Project 2 กำเเพงกันดิน B6233938

You might also like

You are on page 1of 31

รายงาน

ออกแบบกำแพงกันดินแบบ Cantilever Wall ให้มีเสถียรภาพ

โดย
นาย รชานนท์ ชาวเหนือ B6233938

เสนอ
อาจารย์ ดร.อภิชาติ สุดดีพงษ์

รายงานนี้เป็นส่วนของรายวิชา 559421 SOIL ENGINEERING DESIGN II


สาขาวิชา Civil and infrastructure Engineering ภาคเรียนที่ 3
ปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
สารบัญ

บทนำ .................................................................................................................................................... ก
ทฤษฎีท่เี กี่ยวข้อง ..................................................................................................................................... ข
1) สมกำร Bearing capacity ของ Meyerhof และ Vesical ......................................................................... ข
2) ฐำนรำกมีแรงเยือ้ งศูนย์หรือแรงเอียงกระทำ (Barnes 2000) ....................................................................... 3
2.1) แรงกระทำเยือ้ งศูนย์ (Eccentric loading)............................................................................................ 3
2.2) แรงกระทำเอียงจำกแนวดิง่ (Inclined loading)..................................................................................... 5
3) เสถียรภำพของกำแพงกันดินชนิดนีข้ น
ึ ้ อยู่กบั นำ้ หนักของตัวมันเอง ................................................................ 6
3.1) กำรวิบตั ิของกำแพงกันดิน กำรออกแบบกำแพงกันดินต้องคำนึงถึงสิ่งสำคัญสองประกำรดังนี ้.......................... 6
3.2) กำรวิเครำะห์เสถียรภำพภำยนอกของกำแพงกันดิน ................................................................................. 7
3.3) อัตรำส่วนปลอดภัยต้ำนกำรลื่นไถล....................................................................................................... 7
3.4) อัตรำส่วนปลอดภัยต้ำนกำรพลิกคว่ำ .................................................................................................... 8
3.5) ระยะเยือ้ งศูนย์และควำมดันดินใต้ฐำนรำก............................................................................................. 8
รำยกำรคำนวณ ....................................................................................................................................... 9
1) ที่ระดับควำมลึก Y = 1.5 ......................................................................... ผิดพลาด! ไม่ได้กาหนดบุก๊ มาร์ก
2) ที่ระดับควำมลึก Y = 2.25 ................................................................................................................... 12

3) ที่ระดับควำมลึก Y = 3.0 ..................................................................................................................... 15

4) ที่ระดับควำมลึก Y = 3.75 ................................................................................................................... 18

5) ที่ระดับควำมลึก Y = 4.5 ..................................................................................................................... 21

บทสรุป .................................................................................................................................................. ค
เอกสำรอ้ำงอิง ......................................................................................................................................... ง

บทนำ
ออกแบบกำแพงกันดินแบบ Cantilever Wall ให้มีเสถียรภาพโดยใช้ความสูง (Y) ตามกำหนด (Type
A B C D และ E ) ข้อมูลที่ต้องกำหนัดเองประกอบด้วย Ty, Tx, X1, X2 และ X3

รูปที่ 1 โจทย์และข้อมูลประกอบ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
1) สมการ Bearing capacity ของ Meyerhof และ Vesical
สมการของ Terzaghi นี้ใช้เป็นต้นแบบของสมการในภายหลงั สมการ bearing capacity ที่นิยมใช
ได้แก่สมการของ Meyerhof, Hansen และ Vesic แต่สมการของ Terzaghi นั้นเป็นสมการที่ใช้ได้ง่ายที่สุดจึง
เป็นสมการที่วิศวกรภาคปฏิบั ตินิยมใช้แต่ก็มีข้อด้อยบางประการคือใช้ ไม่ได้กับ กรณีของฐานรากที่รับแรง
ด้านข้าง, กรณีที่ฐานรากรับโมเมนต์ดัด, ฐานรากเอียงและฐานรากที่วางอยู่บนลาดคันดิน

