You are on page 1of 69

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Change)

• ภาพเปรียบเทียบ
ขนาดของธาร
น้าแข็งมัวร์
(Muir glacier)
• เพราะเหตุใดโลกของเราจึงมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่
ในขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ไม่มีสิ่งมีชีวิต
อาศัยอยู่
โลกของเรามีอุณหภูมิเหมาะสมกับการดารงชีวิต
เนื่องจากมีบรรยากาศที่ช่วยควบคุมอุณหภูมิของ
อากาศในเวลากลางวันไม่ร้อนจนเกินไปและกลางคืน
ไม่หนาวจนเกินไป และโลกยังมีนาที่ใช้ในการ
ดารงชีวิต
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change)

• การเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยลมฟ้าอากาศ เช่น อุณหภูมิของอากาศ ความกดอากาศ


ความชืน ปริมาณ หยาดนาฟ้า ในภูมิภาคหนึ่งอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานหลาย
ทศวรรษหรือนานกว่านันโดยตัวบ่งชีถึงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่สาคัญ คือ
อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change)
• ในช่วงก่อนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม อุณหภูมิ
เฉลี่ยของอากาศในแต่ละปีมีแนวโน้มอย่างไร
และคงอยู่เป็นระยะเวลาประมาณเท่าใด
✓ มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงน้อยจนเกือบ
คงที่ ในช่วงระยะเวลาประมาณ 900 ปี
• ในช่วงหลังยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม อุณหภูมิ
เฉลี่ยของอากาศในแต่ละปีมีแนวโน้มอย่างไร
✓ มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึน
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (climate change)
• อุณหภูมิหลังช่วงปฏิวัติอุตสาหกรรมเพิ่มขึน
ด้วยปัจจัยใดบ้าง
✓ การใช้เชือเพลิงซากดึกด้าบรรพ์ใน
กระบวนการผลิต
• มีปัจจัยใดอีกบ้างที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ
✓ บรรยากาศ เมฆ พืนผิวโลก และกิจกรรม
ของมนุษย์
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับ
ผลต่างจากค่าปกติของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศ (กาหนดให้ 0 เป็นค่า แสดงผลต่างจากค่าปกติของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศในช่วงที่มีภูเขาไฟระเบิด
ปกติเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบ ซึ่งมาจากค่าอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศ (กาหนดให้ 0 เป็นค่าปกติ ซึ่งมาจากค่าอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศ ในช่วงปี
ในปี พ.ศ. 2494-2523) พ.ศ. 2413-2442)
สรุปผลการท้ากิจกรรม
• อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับ
ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
• การระเบิดของภูเขาไฟ โดยปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่
เพิ่มขึนสัมพันธ์กับอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศที่เพิ่มขึน แต่เมื่อ
ภูเขาไฟขนาดใหญ่ระเบิดส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศ
ลดลงในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
แก๊สเรือนกระจก
ละอองลอย
ค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิวโลก
พลังงานจากดวงอาทิตย์
แก๊สเรือนกระจก
• ไอนา
• CO2
• แก๊สมีเทน CH4
• แก๊สไนตรัสออกไซด์ N2O
• แก๊สโอโซน
แก๊สเรือนกระจก สามารถ
ดูดกลืนรังสีอินฟราเรดหรือรังสี
ความร้อนที่แผ่มาจาพืนผิวโลก
และแผ่รังสีความร้อนกลับสู่
พืนผิวโลกหากมีในปริมาณที่
เหมาะสมจะทาให้อากาศมี
อุณหภูมิที่เหมาะสม หากใน
บรรยากาศมีปริมาณแก๊สเรือน
กระจกเพิ่มขึนอย่างต่อเนื่องจะ
ส่งผลให้โลกค่อย ๆ มีอุณหภูมิ
สูงขึนอย่างต่อเนื่อง
แก๊สเรือนกระจก ในธรรมชาติ
แก๊สเรือนกระจก กิจกรรมของมนุษย์
ค่าศักยภาพในการท้าให้เกิดภาวะโลกร้อนหรือ GWP
แก๊สเรือน ระยะเวลาคงอยู่ ความสามารถในการดูดกลืนความ GWP
กระจก ในบรรยากาศ ร้อน (วัตต์ต่อตารางเมตรต่อความ (จ้านวนเท่าของ CO2
(ปี) เข้มข้นในพันล้านส่วน) ในระยะเวลา 100 ปี)
CO2 5 - 200 0.014 1
CH4 12.4 0.360 28
N2O 121 3.000 265

