You are on page 1of 3

(สำหรับคณะอนุกรรมการตรวจรับผลงานฯ)

แบบประเมินผลงานการศึกษาหลักนิยมต่างประเทศ ประจำปี 2564


เรื่อง ...................ADP 6 – 22 Army Leadership and The Profession, July 2019 (พ.ศ. 2562)......................................
ดำเนินการศึกษาโดย....................พ.อ.โสฬร รัตนผ่องใส....................................... สังกัด..................รร.จปร. ..............................
ก. ขอบเขตการประเมินผลงานการศึกษาหลักนิยมต่างประเทศ
หัวข้อรายการประเมิน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ข้อเสนอแนะ
1. ชื่อเรื่องภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ถ้ามี) 2 1 เนื้อหาของเอกสารต้นฉบับไม่ได้กล่าวถึงเรื่องการ
ทำให้กำลังพลเป็นผู้เชี่ยวชาญ
2. สารบัญสอดคล้องกับเนื้อหาภายในเล่ม 3 3 -
3. การเรียบเรียงเนื้ อหามีความสอดคล้องกัน 20 20 -
อ่านทำความเข้าใจได้ง่าย
4. การใช้ คำหรื อสำนวนในลัก ษณะของหลัก 20 15 บางส่วนควรปรับปรุงเรียบเรียงใหม่เพื่อให้เข้าใจ
ภาษาไทย สอดคล้องกับบริบทของ ทบ. ได้ง่ายขึ้นตามหลักภาษาไทยและสอดคล้องกับ
บริบทของ ทบ. (ดูข้อเสนอแนะเพิ่มเติมข้อ 1-2)
5. ประเด็ น ใจความสำคัญ ถูก ต้อง ครบถ้วน 20 18 มีความเข้าใจในคำศัพท์ที่คลาดเคลื่อนไม่ตรงกับ
ตามต้นฉบับ และรูปภาพคมชัด (ถ้ามี) บริบทของเนื้อหาบางส่วน (ดูข้อเสนอแนะ
เพิ่มเติมข้อ 3)
6. การนำไปใช้ ป ระโยชน์ อ้ างอิ ง ในการฝึ ก 15 15 -
ศึกษา และการปฏิบัติการทางทหาร
7. ความทั น สมั ย ทางวิ ท ยาการ / มี ค วาม 10 9 เอกสารต้นฉบับเผยแพร่เมื่อปี 2562
จำเป็นต้องศึกษาเรียนรู้ ปัจจุบันอาจจะมีการปรับปรุงแนวคิดบางอย่าง
บ้างแล้ว แต่ก็ยังไม่ล้าสมัยและมีความจำเป็นต้อง
ศึกษาเรียนรู้
8. ความเหมาะสมในการพัฒนาต่อยอด 10 10 ก่อนที่จะนำไปพัฒนาต่อยอดควรปรับการใช้คำ/
เป็นหลักนิยมหรือเอกสารเผยแพร่ความรู้แก่ สำนวนให้สอดคล้องกับบริบทของ ทบ. และ
กำลังพลใน ทบ. หลักการใช้ภาษาไทย และเสริมอัตลักษณ์ของ
ทบ. ไทย รวมทั้งวัฒนธรรมองค์กรเข้าไปใน
เนื้อหาเพื่อให้กลมกลืนและเหมาะสมยิ่งขึ้น
รวมคะแนน 100 91
ข. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1. ควรกำหนดความหมายของคำศัพ ท์ บ างคำให้ เหมาะสมสอดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของ ทบ. และใช้ ให้ เหมื อ นกั น ทั้ งเอกสาร
ยกตัวอย่างเช่น
- คำว่า profession ในบริบทของเอกสารต้นฉบับน่าจะสื่อถึง ความเป็นมืออาชีพ อาชีพ วิชาชีพ (เนื้อหากล่าวถึงการสร้าง
ภาวะผู้ น ำและการทำให้ก ำลังพลเป็น ทหารแบบมือ อาชี พ ) ไม่ได้ สื่อถึง การทำให้ก ำลั งพลเป็ น ผู้ เชี่ ย วชาญ หรือ ผู้เชี่ ยวชาญ
(expertise, specialist)
- คำว่า character ในที่นี้ น่ าจะหมายถึง คุณ สมบั ติ ของบุ คคล หรื อ คุณ ลั ก ษณะ ไม่ น่ าจะหมายถึง บุ คลิ ก ซึ่ งแปลเป็ น
ภาษาอังกฤษว่า personality นอกจากนี้ยังพบว่าในการแปลบางส่วนก็ใช้คำว่า “บุคลิก” บางส่วนก็ใช้คำว่า “คุณสมบัติ”
- คำว่า decision พบว่าการแปลส่วนใหญ่ใช้คำว่า “การตัดสินใจ” แต่มีบางส่วนที่ใช้คำว่า “การตกลงใจ”
- คำว่า model พบว่าส่วนใหญ่ใช้คำว่า “ตัวแบบ” แต่มีบางส่วนที่ใช้คำว่า “ต้นแบบ”