รูปที่ 2 สำหรับค่าเฟคเตอร์ปรับแก้ของ Meyerhof แสดงดังและค่าปรับแก้ของ Vesic

• Shape factor ได้ แ ก่ ป รั บ แก้ Sc , Sq , S ซึ ่ ง เกิ ด ขึ ้ น เนื ่ อ งจากสมการที่ 2.2 ได้ พ ั ฒ นามาจาก
สมมุติฐานที่ว่าฐานราก ยาวมาก ดังนั้นถ้าฐานรากเป็นรูปอื่นเช่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจะต้องคิดผลเนื่องจากข้อนี้
ด้วย

• Depth factor ได้แก่ค่าปรับแก้ dc , dq , d ซึ่งได้พิจารณาเพิ่ม Bearing capacity โดยการคิดว่า


ดินที่อยู่เหนือระดับฐาน รากสามารถต้านทานหน่วยแรงเฉือนได้ด้วยดังรูปที่ 3-8 อย่างไรก็ดีผู้ออกแบบบางราย
อาจจะไม่คิดผล เนื่องจากระยะฝังนี้ ซึ่งทำให้ฐานรากมีสัดส่วนปลอดภัยเพิ่มขึ้น โดยเหตุผลเนื่องจาก ดินที่ใช้
เหนือฐานราก มักจะมีคุณภาพไม่ดีเ ท่าดินที่รองรับฐานรากอยู่และดินใต้ฐานรากจะต้องยุบตัวได้น้อยมากซึ่ง
ในทางปฏิบัติ ดินใต้ฐานรากอาจบดอัดดินได้ไม่แน่นพอ

• Inclination factor ได้แก่ค่าปรับแก้ ic , iq , i ซึ่งได้พิจารณาผลเนื่องจากแรงกระทำ ที่มีส่วนของ


แรงอยู่ในแนวราบ อันจะทำให้ Bearing capacity ลดลง
1

ตารางที่ 1 สมการ Bearing capacity ของ Meyerhof สำหรับกรณี Drained และ Undrained
2

ตารางที่ 2 สมการ Bearing capacity ของ Vesic สำหรับกรณี Drained และ Undrained
3

2) ฐานรากมีแรงเยื้องศูนย์หรือแรงเอียงกระทำ (Barnes 2000)


ฐานรากของโครงสร้างมักจะมีโมเมนต์ดัดและแรงด้านข้างมากระทำซึ่งถ้ามีแรงทั้งสองนี้มากระทำจะ
ทำให้ฐานรากพลิกคว่ ำ (Overturning) ได้ในการคำนวณจะต้องหาผลรวมของแรงในแนวดิ่งที่กระทำต่อก้น
ฐานราก ที่ระยะเยื้องศูนย์ e ดังรูปที่ 3 ในกรณีที่มีแรงในแนวราบกระทำที่ก้นฐานรากจะก่อให้เกิดแรงแรงลั พธ์
ที่ทำมุมกับแนวดิ่งซึ่งแรงที่กระทำเยื้องศูนย์และแรงลัพธ์เอียงทำมุมกับแนวดิ่งนี้จะทำให้ Bearing capacity
ลดลง
2.1) แรงกระทำเยื้องศูนย์ (Eccentric loading)
ตำแหน่งของแรงลัพธ์ในแนวดิ่ง VT อาจจะเยื้องศูนย์ได้ทั้งแนวยาวและแนวสั้นของฐานรากโดย eL คือ
ระยะเยื้องศูนย์ตามแกนยาวและ eB คือระยะเยื้องศูนย์ตามแกนสั้นของฐานรากดังรูปที่ 3

รูปที่ 3 ฐานรากที่รบั แรงในแนวดิ่ง แรงในแรวราบและโมเมนต์ดัด

เมื่อฐานรากต้องรับโมเมนต์ดัด หน่วยแรงที่เกิดขึ้นใต้ฐานรากคำนวณได้โดยการสมมุติให้ฐานรากมี ความแกร่ง


