You are on page 1of 26

อาการอันไม่ พงึ ประสงค์

จากการใช้ กญ
ั ชาหรื อผลิตภัณฑ์ กญ
ั ชา

นพ.เฉลิมพล ไชยรัตน์
กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์
รหัสโรค ICD 10
Principle diagnosis
T407 : cannabis(derivatives)
[poisoning by, adverse effect of and underdosing of cannabis]

External cause
・X42_ _ : accidental(ไม่ได้ตั้งใจได้รับสาร)
・X62_ _ : intentional self-harm(ตั้งใจทาร้ายตนเอง)
・Y12_ _ : undetermined intent(ไม่ทราบเจตนา)
・Y496 : adverse effect in therapeutic use(ผลข้างเคียงจากการรักษา)
้ปวยใน
ผู ้ป
ผู้วยนอก รวม
250
Policy ผู้ป่วยได้ รับอาการไม่ พงึ
200 190 ประสงค์ จากการใช้
217 ผลิตภัณฑ์ กญ ั ชา(T407)
147 144
150
ผู้ป่วยใน 485 ราย
100 83 106 108109 87 ผู้ป่วยนอก 531 ราย
Baseline เดิม 84 81
รวม 1,016 ราย
7473
50 39 63
28 22 28 47
15 16 4142 40
5 10 1414 97 17 5 1315 2316
0
ตค 61 พย 61 ธค 61 มค 62 กพ 62 มีค 62 เมย 62 พค 62 มิย 62 กค 62 สค 62 กย 62
้ปวยใน
ผู ้ป
ผู้วยนอก รวม
120
ผู้ป่วยได้รับอาการไม่พึง
100 97 COVID-19 ประสงค์จากการใช้
89 91

76
83 ผลิตภัณฑ์กัญชา(T407)
80
65
60 52 ผู้ป่วยใน 289 ราย
51 54 ผู้ป่วยนอก 292 ราย
40 47 45
42 40 39 37
43
38 28 รวม 581 ราย
32 33 31
20
21
13 15
0
ตค 62 พย 62 ธค 62 มค 63 ก.พ. 63 มีค 63 เมย 63 พค 63
Palpitation
Dizziness
Vomiting
Dry mouth
Near syncope
Alteration of conscious
Dysarthria
Side effect
Paresthesia
Seizure
symptom
Suspected อาการอันไม่พึงประสงค์

Triage Level 1-3 ไม่ใช่ OPD ทัว่ ไป


ซักประวัติและตรวจร่ างกาย
ใช่ การประเมินและดูแลรักษาเบื้องต้นที่หอ้ ง ไม่ใช่
ฉุกเฉิน พบอาการไม่คงที่
Resuscitation แล้วอาการคงที่

ไม่ใช่ ใช่
Admit ICU Admit med Observe ER

Resuscitation and Supportive treatment Supportive และสังเกตอาการ 4-12 ชัว่ โมง


supportive treatment

อาการผูป้ ่ วยคงที่ วางแผนจาหน่าย

Counseling team รายงาน ADR


ไม่ใช่ ใช่
จาหน่าย Continue ผลิตภัณฑ์เดิม Follow up คลินิกกัญชา
มีประวัติการใช้ กญ
ั ชาหรื อผลิตภัณฑ์ กัญชา
Suspected ร่ วมกับอาการแสดงข้ อใดข้ อหนึ่งดังนี้
อาการอันไม่ 1) อาการระบบหัวใจ ได้แก่ หน้ามืด วูบหมดสติ ใจสัน่ แน่น

พึงประสงค์ หน้าอก ชีพจรเต้นผิดจังหวะ เหนื่อย หายใจไม่สะดวก ความดัน


โลหิ ตสู ง
2) อาการระบบประสาท ได้แก่ เวียนศีรษะ แขนขาอ่อนแรง พูด
ไม่ชดั ความรู ้สึกตัวลดลง สับสน เดินเซ ชัก กล้ามเนื้อเกร็ ง
จากการใช้ กญ
ั ชาหรื อ กระตุก อารมณ์แปรปรวน เห็นภาพหลอน
ผลิตภัณฑ์ กญ
ั ชา
3) อาการระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
• ประเมินผู้ป่วยตามหลักการ airway, breathing, circulation and
disability และรักษาเบื้องต้ น
- Maintain airway จัดท่ าผู้ป่วยให้ เหมาะสม
การประเมิน - On oxygen เมื่อมีข้อบ่ งชี้