ค่าศักยภาพในการทาให้เกิดภาวะโลกร้อน (global warming potential : GWP)


• ค่าที่แสดงถึงความสามารถในการดูดกลืนความร้อนของแก๊สเรือนกระจกแต่
ละชนิดเมื่อเปรียบเทียบกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณ 1 ตัน ภายใน
ระยะเวลาเท่ากัน
แก๊สเรือนกระจก
ปริมาณแก๊สในชันบรรยากาศ
แก๊สเรือนกระจก
(ต่อล้านส่วน)
ไอนา 1 – 40,000 (ขึนอยู่กับอุณหภูมิ)
คาร์บอนไดออกไซด์ 360
มีเทน 1.7
ไนตรัสออกไซด์ 0.3
โอโซน 0.01
Greenhouse Effect แก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศเพิ่มขึน
Co2 , CH4 , N2O , CFC

Greenhouse Effect
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
Global warming
ภาวะโลกร้อน
Climate change
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ภาวะโลกร้อน (global warming)

เกรียตา ทุนแบร์ย นักรณรงค์ด้าน


สิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อน
เรียกร้องนักการเมืองอังกฤษ
"จงรับฟังนักวิทยาศาสตร์" เรื่องการ
เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ
ละอองลอย

การระเบิดภูเขาไฟอย่างรุนแรงในแต่ละครังจะปลดปล่อยละอองลอยเข้าสู่บรรยากาศปริมาณมาก โดยเฉพาะ
ละอองลอยประเภทซัลเฟต และปลดปล่อยแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์จานวนมากขึนเมื่อรวมตัวกับไอนาใน
บรรยากาศเกิดเป็นละอองลอยปกคลุมท้องฟ้าเป็นบริเวณกว้างและคงอยู่ในชันบรรยากาศเป็นระยะเวลานาน
จึงทาให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกลดลงได้ในระยะเวลานานเป็นปีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
• อุณหภูมิเฉลี่ยของ
อากาศลดลงจากค่า
ปกติประมาณ
0.2 – 0.5 องศา
เซลเซียส ในระยะเวลา
3 ปี หลังการระเบิด

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศในช่วงเวลาที่ภูเขาไฟพินาตูโบระเบิด
ละอองลอย
เถ้า ละออง เกลือ
เขม่า
ภูเขาไฟ เกสร ทะเล
ละอองลอย
ทาให้เกิดการสะท้อน และการกระเจิงของแสง
ทาให้รังสีจากดวงอาทิตย์ผ่านลงมาสู่ผิวโลกได้น้อยลง
ทาให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกลดลง
มีปริมาณมากในบรรยากาศจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิของอากาศ
ค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิวโลก
การเปลี่ยนแปลงค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิวโลก
• ถ้าค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิวโลกลดลง แสดงว่าพืนผิวโลก
บริเวณนันสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์กลับสู่อวกาศได้น้อยลง ทาให้
ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ทาให้โลกมีพลังงานหมุนเวียน
เพิ่มขึน
• ในทางกลับกันถ้าค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิวโลกเพิ่มขึน
แสดงว่าพืนผิวโลกบริเวณนันสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์กลับสู่อวกาศ
ได้มากขึน ทาให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ทาให้โลกมี
พลังงานหมุนเวียนลดลง
• สรุปคือ สะท้อนได้มาก = อุณหภูมิต่า
พลังงานหมุนเวียนมาก = อุณหภูมิสูง
ค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิวโลก
ค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิว
เป็นค่าความสามารถในการสะท้อนแสงของพืนผิว เรียกว่า อัลบีโด (Albedo)