มากโดยคิดเป็นหน่วยแรงรวมระหว่างหน่วยแรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงกดในแนวดิ่ง และหน่วยแรงที่เกิดขึ้น
เนื่องจากโมเมนต์ดัด ถ้าให้แรงกดในแนวดิ่งเป็น Q และมีระยะเยื้องของแรงกดจากศูนย์ถ่วงของฐานรากเป็น e
(ดังรูปที่ 4) จะก่อให้เกิดโมเมนต์ดัดเป็น Qe หน่วยแรงรวมจะขึ้นกบัระยะเยื้องศูนย์ โดยถ้าระยะเยื้องศูนย์ e
ไม่เกิน B/6 หน่วยแรงกดเนื่องจากแรงในแนวดิ่งจะมากกว่าหน่วยแรงดึงเนื่องจากโมเมนต์ดัดหน่วยแรงรวมใต้
ฐานรากจึงเป็นหน่วยแรงกดทั้งหมด แต่ในกรณีที่ระยะเยื้องศูนย์ e เกินกว่า B/6 หน่วยแรงกดเนื่องจากแรงใน
แนวดิ่งจะน้อยกว่าหน่วยแรงดึงเนื่องจากโมเมนต์ดัดและทำ ให้บางส่วนของฐานรากเกิดหน่วยแรงดึงซึ่งในทาง
ปฏิบัติถือว่าดินรับแรงดึงได้น้อยมากฐานรากส่วนที่เกิดแรงดึงจึงไม่สัมผัสกับดินอีกต่อไป
4

รูปที่ 4 หน่วยแรงในดินใต้ฐานรากที่รบั แรงกรทำแบบเยื้องศูนย์

หลักฐานจากการทดลองกดฐานรากจำลองบนดินทรายและรับแรงกระทำเยื้องศูนย์ในแนวดิ่ง (รูปที่ 5)
เมือ่ ออกแรงกดจนกระทั่งดินวิบัติจะเห็นว่ามีบริเวณที่พื้นของฐานรากจำลองไม่สัมผัสกับดิน นั่น หมายความว่า
ความกว้างของฐานรากที่สัมผัสกับดินมีระยะลดลงซึง่ เป็นที่มาของหลักการของการลดความกว้างของฐานรากที่
เสนอโดย Meyerhof ดังจะได้กล่าวต่อไป
วิธีที่สะดวกและให้ค่าที่อยู่ในด้านปลอดภัยได้แก่วิธีของ Meyerhof (1953) ซึ่งแนะนำวิธีการวิเคราะห์
ไว้ โดยการที่

• สมมุติให้แรงลัพธ์ในแนวดิ่ง VT กระทำที่จุดกึ่งกลางของพื้นที่ฐานรากประสิทธิผล (โดยไม่พิจารณา


พื้นที่ที่อยู่นอกบริเวณนี้เลย) ซึ่งทำให้สามารถใช้สมการ Bearing capacity ของฐานรากที่มีแรงกระทำไม่เยื้อง
ศูนย์ได้(รูปที่ 5)

• โดยที่พื้นที่ฐานรากประสิทธิผล 𝐴𝑓 = 𝐵′𝐿′ โดย 𝐵′ = 𝐵 − 2𝑒𝐵 และ

• หน่วยแรงกดเฉลี่ยที่ฐานรากกระทำต่อดินเท่ากับ (Mean contact pressure)กระจายสม่ำเสมอ


ดังสมการ
VT
q=
B'L'
5

รูปที่ 5 การคำนวณ Bearing capacity ของฐานรากทีม่ ีแรงกระทำเยื้องศูนย์ โดยใช้วิธีพื้นทีป่ ระสิทธิผล

2.2) แรงกระทำเอียงจากแนวดิ่ง (Inclined loading)


เมื่อมีแรงกระทำในแนวราบต่อฐานรากจะทำให้แรงลัพธ์ไม่อยู่แนวดิ่งซึ่งจะทำให้โซนการวิบัติของฐาน
รากลดลงดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 แนวการวิบตั ิของดินเมื่อฐานรากรับแรงกระทำด้านข้าง (แรงลัพธ์เอียงจากแนวดิ่ง)


6

3) เสถียรภาพของกําแพงกันดินชนิดนี้ขึ้นอยู่กับนํ้าหนักของตัวมันเอง
กําแพงกันดินชนิดนี้จึงถูกเรียกว่า Gravity wall ในกรณีที่กําแพงกันดินมีความสูงมาก แรงดันดิน
ด้านข้างมีแนวโน้มที่จะทําให้กําแพงกัน ดินพลิกควํ่า (Overturning) เพื่อความประหยัด อาจเลือกใช้กําแพงกัน
ดินชนิด Cantilever wall ซึ่งมี ส่วนฐานยื่นออกมาอยู่ใต้ดินถม นํ้าหนักของดินถมที่อยู่เหนือฐานนี้จะช่วย
ป้องกันการพลิกคว่ำ