อาการและการ - EKG 12 lead and monitor EKG

รักษาเบื้องต้ น - ให้ IV fluid


- Blood exam : CBC, BUN, Creatinine Electrolyte, BS, AST/ALT
- Urine cannabinoids ( พิจารณาส่ งกรณีประวัติการใช้ กญ
ั ชาไม่
ชัดเจน)
• ภาวะ coma หรื อ respiratory failure ให้ดูแลเรื่ อง
ทางเดินหาย โดยการใส่ ท่อช่วยหายใจ
• ภาวะ respiratory distress ให้การรักษาโดยการให้
Resuscitation ออกซิเจนหรื อเครื่ องช่วยหายใจชนิด non-invasive
• ภาวะ hypotension ให้ IV fluid ชนิด crystalloid
ในการ resuscitation
• ภาวะ Tachy-Brady Arrhythmias รักษาตาม ACLS
guideline
• กรณีพบภาวะ STEMI หรื อ Stroke ให้การรักษาตาม
Resuscitation fast track นั้นๆ
• ภาวะชัก ให้ยา diazepam 10 mg IV หากชักไม่หยุด
พิจารณาการให้ยากันชักตัวถัดไปในกลุ่มของ
barbiturate
ภาวะสั บสน วุ่นวาย agitation หรื อ panic
• Diazepam 5-10 mg IV
• Haloperidol 2-5 mg IM

Supportive • จัดบรรยากาศลดสิ่ งกระตุน้


ภาวะอาเจียนมาก
treatment • สารน้ าทางหลอดเลือดดาให้เพียงพอ
• Electrolyte
• ให้ยาลดคลื่นไส้อาเจียน เช่น metoclopramide ร่ วมกับยาใน
กลุ่ม PPI
ประกอบด้ วยบุคลากร แพทย์ เภสั ชกรและพยาบาลผู้ผ่านการอบรม
หลักสู ตรการใช้ กญ
ั ชาทางการแพทย์ โดยมีจุดประสงค์
• เพื่อยืนยันอาการว่ าเป็ น ADR จากการใช้ ผลิตภัณฑ์ กญ
ั ชาจริงและ
รายงาน อย.
• เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของโรคผู้ป่วยกับการใช้ ผลิตภัณฑ์
กัญชา
• เพื่อส่ งตัวผู้ป่วยไปรักษาต่ อยังสถาบันเฉพาะทางต่ างๆ เพื่อ
Counseling
พิจารณาการใช้ ผลิตภัณฑ์ กญ
• เพื่อหยุดการใช้ ผลิตภัณฑ์ กญ
พิจารณาจากโรคผู้ป่วย
ั ชาในการรักษาต่ อเนื่อง
ั ชาเนื่องจากไม่ มขี ้ อบ่ งชี้ในการใช้ เมื่อ team
• ข้ อมูลจะมีการบันทึกในแบบฟอร์ ม ADR จากผลิตภัณฑ์ กญ
ั ชาและ
มี POP UP ขึน้ ในระบบของโรงพยาบาล
เก็บข้อมูลพื้นฐานของ
ผู้ป่วยแต่ละคน
โดยเฉพาะรูปแบบ
ผลิตภัณฑ์กัญชาที่ใช้
ขนาดยา
และยาอื่นที่ใช้ร่วม
เพื่อหายา/ผลิตภัณฑ์
ที่น่าจะเป็นสาเหตุของ
อาการไม่พึงประสงค์
มากที่สุด
เขียน timeline เพื่อ
ประเมิน
ความสัมพันธ์ของ
อาการไม่พึงประสงค์
กับผลิตภัณฑ์กญั ชา
หรื อผลิตภัณฑ์อื่นๆ
และบันทึก
รายละเอียดอาการ/
อาการแสดงของ
ผูป้ ่ วย เพื่อนาข้อมูล
รายงานให้กบั
สานักงาน
คณะกรรมการอาหาร
และยาต่อไป
1 ชาย 67 ปี UD Parkinson ใจสัน่ แน่นหน้าอก 1 ชม
Parkinson disease on Madopar (250mg) ½ tab oral tid pc
ใช้น้ ามันกัญชา ได้จากเพื่อนบ้าน หยดใต้ลิ้น 3 หยด แล้วเข้านอน 30 นาที มีอาการใจสัน่ แน่น
หน้าอก รู ้สึกปากคอแห้ง เวียนหัว ไม่อาเจียน รู ้สึกหน้ามืด

BP 130/70 mmHg, HR 120 /min, RR 18/min BT 36.8 c SaO2 98%


anicteric sclera, No flushing, No dry skin
Heart & Lung : normal
Neuro : No neurological deficit
1 ชาย 67 ปี UD Parkinson ใจสัน่ แน่นหน้าอก 1 ชม
EKG: Sinus tachycardia rate 120 /min, no ST-T change
CBG: 114 mg%
CBC : WBC 7,500 (N 67 L 23 ) Hct 42% PLT 236,000
Bun/Cr : 12/0.6 Na 138 K 4.2 CL 106 CO2 22 AST/ALT 14/16
hs Trop-T : 5
U/S : Good LVEF , No regional wall hypokinesia

Dx Adverse drug reaction from cannabinoid


1 Management
• IV hydration, Observe clinical 6 ชัว่ โมง ที่หอ้ งฉุกเฉิ น อาการดีข้ ึน ไม่มี
ใจสัน่ ไม่แน่นหน้าอก Vital sign : BP 120/70 mmHg , HR 80/min RR 18
/min O2 SAT 98% (RA)
• ปรึ กษาทีม Counseling → สาเหตุจาก ผู้ป่วยสู งอายุและเริ่มใช้ ยาโดยไม่
titrate

