You are on page 1of 7

◙ 321211 Linear Algebra I

1.6 ความเป็ นอิสระเชิงเส้ น (Linearly Independent)

บทนิยาม 1.6.1 ให้ S  {v1, v2 ,..., vr } เป็ นสับเซต ที่ไม่ว่าง ของปริ ภูมิเวกเตอร์ V จะกล่าวว่า
S เป็ นอิสระเชิงเส้ น ก็ต่อเมื่อ มีสมบัติว่า ถ้า a1v1  a2v2  ...  ar vr  0 แล้ว
a1  a2  ...  ar  0

จากนิยามจะเห็นว่า การที่ S  {v1, v2 ,..., vr } จะเป็ นอิสระเชิงเส้นนั้น ต้องมีเงื่อนไขว่า


สเกลาร์ที่จะทาให้ผลรวมเชิงเส้นเป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ได้น้ นั จะต้องเป็ นศูนย์ท้งั หมดเท่านั้น แต่ถา้ มี
สเกลาร์บางตัวไม่เป็ นศูนย์ แต่สามารถทาให้ผลรวมเชิงเส้นเป็ นเวกเตอร์ศนู ย์ได้ จะกล่าวว่า
S  {v1 , v2 ,..., vr } ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้นตามหมายเหตุต่อไปนี้

หมายเหตุ ให้ S  {v1 , v2 ,..., vr } เป็ นสับเซต ที่ไม่ว่าง ของปริ ภูมิเวกเตอร์ V จะกล่าวว่า
S ไม่ เป็ นอิสระเชิงเส้ น ก็ต่อเมื่อ มีสมบัติว่า มี ai บางตัวที่ ai  0 ที่ทาให้
a1v1  a2v2  ...  ai vi  ...  ar vr  0

ตัวอย่าง 1.6.1 ให้ S  {(1,1),(1, 2)} จงพิจารณาว่า S เป็ นอิสระเชิงเส้นใน 2 หรื อไม่
วิธีทา สมมุติให้ av1  bv2  0
แสดงว่า a(1,1)  b(1, 2)  (0,0)
(a, a)  (b, 2b)  (0,0)
(a  b, a  2b)  (0,0)
จะได้ระบบสมการเป็ น
a  b  0 .........(1)
a  2b  0.........(2)
โดยการแก้ระบบสมการจะได้ว่า a  0 และ b0
ดังนั้น S  {(1,1),(1, 2)} เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

1. Vector Space 1.6 Linearly Independent ◙ W.T.Math.KKU 30


◙ 321211 Linear Algebra I

ตัวอย่าง 1.6.2 ให้ S  {(1,1),(2, 2)} จงพิจารณาว่า S เป็ นอิสระเชิงเส้นใน 2 หรื อไม่

วิธีทา
สมมุติให้ av1  bv2  0
แสดงว่า a(1,1)  b(2, 2)  (0,0)
(a, a)  (2b, 2b)  (0,0)
(a  2b, a  2b)  (0,0)
จะได้ระบบสมการเป็ น
a  2b  0 .........(1)
a  2b  0.........(2)
โดยการแก้ระบบสมการจะได้ว่าถ้า b   จะได้ a  2b
แสดงว่า มี a  0 ที่ทาให้ av1  bv2  0
ดังนั้น S  {(1,1),(2, 2)} ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

ตัวอย่าง 1.6.3 ให้ S  {(1,0),(0,1)} จงพิจารณาว่า S เป็ นอิสระเชิงเส้นใน 2 หรื อไม่

วิธีทา
สมมุติให้ av1  bv2  0
แสดงว่า a(1,0)  b(0,1)  (0,0)
(a,0)  (0, b)  (0,0)
(a, b)  (0,0)
จะเห็นว่า
a0 และ b0
ดังนั้น S  {(1,1),(1, 2)} เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