อัตราส่วนรังสีสะท้อน = ความเข้มรังสีที่สะท้อนออกจากพืนผิววัตถุ
ความเข้มรังสีทังหมดที่ตกกระทบพืนผิววัตถุ

ค่าอัลบีโดมักแสดงด้วยเลขทศนิยม มีค่าอยู่ระหว่าง 0 – 1
วัตถุที่มีการดูดกลืนแสงอย่างสมบูรณ์ ไม่มีการสะท้อนรังสีกลับคืนเลยจะมีค่าอัลบีโด = 0
ถ้าวัตถุใดมีการสะท้อนแสง 100% (ไม่มีการดูดกลืนรังสีเลยมีอัลบีโด = 1)
การเปลี่ยนแปลงค่าอัตราส่วนรังสีสะท้อนของพืนผิวโลก

จะเห็นได้ว่าพืดนาแข็งที่ปกคลุมบริเวณ
ขัวโลกเหนือ ปี 1979 มีพืนที่ลดลง
รังสีจากดวงอาทิตย์
เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี 2007 ส่งผลให้
อัตราส่วนรังสีสะท้อนในบริเวณนันลดลง

การหลอมเหลวของพืดนาแข็งส่งผลต่อ
รังสีจากดวงอาทิตย์
ระดับนาในมหาสมุทรและอุณหภูมิของนา
ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

การสะท้อนและดูดกลืนรังสีดวงอาทิตย์ของพืนผิวบริเวณขัวโลก
เหนือที่มีน้าแข็งปกคลุมในปริมาณแตกต่างกัน
ประเภทสิ่งปกคลุมพืนผิว ค่าอัลบีโด
นา (เวลาเที่ยง) 0.03 – 0.05
นา (เวลาเช้าหรือเย็น) 0.5 – 0.8
ป่าไม้ 0.05 – 0.1
ทุ่งหญ้า 0.20 – 0.25
ทราย 0.2 – 0.3
เมฆ 0.7 – 0.8
หิมะและนาแข็ง 0.8 – 0.85
พลังงานจากดวงอาทิตย์
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตังแต่อดีต
จนถึงปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง
เป็นวัฏจักรตามการเปลี่ยนแปลง
ลักณะการโคจรของโลกรอบดวง
อาทิตย์ เรียกว่า วัฏจักรมิลานโควิช
(Milankovitch cycle)
เสนอโดย มิลูติน มิลานโควิช นักดาราศาสตร์
ชาวเซอร์เบียร์
วัฏจักรมิลานโควิช