Gravity Wall Cantilever wall

รูปที่ 7 Gravity Wall และ Cantilever wall

เมื่อมีการถมดินด้านหลังกําแพงกันดิน กําแพงกันดินจะเกิดการเคลื่อนตัว เพื่อป้องกันการพลิกควํ่า


ของกําแพงกันดิน กําแพงกันดินจะถูกสร้างให้มีความชันเอียงด้านหน้า ความชันนี้เรียกว่า Batter
วัสดุที่ใช้ถมด้านหลังกําแพงกันดินเรียกว่า Backfill จะต้องเป็นวัสดุเม็ดหยาบที่มีความซึมผ่านสูง เช่น
ทราย กรวด หรือหินบด (Broken stone) ถ้าเป็นไปได้ควรหลีกเลียงการใช้ดินเม็ดละเอียดพวกดิน เหนียวเป็น
Backfill เนื่องจากดินประเภทนี้ก่อให้เกิดความดันด้านข้างอย่างมากต่อกําแพงกันดิน วิศวกร ผ็ออกแบบ
จําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเลือกวัสดุที่ใช้เป็น Backfill ให้เหมาะสม และจะต้องคํานึงถึงการเพิ่มขั้น ของระดับน้ำ
ใต้ดิน ซึ่งจะเป็นตัวเพิ่มความดันด้านข้างต่อกําแพงกันดิน
3.1) การวิบัติของกําแพงกันดิน การออกแบบกําแพงกันดินต้องคํานึงถึงสิ่งสําคัญสองประการดังนี้
1) กําแพงต้องมีเสถียรภาพภายนอก (External stability) ซึ่งหมายความว่ากําแพงกันดินต้องตั้งดิ่งในตําแหน่ง
2) กําแพงกันดินต้องมีเสถียรภาพภายใน โดยต้องความสามารถต้านความเค้นที่เกิดขึ้นภายใน โครงสร้างโดย
ปราศจากการพังทลาย
7

3.2) การวิเคราะห์เสถียรภาพภายนอกของกําแพงกันดิน
วิธีการออกแบบกําแพงกันดินต้านการวิบัติ ภายนอก คือ การสมมติขนาดและรูปร่างของกําแพง กัน
ดินและทําการตรวจสอบเสถียรภาพของกําแพง ถ้าพบว่าเสถียรภาพของกําแพงกันดินมีค่าต่ำหรือไม่ เพียงพอ
ก็ทําการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างใหม่ และทํา การตรวจสอบอีกครั้ง ขั้นตอนนี้จะถูกทําซ้ำๆ จนกระทั่ง
พบว่ากําแพงกันดินที่ออกแบบมี เสถียรภาพเพียงพอต่อการใช้งาน
กําแพงกันดินจะมีเสถียรภาพภายนอก เมื่อกําแพงกันดินไม่มีการเคลื่อนตัวในสามทิศทาง อันได้แก่ ใน
แนวนอน (การลื่นไถล) ในแนวดิ่ง (การทรุดตัวที่มากกว่าปกติ และการวิบัติเนื่องจากแรงแบกทานของดิน ใต้
ฐานราก) และการพลิกคว่ำ
การออกแบบเป็นการตรวจสอบเสถียรภาพของการเคลื่อนตัวในสามทิศทางนี้ เพื่อให้ได้อัตราส่วน
ปลอดภัยที่เหมาะสม การตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวนอนและการพลิกคว่ำอาศัยหลักการความสถิตย์
(Law of statics) สําหรับการตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งนั้นอาศัยทฤษฎีกําลังรับแรงแบกทานของ ดิน
(Bearing capacity theory)
3.3) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไถล
คืออัตราส่วนระหว่างแรงต้านทานการลื่นไถล (Sliding resistance force) ต่อแรงกระทํา (Sliding
force) แรงต้านทานการลื่นไถล คือผลคูณของแรงลัพธ์ใน แนวดิ่งที่กระทําต่อฐานของกําแพงกันดินกับ
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน(Coefficient of friction) ระหว่างฐานของกําแพงกันดินและดินด้านใต้ฐาน ส่วน
แรงที่กระทําให้เกิดการลื่นไถลส่วนมากจะเป็นแรงใน แนวนอนเนื่องจากแรงดันด้านข้างของดิน Backfill แรง
ต้านทานการลื่นไถล (S) สามารถคํานวณได้จาก