1. Vector Space 1.6 Linearly Independent ◙ W.T.Math.KKU 31


◙ 321211 Linear Algebra I

ตัวอย่าง 1.6.4 ให้ S  {v1 , v2 , v3} เมื่อ v1  (1, 2,3), v2  (5,6, 1), v3  (3, 2,1)
จงพิจารณาว่า S เป็ นอิสระเชิงเส้นใน 3 หรื อไม่
วิธีทา สมมุติให้ av1  bv2  cv3  0
ดังนั้น a(1, 2,3)  b(5,6, 1)  c(3, 2,1)  (0,0,0)
(a  5b  3c, 2a  6b  2c,3a  b  c)  (0,0,0)
จะได้ระบบสมการเป็ น
…….(1)
a  5b  3c  0
2a  6b  2c  0 …….(2)
3a  b  c  0 …….(3)
พิจารณาการแก้ระบบสมการ โดยใช้ Gaussian Elimination
 1 5 3 : 0 1 5 3 : 0
 2 6 2 : 0  
2 R1  R2  8 : 0 
  3 R1  R3  0 16
 3 1 1 : 0  0 16 8 : 0 
1 15 3 : 0 
 0
R2  R3
16 8 : 0 
0 0 0 : 0 
จาก R3 : 0(a)  (0)b  (0)c  0 ให้
c  k , k 
8k 1
จาก R2 : 16b  8c  0 ดังนั้น b   k
16 2
1 5 1
จาก R1 : a  5b  3c  0 ดังนั้น a  5( k )  3(k )  k  3k   k
2 2 2
แสดงว่า มี a, b, c ไม่เป็ นศูนย์ท้งั หมด ที่ทาให้
av1  bv2  cv3  0
ดังนั้น S  {v1 , v2 , v3} ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

หมายเหตุ เราอาจตรวจสอบได้จากการหาดีเทอร์มินนั ท์ ของเมทริ กซืสมั ประสิทธิ์ A ของ


ระบบสมการก็ได้ ซึ่งอาจเป็ นไปได้ใน 2 กรณี ต่อไปนี้
(1) ถ้า det A  0 แสดงว่า มีผลเฉลยที่ไม่เป็ นศูนย์ท้ งั หมด และทาให้สรุ ปได้ว่า
ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้น
(2) ถ้า det A  0 แสดงว่า มีผลเฉลยที่เดียวเท่านั้น คือ เป็ นศูนย์ท้ งั หมด และทาให้
สรุ ปได้ว่า เป็ นอิสระเชิงเส้น

1. Vector Space 1.6 Linearly Independent ◙ W.T.Math.KKU 32


◙ 321211 Linear Algebra I

ตัวอย่าง 1.6.5 ให้ S  {v1 , v2 , v3} เมื่อ v1  (1, 2,3), v2  (5,6, 1), v3  (3, 2,1)
จงพิจารณาว่า S เป็ นอิสระเชิงเส้นใน 3 หรื อไม่
วิธีทา สมมุติให้ av1  bv2  cv3  0
ดังนั้น a(1, 2,3)  b(5,6, 1)  c(3, 2,1)  (0,0,0)
(a  5b  3c, 2a  6b  2c,3a  b  c)  (0,0,0)
จะได้ระบบสมการเป็ น
a  5b  3c  0 …….(1)
2a  6b  2c  0 …….(2)
3a  b  c  0 …….(3)

จะเห็นว่า เมทริ กซ์สมั ประสิทธิ์ คือ


1 5 3
A   2 6 2 
 3 1 1 
1 5 3 1 5
และ det A  2 6 2 2 6  6  30  6  54  2  10  0
3 1 1 3 1
แสดงว่ามีผลเฉลยที่ไม่เป็ นศูนย์ทุกตัว
ดังนั้น S  {v1 , v2 , v3} ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

ในการศึกษาการเป็ นอิสระเชิงเส้น นอกจากการตรวจสอบโดยใช้บทนิยามแล้ว เราควรทราบ


ถึงสมบัติที่สาคัญบางประการตามทฤษฎีบทที่จะกล่าวดังต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 1.6.1 ให้ S  {v1, v2 ,..., vr } เป็ นสับเซตที่ไม่ว่าง ของปริ ภูมิเวกเตอร์ V จะได้ว่า S
ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้น ก็ต่อเมื่อ มีเวกเตอร์ใดเวกเตอร์หนึ่งใน S ที่สามารถเขียนในรู ปผลรวมเชิงเส้น
ของเวกเตอร์อื่นใน S ได้

เราสามารถทาความเข้าใจทฤษฎีบทดังกล่าวได้จากการพิจารณาดังต่อไปนี้
ให้ S  {v1 , v2 , v3 , v4 ,..., vr }  V
และ a1v1  a2v2  a3v3  ...  ar vr  0 ………………(1)

1. Vector Space 1.6 Linearly Independent ◙ W.T.Math.KKU 33


◙ 321211 Linear Algebra I

ถ้า v4 สามารถเขียนในรู ปผลรวมเชิงเส้นของ v1 และ v2 ได้ โดยที่


v4  b1v1  b2v2
โดยที่ b1  0 และ b2  0
ดังนั้น a1v1  a2v2  a3v3  a4 (b1v1  b2v2 )  ...  ar vr  0
เลือก a1  a4b1 และ a2  a4b2 จะได้ว่า
a4b1v1  a4b1v2  0(v3 )  a4 (b1v1  b2v2 )  ...  0(vr )  0
แสดงว่า S  {v1 , v2 ,..., vr } ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