1 การเปลี่ยนแปลงความรีของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์

2 การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลก

3 การหมุนควงของแกนหมุนโลก
การเปลี่ยนแปลงความรีของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์
• โคจรเป็นวงรี (Eccentricity)
วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
เปลี่ยนแปลงขนาดความรี
(รีมาก - รีน้อย) เป็นวัฏจักร
96,000 ปี เมื่อโลกเข้าใกล้ดวง
อาทิตย์อุณหภูมิก็จะสูงขึน
เมื่อโลกอยู่ไกลอุณหภูมิก็จะต่าลง
พลังงานจากดวงอาทิตย์ที่โลกได้รับปัจจุบันโลกอยู่ไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุดใน
เดือนกรกฎาคมของทุกปี โดยมีระยะห่างประมาณ 152 ล้านกิโลเมตร และอยู่ใกล้
จากดวงอาทิตย์มากที่สุดประมาณ 147 ล้านกิโลเมตรในเดือนมกราคม
การเปลี่ยนแปลงมุมเอียงของแกนหมุนโลก
• ความเอียง (Tilt)
แกนของโลกเอียงเป็นสาเหตุทาให้
เกิดฤดูกาล ปัจจุบันแกนของโลก
เอียง 23.5 องศา หากแกนของโลก
เอียงมากขึนในฤดูร้อน และน้อยลง
ในฤดูหนาวซึ่งมีผลทาให้ฤดูร้อน
และฤดูหนาวมีอุณหภูมิแตกต่างกัน
มากขึน
การหมุนควงของแกนหมุนโลก
• การส่ายของแกนหมุนของโลก
(Precession)
แกนหมุนของโลกส่าย (เป็นวงคล้าย
ลูกข่าง) รอบละ 21,000 ปี ทาให้แต่
ละพืนที่ของโลกได้รับพลังงานจาก
ดวงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ในช่วงเวลา
เดียวกันของแต่ละปี
วัฏจักรมิลานโควิช
• นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศกับวัฏจักร
มิลานโควิช โดยใช้ข้อมูลจากแท่งตะกอน
มหาสมุทรมาคานวณเพื่อจาลองอุณหภูมิ
ในช่วง 1,000,000 ปีก่อนจนถึงปัจจุบัน
• พบว่าเกิดยุคนาแข็งโดยมีคาบประมาณ
100,000 ปีซึ่งสอดคล้องกับช่วงของการ
เปลี่ยนแปลงความรีของวงโคจรของโลก
นอกจากนียังพบว่าอุณหภูมิของโลกลดลง
ทุก ๆ 41,000 ปี และ 23,000 ปี
ซึ่งสอดคล้องกับวัฏจักรการเปลี่ยนแปลง
มุมเอียงและการหมุนควงของแกนหมุนโลก
แต่อุณหภูมิไม่ได้ลดลงเท่ากับในช่วงทุก
100,000 ปี
วัฏจัรมิลานโควิช (Milankovitch Cycle)
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอนุภาคชนิดต่าง ๆ ในบรรยากาศ

การเปลี่ยนแปลงของปริมาณก๊าซที่ดูดซับพลังงาน

ความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ
ภูมิอากาศของโลกในอดีตมีการเปลี่ยนแปลง
ทราบได้อย่างไรว่า ภูมิอากาศของโลกในอดีตมีการเปลี่ยนแปลง
วัฏจัรมิลานโควิช (Milankovitch Cycle)
นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานจากตะกอนใต้มหาสมุทร
บ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
ในระหว่าง 800,000 ปี ที่ผ่านมาแผ่นน้าแข็งขยายตัวทุก ๆ 100,000 ปี
มีการแผ่ตัวของแผ่นน้าแข็งทุก ๆ 41,000 ปี
จุดมืดดวงอาทิตย์ (sunspots)
การเกิดจุดมืดดวงอาทิตย์ โดยจุดมืดจะมีจานวน
มากที่สุดเป็นวัฏจักรทุก 11 ปี พืนที่สว่างรอบจุด
มืดจะปล่อยพลังงานออกมามากว่าพืนที่อื่น ๆ
เมื่อจุดมืดมีจานวนมากที่สุดดวงอาทิตย์จึงปล่อย
พลังงานออกมาเพิ่มขึนประมาณร้อยละ 0.1 ทาให้
อุณหภูมิอากาศของโลกสูงขึน ในทางกลับกันมี
ข้อมูลว่าในช่วงยุคนาแข็งน้อย จุดมืดจะมีจานวน
ลดลง ทาให้อุณหภูมิอากาศในช่วงนันลดต่าลง
2 หลักฐานแสดงการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศบรรพกาล
แท่งนาแข็ง
ตะกอนทะเลสาบ
ตะกอนมหาสมุทร
ธรณีสัณฐาน
นักวิทยาศาสตร์บอกภูมิอากาศในช่วงเวลาก่อนที่จะมีเครื่องมือตรวจวัดได้อย่างไร