สำหรับฐานรากกี่เป็นทราย S = ∑〖vtan(0.67∅)〗
สำหรับฐานรากกี่เป็นดินเหนียว S=2/3 Su B

เมื่อ ∑V=w1+w2+w2+⋯+w5+Pv
ถ้าในการออกแบบพบว่ากําแพงกันดินแบบฐาน เรียบ (Flat-bottomed wall) มีอัตราส่วนปลอดภัยไม่ เป็นไป
ตามที่ต้องการ อาจทําการสร้างตัวต้านทานการลื่นไถลที่เรียกว่า Key ที่ฐานของกําแพงกันดิน ดินด้านหน้า
ของ Key ทําหน้าที่ต้านทานการลื่นไถลในฐานะของ ความดันที่สภาวะPassive ดังแสดงโดยโซนBCแต่ อย่างไร
ก็ตาม ดินด้านหน้าของ Key อาจจะหายไป เนื่องจากการกัดเซาะ ดังน้ัน ตัว Key นี้จะมีประสิทธิผล อย่างมาก
ถ้าถูกสร้างใต้ดินแข็งหรือหิน
8

3.4) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
หาได้จากอัตราส่วนระหว่างโมเมนต์ต้านทานการพลิกคว่ำ ทั้งหมด (Total righting moment,∑Mr )
ต่อโมเมนต์ทั้งหมดที่ก่อให้เกิดการพลิกควํ่า (Total overturning moment, Mo) ที่สภาวะสมดุลและการ
พลิกควํ่าเริ่มเกิดพอดี แรงปฏิกิริยาระหว่างดินและ กําแพงกันดินจะอยู่ที่จุด Toe พอดี ดังนั้น เพื่อความสะดวก
ในการคํานวณ (ไม่ต้องพิจารณาผลของแรง ปฏิกิริยา) โมเมนต์ที่ก่ อให้เกิดการพลิกควํ่า และโมเมนต์ต้านการ
พลิกควํ่าทั้งหมดสามารถคํานวณได้จาก

𝑀𝑜 = 𝑃𝑎 ∗ 𝐻/3
∑𝑀𝑟 = 𝑀𝑟1 + 𝑀𝑟2 + 𝑀𝑟3 + ⋯ + 𝑀𝑟5 + (𝑃𝑣 ∗ 𝐵)
เมื่อ 𝑀𝑟𝑖 = 𝑊𝑖 𝑋𝑖
Xi = คือระยะในแนวนอนที่วัดจากจุด Toe จนถึง Wi
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากแรงแบกทานของดิน หาได้จากอัตราส่วนระหว่างกําลังรับ แรงแบก
ทานประลั ย (Ultimate bearing capacity) ต่ อ ความดั น ที ่ ม ากที่ ส ุ ดที ่ ก ระทำต่อ ฐานของกํ า แพงกั น ดิ น
(Actualmaximumcontactpressure) แรงในแนวนอนอันเนื่องจากแรงดันด้านข้างของดิ นมัก ก่อให้เกิด
โมเมนต์ในฐานรากของกําแพงกันดิน ซึ่งอาจส่งผลให้ความเค้นในดินใต้ฐานรากไม่สม่ำเสมอ
3.5) ระยะเยื้องศูนย์และความดันดินใต้ฐานราก
สามารถคํานวณได้จากสมการด้านล่าง จากประสบการณ์ การออกแบบ ควรทำการตรวจสอบการ
เสถียรภาพเนื่องจากการวิบัติของดินฐานรากและระยะเยื้องศูนย์ก่อน การตรวจสอบเสถียรภาพด้านอื่น
เนื่องจากเสถียรภาพด้านนี้จะเป็นตัววิกฤติที่สุด
𝐵 (∑ 𝑀𝑟 − 𝑀0) 𝐵
𝑒 = − <
2 ∑𝑉 6
∑𝑉 6𝑒
𝑞𝑚𝑎𝑥 = ( ) (1 + ) < 𝑞𝑎𝑙𝑙
𝐵 𝐵

∑𝑉 6𝑒
𝑞𝑚𝑖𝑛 = ( ) (1 − ) > 0
𝐵 𝐵
9

รายการคำนวณ

รูปที่ 1 โจทย์และข้อมูลประกอบ

1) ที่ระดับความลึก Y = 1.5 ใช้ Tx=0.12 m. Ty=0.6 m. X1=2.1 m. X2=4 m.


สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Active
 30 
K a = tan 2  45 −  = 0.333
 2 

ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งที่ผิวเท่ากับ
 'v = q = 20 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งระดับความลึก 2 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'v = 20 + (20  2) = 60 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนที่ผิวเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 20  0.333 = 6.66 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนระดับความลึก 2 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 60  0.333 = 19.98 kPa
แรงดันดินที่สภาวะ Active เท่ากับ
1
Pa = (6.66 + 19.98)  2 = 26.64 kN/m
2
10

ตำแหน่งของแรงลัพธ์เท่ากับ
 2 1 2
 6.66  2   +   (19.98 − 6.66)  2  
y=
2 2 3
= 0.83 m.
26.64
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Passive
 30 
K P = tan 2  45 + =3
 2 

แรงดันดินที่สภาวะ Passive เท่ากับ


1
pp = ( 3) (20) ( 0.5) = 7.5 กิโลนิวตันต่อเมตร
2

2
0.5
กระทำที่ระยะเท่ากับ = 0.167 เมตร จากบานรากกำแพงกันดิน
3

ก) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล

น้ำหนักบรรทุกที่กระทำบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = (0.5 − 0.12)  2.1 20 = 15.96 กิโลนิวตันต่อเมตร
W2 = (2 − 0.12)  0.5  24 = 27.072 กิโลนิวตันต่อเมตร
W3 = 6.7  0.12  24 = 19.296 กิโลนิวตันต่อเมตร
W4 = (2 − 0.12)  4  20 = 150.4 กิโลนิวตันต่อเมตร
แรงเสียดทานใต้ฐานรากเท่ากับ
S = (15.96 + 27.072 + 19.296 + 150.4 )  tan 0.67(30 ) = 77.847 กิโลนิวตันต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไถลเท่ากับ
77.847
FSs = = 4.07  1.5 OK
26.64 − 7.5
11

ข) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำเท่ากับ
M 0 = Pa  y = 26.64  0.83 = 22.2 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
M r = W1 x1 + W2 x2 + W3 x3 + W4 x4
M r = (15.96 1.05) + ( 27.072  2.4 ) + (19.296  3.35) + (150.4  4.7 ) + ( 7.5  0.167 )
M r = 854.5 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
854.5
FS0 = = 38.49  1.5 OK
22.2

ค) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) และการกระจาย


ความดันใต้ฐานกำแพงกันดิน

ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A

B   M r − M o  5.6  854.5 − 22.2  B


e= −  = −  = −0.563  = (1.12) OK

2  V  2  212.728  6

ใช้ค่า e เป็นบวกเท่ากับ 0.524


 V   6e   212.728  6  0.563 
qmax =   1 +  =  1 +  = 47.75  qall OK
 B  B   6.7  6.7 

 V   6e   212.728  6  0.563 
qmin =   1 −  =  1 −  = 15.756  qall OK
 B  B   6.7  6.7 

ความกว้างประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 6.7 − ( 2  0.563) = 5.575 เมตร


ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesical
 30 
N q = e tan(30) tan 2  45 +  = 1.056
 2 

N = 2(1.056 + 1) tan 30 = 2.374


12

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
qu ( net ) = qNq +  BN
2
1
qu ( net ) = (10)(1.056) + (20)(5.575)(2.374) = 142.927 kPa
2

แรงแบกทานประลัยสุทธิเท่ากับ
Qu = qu B ' = 142.927  5.575 = 796.810 kPa
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทานเท่ากับ
Qu 796.810
FS = = = 3.746  3 OK
V 212.728

2) ที่ระดับความลึก Y = 2.25 ใช้ Tx=0.15 m. Ty=0.6 m. X1=2.3 m. X2=4 m.

