Vol.
8. Methakhup, S., Chiewchan, N., and Davhastin, 46, No. 3, pp. 721-724.
S., 2005, “Effects of Drying Methods and Condi- 13. Therdthai, N. and Zhou, W., 2009, “Char-
tions on Drying Kinetics and Quality of Indian acterization of Microwave Vacuum Drying and Hot
Gooseberry Flake”, LWT - Food Science and Air Drying of Mint Leaves (Mentha cordifolia Opiz
Technology, Vol. 38, pp. 579-587. ex Fresen)”, Journal of Food Engineering, Vol. 91,
9. Barbieri, S., Elustondo, M., and Urbicain, pp. 482-489.
M., 2004, “Retention of Aroma Compounds in 14. Yousif, A.N., Scaman, C.H., Durance, T.D.,
Basil Dried with Low Pressure Superheated and Girard, B., 1999, “Flavor Volatiles and Physical
Steam”, Journal of Food Engineering, Vol. 65, pp. Properties of Vacuum-Microwave- and Air-Dried
109-115. Sweet Basil (Ocimum basilicum L.)” Journal of
10. Suvarnakuta, S., Davahastin, S., and Mu- Agricultural and Food Chemistry, Vol. 47, pp.
jumdar, A.S, 2005, “Drying Kinetics and β-carotene 4777- 4781.
Degradation in Carrot Undergoing Different Drying 15. Rudra, S.G., Singh, H., Basu, S., and Shivhare,
Processes”, Journal of Food Science, Vol. 70, No. U.S., 2008, “Enthalpy Entropy Compensation
8, pp. 520-526. during Thermal Degradation of Chlorophyll in
11. Lin, T.M., Durance, T.D., and Scaman, C.H., Mint and Coriander Puree”, Journal of Food
1998, “Characterization of Vacuum Microwave, Air Engineering, Vol. 86, pp. 379-387.
and Freeze Dried Carrot Slices”, Food Research

You might also like