• บันทึกทาง
ประวัติศาสตร์
หลักฐานทาง
ธรณีวิทยา

อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกตังแต่ปี ค.ศ. 500-2000


หลักฐานทางธรณีวิทยา (geological evidence)
• บันทึกลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึนในช่วงเวลาต่างๆ
การศึกษาสิ่งที่พบในแท่งนาแข็งจากพืดนาแข็งที่สะสมตัวในเขตขัวโลก
ลักษณะธรณีสัณฐาน
สมบัติทางกายภาพและเคมี
ซากของสิ่งมีชีวิตที่สะสมตัวร่วมกับตะกอนในทะเลสาบและทะเล
• นามาวิเคราะห์และใช้คาดคะเนสภาพแวดล้อมที่แปรผันตามสภาพ
ภูมิอากาศโลกในช่วงบรรพกาลได้
การขุดเจาะพืดน้าแข็ง
เพราะเหตุใดนักวิทยาศาสตร์จึงศึกษาภูมิอากาศบรรพกาลได้จากแท่งน้าแข็ง
ในแท่งน้าแข็งมีฟองอากาศ ที่กักเก็บแก๊สที่เป็นองค์ประกอบของบรรยากาศใน
ช่วงเวลาในอดีต รวมทังอาจยังกักเก็บละอองลอยชนิดต่าง ๆ ท้าให้สามารถ
เชื่อมโยงถึงภูมิอากาศในอดีตได้
นอกจากแท่งน้าแข็งแล้วยังมีหลักฐานทางธรณีวิทยาอย่างอื่นอีกหรือไม่
ตะกอนมหาสมุทร ตะกอนทะเลสาบ การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางธรณีสัณฐาน

ตัวบ่งชี (proxies)
ตัวบ่งชี (proxies)
• ชนิดและปริมาณแก๊สที่อยู่ในฟองอากาศที่ถูกกัก
เก็บไว้ในแท่งนาแข็ง
• สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี รวมถึงซาก
สิ่งมีชีวิตที่สะสมตัวร่วมกับตะกอนมหาสมุทร
• และตะกอนทะเลสาบ
• ปริมาณออกซิเจนไอโซโทปในแท่งนาแข็งและแท่ง
ตะกอนมหาสมุทร
• การเปลี่ยนแปลงของลักษณะทางธรณีสัณฐาน
เช่น แพเศษหินพืดนาแข็ง (moraine), เว้าทะเล
(sea notch)
ชนิดและปริมาณแก๊สที่อยู่ในฟองอากาศที่ถูกกักเก็บไว้ในแท่งน้าแข็ง
• นักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ชนิดและ
ปริมาณแก๊สที่อยู่ในฟองอากาศที่
ถูกกักเก็บไว้ในแท่งนาแข็งที่ได้จากการ
ขุดเจาะพืดนาแข็ง โดยเฉพาะ แก๊ส
เรือนกระจก และองค์ประกอบอื่นของ
อากาศ เช่น ฝุ่น เถ้าภูเขาไฟ ละออง
เรณู ที่ตกลงพร้อมกับหยาดนาฟ้าและ
สะสมตัวในชันนาแข็ง
สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี

สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี รวมถึงซากสิ่งมีชีวิตที่สะสมตัว
ร่วมกับตะกอนมหาสมุทรและตะกอนทะเลสาบ
ปริมาณออกซิเจนไอโซโทปในแท่งน้าแข็งและแท่งตะกอนมหาสมุทร
• โดยถ้าโลกมีอุณหภูมิลดลงจะ
พบการสะสมตัวของ 16O บน
พืดนาแข็งมาก ส่วนตะกอน
มหาสมุทรจะพบการสะสมตัว
ของ 18O มากโดยพบอยู่ใน
เปลือกของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเปลี่ยนแปลงของลักษณะทางธรณีสัณฐาน
• แพเศษหินพืดนาแข็ง (moraine) เป็น
ธรณีสัณฐานที่เกิดจากการสะสมตัวของ
ตะกอนขนาดต่าง ๆ ในธารนาแข็ง
ในขณะที่อุณหภูมิโลกลดลงธารนาแข็งจะ
ขยายตัวพาตะกอนต่าง ๆ เคลื่อนที่ไป
ด้วย และเมื่ออุณหภูมิสูงขึน ธารนาแข็ง
ละลายจึงเห็นแพเศษหินพืดนาแข็งใน
บริเวณต่าง ๆ ที่เคยมีธารนาแข็งอยู่
การเปลี่ยนแปลงของลักษณะทางธรณีสัณฐาน
• เว้าทะเล (sea notch) เป็นธรณีสัณฐานที่
พบบนหน้าผาบริเวณชายฝั่งที่เกิดจากการกัด
เซาะของนาทะเล มีลักษณะเป็นรอยเว้าใน
แนวระดับซึ่งจะขนานไปกับระดับนาทะเลใน
ช่วงเวลาและยุคต่างๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอัน
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ดังนันเว้า
ทะเลจึงเป็นหลักฐานสาคัญที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ระดับนาทะเลในอดีตเทียบกับ
ระดับนาทะเลในปัจจุบันและใช้บ่งบอกถึง
ภูมิอากาศในช่วงเวลาในอดีตได้
กราฟนีแสดงให้เห็นว่าโลกของเรามีการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมาตังแต่ในอดีต
โดยในบางช่วงเวลาอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศมีทังต่ากว่าและสูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยใน
ปัจจุบัน ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาข้อมูลจากหลักฐานทางธรณีวิทยาและจาลอง
ข้อมูลไปถึงช่วงเวลาธรณีกาล
ปัจจุบันแสดงให้เห็นว่า ถึงแม้อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศจะเพิ่มขึนไม่ถึง 1 องศาเซลเซียส แต่ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
มากมาย เช่น ในปี พ.ศ. 2555 พืนที่นาแข็งปกคลุมบริเวณทะเลอาร์กติก ลดลงเหลือเพียง 3.41 ล้านตารางกิโลเมตร เทียบกับเมื่อปี พ.ศ. 2527
ซึ่งมีพืนที่นาแข็งปกคลุมมากกว่า 7nล้านตารางกิโลเมตร
3 ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศและการชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

ผลกระทบต่อการเกษตร
ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
ผลกระทบต่อระบบคมนาคม
ผลกระทบต่อทางด้านพลังงาน
ผลกระทบต่อทรัพยากรนาและพืนที่ชายฝั่ง
ผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์
ผลกระทบต่อการเกษตร
ภูมิภาคในเขตร้อนมีผลผลิตทางการเกษตรลดต่้าลง
เนื่องจากอุณหภูมิของอากาศที่สูงส่งผลต่อการ
เจริญเติบโตของพืชบางชนิด ส่งเสริมการระบาดของ
แมลงหรือวัชพืชการเกิดไฟป่า สภาพดินเสื่อมโทรม
ปริมาณนาไม่เพียงพอเนื่องจากความแห้งแล้ง