• สามารถรับประทานยาเดิมต่อได้ งดการใช้น้ ามันกัญชา นัด F/U คลินิกกัญชา


เพื่อวางแผนการรักษา
2 หญิง 57 ปี CA breast เวียนศีรษะ อาเจียน 10 ครั้ง 4 ชม
ใช้น้ ามันกัญชาหยด 1 หยด ก่อนนอนทุกวัน และ ได้ MST เพื่อลดอาการปวดหลัง วันนี้
ตอน 18.00 น มีอาการปวดหลัง ใช้น้ ามันกัญชา หยดใต้ลิ้น 2 หยด อาการปวดไม่ดีข้ ึน
ประมาน 10 นาที หยดเพิม่ อีก 4 หยด ประมาน 30 นาทีต่อมา มีอาการเวียนหัว อาเจียน
ตลอด 10 ครั้ง เป็ นน้ าและเศษอาหาร ไม่ปวดท้อง อุจจาระปกติ

BP 150/80 mmHg , HR 80 /min ,RR 18/min BT 36.6 c SaO2 98%


anictric sclera, No flushing, No dry skin
Heart & Lung : normal
Neuro : No neurological deficit
2 หญิง 57 ปี CA breast เวียนศีรษะ อาเจียน 10 ครั้ง 4 ชม
CBC : WBC 8,900 (N 78 L 13 ) Hct 30% PLT 236,000

Bun/Cr : 22/0.8 Na 134 K 3.6 CL 102 CO2 22 AST/ALT 22/30


CBG: 120 mg%

EKG : NSR rate 70 /min , no ST-T change


Dx Adverse drug reaction from cannabinoid
2 Management
• Support Tx : dimenhydrinate 50 mg IV, ให้ IV hydration, Observe clinical
8 ชัว่ โมง ที่หอ้ งฉุกเฉิน อาการดีข้ ึน ไม่เวียนหัว ไม่อาเจียน กินได้

• ปรึ กษาทีม Counseling เพื่อสอบสวนหาสาเหตุของอาการไม่พึง อันประสงค์ พบ


ประเด็น สาเหตุของการเกิด ADR มาจาก ผู้ป่วยใช้ ปริมานยาเกินขนาด จากทีเ่ คยใช้
โดยการ repeated dose เพื่อบรรเทาอาการปวด

• สามารถรับประทานยาเดิมต่อ ได้ งดการใช้น้ ามันกัญชา และนัด F/U คลินิกกัญชา


เพื่อวางแผนการรักษา
3 ชาย 34 ปี มีอาการปวดท้องบริ เวณลิ้นปี่ 1 วัน

ผูป้ ่ วยชายมีอาการปวดท้องบริ เวณลิ้นปี่ อาเจียนเป็ นจานวนมาก > 10 ครั้ง ไม่มีไข้ กินไม่ได้


อ่อนเพลีย ถ่ายปกติ จึงมารพ
BP 120/60 mmHg , HR 100 /min ,RR 18/min BT 37.2 c O2 SAT 98%(RA)
PE : anictric sclera
Heart & Lung : Tachycardia rate 100 /min
Abdomen : soft, Tender at epigastrium, no rebound, normoactive bowel sound
Neuro : E4V5M6
3 Management
• 5%DNSS 1000 cc v drip 200 cc/hr
• CBC , Bun/Cr, E lyte , DTX 102 mg% , AST/ALT , Amylase
• EKG : sinus tachycardia rate 100 /min , no ST-T change
• UA
• Film acute abdomen series
• Losec 1 amp iv
• Plasil 1 amp iv
• NPO
3 ชาย 34 ปี มีอาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ 1 วัน

• CBC : WBC 15,100 (N 88 L 7 ) Hct 45% PLT 368,000

• Bun/Cr : 26/1.2 Na 130 K 3.0 CL 100 CO2 18 AST/ALT 16/24 Amylase 86

• UA : normal

• Film acute abdomen series : no abnormality


3 ชาย 34 ปี มีอาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่ 1 วัน

• ผู้ป่วย Observe ER 12 ชั่วโมง มีอาการปวดท้องบริเวณลิ้นปี่และมีอาเจียนตลอด ให้ IV


hydration ได้รับการให้ยาแก้ปวดเพิ่มเติมทั้ง Tramadol , Morphine , antiemesis ได้
รับส่งตรวจ CT whole abdomen : normal
• พิจารณา Urine cannabinoid positive (ญาติแจ้งว่า ผู้ป่วยใช้กัญชา สูบ ทุกวัน มา 2 ปี)
• Admit MED for supportive อาการดีขึ้น ไม่ปวดท้อง ไม่อาเจียน กินได้ สามารถ กลับ
บ้านได้
• ผู้ป่วย ได้รับการวินิจฉัย Cannabinoid hyperemesis syndrome
ขอบคุณครับ

You might also like