You are on page 1of 9

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางของ Backward Design

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง คำเชื่อม...สะพานประสานความหมาย


รหัส-ชื่อรายวิชา ท ๑๕๑  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรียน ๔
ชั่วโมง
ผู้สอน ............................................................. โรงเรียน
.................................................

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๔.๑ ป. ๕/๑ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค

สาระสำคัญ

คำเชื่อมใช้เชื่อมคำ กลุ่มคำ หรือประโยคเข้าด้วยกัน ซึ่งมีหลายชนิด


การใช้เพื่อสื่อความหมายต้องเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม

ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding)

นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า คำเชื่อมใช้เชื่อมคำ กลุ่มคำ หรือประโยคเข้าด้วยกัน ซึ่งมีหลายชนิด


การใช้เพื่อสื่อความหมายต้องเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม

สาระการเรียนรู้

คำเชื่อม
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
- ทักษะการอ่าน
- ทักษะการเขียน
- ทักษะการฟัง การดู และการพูด
๒. ความสามารถในการคิด
- การให้เหตุผล
- การวิเคราะห์
- การสังเคราะห์
- การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ
- การประยุกต์/การปรับปรุง
- การสรุปความรู้
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
ตัวชี้วัดที่ ๖.๒ ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้ าหมาย
รักความเป็ นไทย
ตัวชี้วัดที่ ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

๑. ใบงาน เรื่อง การระบุชนิดและหน้าที่ของคำเชื่อมในประโยค


๒. แผนภาพความคิดสรุปความรู้เรื่อง คำเชื่อม
การประเมินผล

การประเมินผลตัวชี้วัด
ใบงานที่ ๒ เรื่อง การระบุชนิดและหน้าที่ของคำเชื่อมในประโยค
ระดับคะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
เกณฑ์การประเมิน
การระบุชนิด บอกคำเชื่อม บอกคำเชื่อม บอกคำเชื่อม บอกคำเชื่อม
และหน้าที่ของ ในประโยค ในประโยค ในประโยคได้ ในประโยคได้
คำเชื่อม และระบุชนิด และระบุชนิด ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้องทุกข้อ
ในประโยค ของคำเชื่อมได้ ของคำเชื่อมได้ แต่ไม่สามารถ แต่ไม่สามารถ
ถูกต้องทุกข้อ ถูกต้องทุกข้อ ระบุชนิด ระบุชนิดของ
อย่างแม่นยำ แม้บางข้อ ของคำเชื่อม คำเชื่อมได้
จะมีความลังเล บางข้อได้

การประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)
๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ไม่ตั้งใจเรียน
๔.๑.๒ เอาใจใส่และ และมีความเพียร- และมีความเพียร- และมีความเพียร-
มีความเพียรพยายาม พยายามในการเรียนรู้ พยายามในการเรียนรู้ พยายามในการเรียนรู้
ในการเรียนรู้ เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
การเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นประจำ บ่อยครั้ง บางครั้ง

มุ่งมั่นในการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)
๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตั้งใจปฏิบัติ
หน้าที่ที่ได้รับ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
มอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบใน ให้สำเร็จ มีการ ให้สำเร็จ มีการ ให้สำเร็จ
การทำงานให้สำเร็จ ปรับปรุงและ ปรับปรุงการทำงาน
๖.๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนา พัฒนาการทำงาน ให้ดีขึ้น
การทำงานด้วยตนเอง ให้ดีขึ้นด้วยตนเอง

ตัวชี้วัดที่ ๖.๒ ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้ าหมาย


พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)
๖.๒.๑ ทุ่มเททำงาน อดทน ทำงานด้วย ทำงานด้วย ทำงานด้วย ไม่ขยัน อดทน
ไม่ย่อท้อต่อปัญหา ความขยัน อดทน ความขยัน อดทน ความขยัน พยายาม ในการทำงาน
และอุปสรรค ไม่ย่อท้อต่อปัญหา พยายามให้งาน ให้งานสำเร็จตามเป้ า
ในการทำงาน ในการทำงาน สำเร็จตามเป้ าหมาย หมาย
๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหา พยายามให้งาน ชื่นชมผลงานด้วย
และอุปสรรคใน สำเร็จตามเป้ าหมาย ความภาคภูมิใจ
การทำงานให้สำเร็จ ชื่นชมผลงานด้วย
๖.๒.๓ ชื่นชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจ

รักความเป็ นไทย
ตัวชี้วัดที่ ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)
๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและ ใช้ภาษาไทย เลขไทย ใช้ภาษาไทย เลขไทย ใช้ภาษาไทย เลขไทย ไม่สนใจใช้ภาษาไทย
เลขไทยในการสื่อสาร ในการสื่อสารได้ถูก ในการสื่อสารได้ถูก ในการสื่อสาร อย่างถูกต้อง
ได้อย่างถูกต้อง ต้องเหมาะสม ต้องเหมาะสม แนะนำให้ผู้อื่น
เหมาะสม แนะนำให้ผู้อื่น แนะนำให้ผู้อื่น ใช้ภาษาไทย
๗.๒.๒ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่น ใช้ภาษาไทย ใช้ภาษาไทย ที่ถูกต้อง
เห็นคุณค่าของการใช้ ที่ถูกต้องเป็นประจำ ที่ถูกต้อง
ภาษาไทยที่ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดี
ด้านการใช้ภาษาไทย

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

๑. ให้นักเรียนอ่านข้อความ ๒ ข้อความ ที่แสดงความเป็นเหตุเป็นผลกัน แล้วร่วมกัน


บอกคำเชื่อมข้อความที่เหมาะสม
๒. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง คำเชื่อม
๓. ให้นักเรียนคิดคำเชื่อมเติมลงในประโยคให้มีความหมายสมบูรณ์ อ่านข้อความที่ใช้คำ
เชื่อมไม่ถูกต้องจากบัตรข้อความ แล้วร่วมกันแก้ไขให้ถูกต้อง
๔. ให้นักเรียนดูภาพที่ครูกำหนด ร่วมกันแต่งประโยคที่มีคำเชื่อมให้สัมพันธ์กับภาพ จาก
นั้นร่วมกันบอกชนิดของคำเชื่อม
๕. ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์การแสดงความหมายของคำเชื่อมในประโยคต่าง ๆ
๖. ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ ลักษณะของการใช้คำเชื่อมเชื่อมคำ กลุ่มคำ และประโยค
๗. ให้นักเรียนทำใบงานที่ ๒ เรื่อง การระบุชนิดและหน้าที่ของคำเชื่อมในประโยค จากนั้น
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
๘. ให้นักเรียนร่วมกันอ่านข้อความที่ใช้คำเชื่อมเพื่อให้ข้อคิดเตือนใจ แล้วร่วมกันสนทนา
เกี่ยวกับประโยชน์คำเชื่อม
๙. ให้นักเรียนแต่งประโยคที่ให้ข้อคิดเตือนใจโดยใช้คำเชื่อมต่าง ๆ คนละ ๒ ประโยค
แล้วตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

๑๐. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้


คำเชื่อมใช้เชื่อมคำ กลุ่มคำ หรือประโยคเข้าด้วยกัน ซึ่งมีหลายชนิด
การใช้เพื่อสื่อความหมายต้องเลือกใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม
๑๑. ให้นักเรียนเขียนแผนภาพความคิดสรุปความรู้เรื่อง คำเชื่อม แล้วร่วมกันตรวจสอบความ
ถูกต้อง

สื่อการเรียนรู้
๑. ภาพ
๒. แถบประโยค
๓. บัตรคำ
๔. ฉลาก
๕. กระดาษสำหรับทำกิจกรรม
๖. ใบงานที่ ๒
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ได้__________คะแนน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
ชื่อ_____________________ นามสกุล_____________________ เลขที่________ ชั้น________
ให้นักเรียนระบุคำเชื่อมในประโยค และวิเคราะห์หน้าที่ของคำเชื่อมนั้น
(ข้อละ ๒ คะแนน)
๑. คุณยายอาจจะกำลังอ่านหนังสือหรือสวดมนต์อยู่ในห้อง
คำเชื่อม คือ
ทำหน้าที่

๒. ฉันชอบรับประทานผลไม้แต่ไม่ชอบรับประทานผัก
คำเชื่อม คือ
ทำหน้าที่

๓. แตงโมและสับปะรดนำมาทำเครื่องดื่มได้
คำเชื่อม คือ
ทำหน้าที่

๔. หมู่บ้านนี้มีบ้านสวยราคาถูกแต่อยู่ในทำเลไม่ดี เดินทางไม่สะดวก
คำเชื่อม คือ
ทำหน้าที่