ผลกระทบต่อการเลียงปศุสัตว์ ท้าให้สัตว์เจ็บป่วยและ
ตาย ปริมาณนานมลดลงเนื่องจากแหล่งอาหารลดลง
การแพร่กระจายของเชือโรค คลื่นความร้อน
ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
• แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ต่าง ๆ
รวมถึงวงจรชีวิต มีรูปแบบที่
เปลี่ยนไป เนื่องจากอากาศร้อน
ฤดูกาลที่เปลี่ยนไป
ระดับนาทะเลเพิ่มสูงขึน
ผลกระทบต่อทรัพยากรน้าและพืนที่ชายฝั่ง
• นาท่วมชายฝั่งเนื่องจาก
ระดับนาทะเลที่เพิ่มสูง
• สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมบริเวณ
ชายฝั่งถูกทาลายเนื่องจากพายุ
ซัดฝั่ง
• สัตว์ทะเลอพยพย้ายถิ่น
เนื่องจากนาทะเลมีอุณหภูมิ
สูงขึน
ผลกระทบต่อสุขภาพ
• เจ็บป่วยเนื่องจากคลื่นความร้อน
ภัยพิบัติที่รุนแรง
• การแพร่กระจายของเชือโรค
ผลกระทบต่อด้านพลังงาน
• ความต้องการใช้ไฟฟ้าและ
พลังงานเพิ่มขึน เนื่องจาก
อุณหภูมิสูง
• โรงไฟฟ้าที่ตังอยู่บริเวณชายฝั่ง
อาจได้รับความเสียหาย
เนื่องจากนาทะเลท่วมถึง
เกิดพายุ นาที่ใช้ในการผลิต
ไฟฟ้าไม่เพียงพอ
ผลกระทบต่อระบบคมนาคม
• ถนนชารุด การเดินทางรถไฟ
หยุดชะงัก เที่ยวบินไม่แน่นอน
เนื่องจากอุณหภูมิสูงทาให้ผิว
ถนนหรือรางรถไฟเกิดการ
ขยายตัว
• ฝนตกหนักทาให้นาท่วม ดิน
ทรุด ดินถล่ม
แนวทางการลดปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

เปลี่ยนจากการใช้รถยนต์ส่วนตัว
มาใช้รถขนส่งสาธารณะ
ลดการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
เปลี่ยนมาใช้พลังงานชีวภาพ
แนวทางการลดปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

ใช้นาประปาอย่างประหยัด
ลดปริมาณขยะภายในครัวเรือน
ปลูกต้นไม้
ลดการเผาป่า หญ้า และต้นไม้
เพื่อกาจัดวัชพืช
ใช้ปุ๋ยหมักจากธรรมชาติแทนปุ๋ยเคมี
นโยบายด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของประเทศไทย
คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate
Change: IPCC) มีข้อตกลงร่วมกันได้มีข้อตกลงร่วมกันเรียกว่าข้อตกลงปารีส (Paris agreement) และได้รับการรับรอง
เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยเป็นตราสารกฎหมายที่รับรองภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ(United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ซึ่งเป็นฉบับ
ล่าสุดต่อจากพิธีสารเกียวโตและข้อแก้ไขโดฮา (Doha Amendment to the Kyoto Protocol) เพื่อเป็นข้อก้าหนดกฏ
กติการะหว่างประเทศให้มีการจ้ากัดการเพิ่มอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้เกิน 2 องศาเซลเซียสจากยุคปฏิบัติอุตสาหกรรม
โดยประเทศไทยเป็นหนึ่งในสมาชิก และได้จัดทาแผนเพื่อรองรับข้อตกลงดังกล่าว เรียกว่าแผน
แม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2558 - 2593 โดยกาหนดเป้าหมายที่จะ
ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกให้ได้ร้อยละ 20 – 25 ภายใน พ.ศ. 2573 และมีแนวทางและ
มาตรการรองรับ 8 ด้าน ได้แก่ การผลิตไฟฟ้า การคมนาคมขนส่ง การใช้พลังงานภายในอาคาร
ภาคอุตสาหกรรม ภาคของเสีย ภาคการเกษตร ภาคป่าไม้ การจัดการเมือง
Infographic หัวข้อ “ทำอย่ำงไรให้โลกน่ำอยู่มำกขึ้น”
• ทำกิจกรรมที่คิดว่ำจะช่วยให้โลกดีขึ้น
อย่ำงน้อย 1 กิจกรรม
• แนบรูปถ่ำยของตนเองทำกิจกรรม
• ใส่คำคมที่มีคำว่ำ “โลก”
• 10 คะแนน
ปลูกต้นไม้
• เพื่ อช่วยดูดซับแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ที่
ปลดปล่อยออกสู่โลก ทำให้แก๊สเรือนกระจกมี
ปริมำณลดลง

ถ้ำโลกนี้มันกลม ทำไมเธอไม่วนกลับมำ

นำงสำวสุภำรัตน์ กรมแสง
ชั้น ม.5/19 เลขที่ 55

You might also like