-2-

2. ควรตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของคำบางคำที่ แปลมาจากเอกสารต้ น ฉบั บ ว่ าสอดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของ ทบ. ไทยหรื อ ไม่
ยกตัวอย่างเช่ น ระดั บของผู้น ำหน่ วย (ผู้น ำโดยตรง, ผู้น ำระดับยุท ธการ และผู้น ำระดับยุท ธศาสตร์) และคำว่า วิ ชาชี พ ของ
กองทัพบก เป็นต้น
3. การแปลไม่จำเป็นต้องถอดข้อความเป็นรายคำ สามารถตัดหรือเพิ่มเติมบางส่วนและเรียบเรียงใหม่ให้เป็นภาษาไทยที่อ่านแล้ว
เข้าใจตรงกับความหมายที่เอกสารต้นฉบับภาษาอังกฤษต้องการสื่อถึง และมีความสละสลวยกว่า ยกตัวอย่างเช่น
- คำว่า Army Leadership Requirements Model ต้ นฉบับแปลว่า ต้น แบบความต้องการภาวะผู้นำกองทัพบก ควรจะ
แปลว่า “ต้นแบบภาวะผู้นำที่กองทัพบกต้องการ”
- คำว่า Counterproductive Leadership ต้นฉบับแปลว่า “ภาวะผู้นำซึ่งให้ผลตรงข้าม” ซึ่งในเนื้อหาของเอกสารต้นฉบับ
ภาษาอังกฤษน่าจะสื่อความหมายว่า พฤติกรรมที่ต่อต้านภาวะผู้นำ/พฤติกรรมที่ภาวะผู้นำไม่ควรมี หรือ ลักษณะที่ไม่พึงประสงค์
ของการเป็นผู้นำ/ภาวะผู้นำ เสนอแนะให้พิจารณาหาคำอื่นมาทดแทน

ค. สรุปการประเมินคุณภาพผลงานการศึกษาหลักนิยมต่างประเทศ พิจารณาแล้วเห็นว่า (ให้ใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่อง


ที่เลือก 1 ตัวเลือก)
ระดับคุณภาพของผลงาน
√ 90-100 ดีเยีย่ ม 80-89 ดีมาก 70-79 ดี 60-69 พอใช้ ต่ำกว่า 60 ควรปรับปรุง

สรุปผลการประเมินผลงานการศึกษาหลักนิยมต่างประเทศ
ผ่าน แบบไม่ต้องมีการปรับแก้ผลงาน
√ ผ่าน แบบมีเงื่อนไข ให้ปรับแก้ผลงานตามข้อเสนอแนะ และส่งผลงานให้ ศพย.ยศ.ทบ. ตามกำหนด
ไม่ผ่าน ระบุเหตุผล..............................................................................................................................................................

ลงชื่อ พ.อ.หญิง.........................................................ผู้ประเมิน/คณะอนุกรรมการฯ
( ณฐวรรณ ไกรฤทธิ์ )
รอง ผอ.ศภษ.ยศ.ทบ.
6 ก.ย. 64

You might also like