๕. สุวัฒน์ประสบความสำเร็จในการทำงานอย่างรวดเร็ว เพราะเขาเป็นคนขยัน
คำเชื่อม คือ
ทำหน้าที่

ได้__________คะแนน
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน

ชื่อ_____________________ นามสกุล_____________________ เลขที่________ ชั้น________


ให้นักเรียนระบุคำเชื่อมในประโยค และวิเคราะห์หน้าที่ของคำเชื่อมนั้น
(ข้อละ ๒ คะแนน)

๑. ฉันชอบรับประทานผลไม้แต่ไม่ชอบรับประทานผัก
คำเชื่อม คือ__________________________________________
ทำหน้าที่ ______________________________________________

๒. คุณยายอาจจะกำลังอ่านหนังสือหรือสวดมนต์อยู่ในห้อง
คำเชื่อม คือ__________________________________________
ทำหน้าที่ ______________________________________________

๓. แตงโมและสับปะรดนำมาทำเครื่องดื่มได้
คำเชื่อม คือ__________________________________________
ทำหน้าที่ ______________________________________________

๔. สุวัฒน์ประสบความสำเร็จในการทำงานอย่างรวดเร็วเพราะเขาเป็นคนขยัน
คำเชื่อม คือ__________________________________________
ทำหน้าที่ ______________________________________________

๕. หมู่บ้านนี้มีบ้านสวยราคาถูกแต่อยู่ในทำเลไม่ดี เดินทางไม่สะดวก
คำเชื่อม คือ__________________________________________
ทำหน้าที่ ______________________________________________
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) เรื่อง คำเชื่อม...สะพานประสานความหมาย
1. หรือ เชื่อมคำ
2. แต่ เชื่อมกลุ่มคำ
3. และ เชื่อมคำ
4. แต่ เชื่อมกลุ่มคำ
5. เพราะ เชื่อมประโยค
นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร หลัง
จากที่เรียนหน่วยการเรียนรู้นี้
แล้ว
นักเรียนยังไม่เข้าใจเรื่องใดอีกบ้าง .......................................
ที่เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้นี้ ....................................... นักเรียนได้รับความรู้เรื่องใดบ้าง
ซึ่งต้องการให้ครูอธิบายเพิ่มเติม ....................................... จากหน่วยการเรียนรู้นี้
.......................................... .
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) เรื่อง คำเชื่อม...สะพานประสานความหมาย
.......................................
.......................................... .......................................
1. แต่ เชื่อมกลุ่มคำ .......................................
.......................................... .................... .......................................
2. หรือ
.......................................... เชื่อมคำ
.......................................
.................... 3. และ เชื่อมคำ
.....................
4. เพราะ เชื่อมประโยค .......................................
5. แต่ เชื่อมกลุ่มคำ ....................
หน่วยการเรียนรู้
ที่ ..............................
.................................
........................

นักเรียนจะสามารถนำความรู้ นักเรียนได้ทำกิจกรรมอะไรบ้าง
ความเข้าใจจากหน่วยการเรียนรู้นี้ ในหน่วยการเรียนรู้นี้
ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน .......................................
ได้อย่างไรบ้าง ...................
.......................................... ผลงานที่นักเรียนชอบและต้องการ .......................................
.......................................... ...................
คัดเลือกเป็นผลงานดีเด่นจาก .......................................
.......................................... หน่วยการเรียนรู้นี้คือผลงานใดบ้าง
.......................................... ...................
..........................................
เพราะอะไร .......................................
......................................... .......................................... ...................
.......................................... .......................................
......................................... ...................

แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน

๑. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้เป็นหลักฐานและข้อมูลเพื่อปรับปรุง และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
๒. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้ประกอบการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อเป็นผลงานประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได้
ชื่อ-นามสกุล...................................... เลขที่ ............................................ ชั้น ..................................
วันที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. ...................
คำชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้นี้

หมายเหตุ ให้ครูสำเนาแบบบันทึกนี้เพื่อให้นักเรียนบันทึกทุกหน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้เป็นหลักฐานและข้อมูลเพื่อปรับปรุง และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
2. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้ประกอบการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อเป็นผลงานประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได้

You might also like