ทฤษฎีบท 1.6.2 ให้ S  {v1 , v2 ,..., vm} สแปนปริ ภูมิเวกเตอร์ V จะได้ว่า


1. ถ้า w V แล้ว {w, v1, v2 ,..., vm} จะสแปนปริ ภูมิเวกเตอร์ V แต่ไม่เป็ น
อิสระเชิงเส้น

S
v1 , v2 ,..., vm V
w

2. ถ้า vk V เป็ นผลรวมเชิงเส้นของ v1 , v2 ,..., vk 1 แล้ว


{v1 , v2 ,..., vk 1 , vk 1 ,..., vm } จะสแปน V ด้วย

ทฤษฎีบท 1.6.3 ให้ S  {v1 , v2 ,..., vm} มีสบั เซต {v1 , v2 ,..., vr } ที่ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้น แล้ว
S จะไม่เป็ นอิสระเชิงเส้นด้วย
ทฤษฎีดงั กล่าวสามารถเห็นได้ชดั จากแผนภาพ

S
V
v1 , v2 ,..., vr
vr 1 ,..., vm

1. Vector Space 1.6 Linearly Independent ◙ W.T.Math.KKU 34


◙ 321211 Linear Algebra I

ตัวอย่าง 1.6.6 ให้ f ( x)  sin x และ g ( x)  cos x


จงพิจารณาว่า S  { f ( x), g ( x)} เป็ นอิสระเชิงเส้นใน  หรื อไม่

วิธีทา ให้ af ( x)  bg ( x)  0
a sin x  b cos x  0 …………(1)
โดยการหาอนุพนั ธ์ของ (1) จะได้
a cos x  b sin x  0 …………(2)

เมทริ กซ์สมั ประสิทธิ์ของระบบสมการคือ


 sin x cos x 
A 
cos x  sin x 
และ
 sin x cos x 
det A      sin 2 x  cos 2 x
cos x  sin x 
  (sin 2 x  cos 2 x)
 1  0
แสดงว่า S  {cos x,sin x} เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

ตัวอย่าง 1.6.7 ให้ p1 ( x)  x 2  2 x  3 , p2 ( x)  2 x 2  x  8 และ p3 ( x)  x 2  8x  7


เป็ นอิสระเชิงเส้นใน P2 หรื อไม่

วิธีทา สมมุติให้ a( x2  2 x  3)  b(2 x2  x  8)  c( x 2  8x  7)  0


(a  2 x  3)  b(2a  b  8c) x  (3a  8b  7c)  0 x 2  ax  0
จะได้ระบบสมการเป็ น

a  2b  c  0 ………………(1)
2a  b  8c  0 ………………(2)
3a  8b  7c  0 ………………(3)

เมทริ กซ์สมั ประสิทธิ์ของระบบสมการ คือ

1. Vector Space 1.6 Linearly Independent ◙ W.T.Math.KKU 35


◙ 321211 Linear Algebra I

 1 2 1
A   2 1 8 
 3 8 7 
และจากการหาดีเทอร์มินนั ต์ จะได้ว่า
1 2 1 1 2
det A  2 1 8 2 1  7  48  16  3  64  28
3 8 7 3 8
 83  83  0
แสดงว่า S  { p1 ( x), p2 ( x), p3 ( x)} เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

ตัวอย่าง 1.6.8 f ( x )  e x , g ( x)  e  x เป็ นอิสระเชิงเส้นหรื อไม่


ให้ ae x  be x  0

ae x  be x  0
e x e x
a x x
  e0  e0   1  1   2  0
e e
แสดงว่าเป็ นอิสระเชิงเส้น
วิธีทา ให้ af ( x)  bg ( x)  0
ae x  be x  0 …………(1)
โดยการหาอนุพนั ธ์ของ (1) จะได้
ae x  be x  0 …………(2)

เมทริ กซ์สมั ประสิทธิ์ของระบบสมการคือ


e x e x 
A x 
e e  x 
และ
ex e x
det A  x x
  e0  e0   1  1   2  0
e e
แสดงว่า S  {e x , e x } เป็ นอิสระเชิงเส้น ■

1. Vector Space 1.6 Linearly Independent ◙ W.T.Math.KKU 36

You might also like