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Active
 30 
K a = tan 2  45 −  = 0.333
 2 

ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งที่ผิวเท่ากับ
 'v = q = 20 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งระดับความลึก 2.75 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'v = 20 + (20  2.75) = 75 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนที่ผิวเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 20  0.333 = 6.66 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนระดับความลึก 2.75 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 75  0.333 = 24.975 kPa
แรงดันดินที่สภาวะ Active เท่ากับ
1
Pa = (6.66 + 24.975)  2.75 = 43.498 kN/m
2
13

ตำแหน่งของแรงลัพธ์เท่ากับ
 2.75   1 2.75 
 6.66  2.75   +   (24.975 − 6.66)  2.75  
y=  2  2 3 
= 1.1 m.
43.498
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Passive
 30 
K P = tan 2  45 + =3
 2 

แรงดันดินที่สภาวะ Passive เท่ากับ


1
pp = ( 3) (20) ( 0.5) = 7.5 กิโลนิวตันต่อเมตร
2

2
0.5
กระทำที่ระยะเท่ากับ = 0.167 เมตร จากบานรากกำแพงกันดิน
3

ก) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล

น้ำหนักบรรทุกที่กระทำบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = (0.5 − 0.15)  2.3  20 = 16.1 กิโลนิวตันต่อเมตร
W2 = (2.75 − 0.15)  0.6  24 = 37.44 กิโลนิวตันต่อเมตร
W3 = 6.9  0.15  24 = 24.84 กิโลนิวตันต่อเมตร
W4 = (2.75 − 0.15)  4  20 = 208 กิโลนิวตันต่อเมตร
แรงเสียดทานใต้ฐานรากเท่ากับ
S = (16.1 + 37.44 + 24.84 + 208 )  tan 0.67(30 ) = 104.800 กิโลนิวตันต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไถลเท่ากับ
104.800
FSs = = 2.91  1.5 OK
43.498 − 7.5
14

ข) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำเท่ากับ
M 0 = Pa  y = 43.498 1.11 = 48.268 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
M r = W1 x1 + W2 x2 + W3 x3 + W4 x4
M r = (16.11.15 ) + ( 37.44  2.6 ) + ( 24.84  3.45 ) + ( 208  4.9 ) + ( 7.5  0.167 )
M r = 1222 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
1222
FS0 = = 25.32  1.5 OK
48.268

ค) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) และการกระจาย


ความดันใต้ฐานกำแพงกันดิน

ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A

B   M r − M o  6.9  1222 − 48.268  B


e= −  = −  = −0.649  = (1.15) OK

2  V  2  286.38  6

ใช้ค่า e เป็นบวกเท่ากับ 0.524


 V   6e   286.38  6  0.649 
qmax =   1 +  =  1 +  = 64.92  qall OK
 B  B   6.9  6.9 

 V   6e   238.38  6  0.649 
qmin =   1 −  =  1 −  = 18.098  qall OK
 B  B   6.9  6.9 

ความกว้างประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 6.9 − ( 2  0.649 ) = 5.603 เมตร


ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesical
 30 
N q = e tan(30) tan 2  45 +  = 1.367
 2 

N = 2(1.367 + 1) tan 30 = 2.734


15

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
qu ( net ) = qNq +  BN
2
1
qu ( net ) = (10)(1.367) + (20)(5.603)(2.734) = 166.832 kPa
2

แรงแบกทานประลัยสุทธิเท่ากับ
Qu = qu B ' = 166.832  5.603 = 934.479 kPa
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทานเท่ากับ
Qu 934.749
FS = = = 3.264  3 OK
V 286.38

3) ที่ระดับความลึก Y = 3.0 ใช้ Tx=0.28 m. Ty=0.6 m. X1=3 m. X2=3 m.

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Active
 30 
K a = tan 2  45 −  = 0.333
 2 

ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งที่ผิวเท่ากับ
 'v = q = 20 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งระดับความลึก 3.5 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'v = 20 + (20  3.5) = 90 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนที่ผิวเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 20  0.333 = 6.66 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนระดับความลึก 3.5 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 90  0.333 = 29.97 kPa
แรงดันดินที่สภาวะ Active เท่ากับ
1
Pa = (6.66 + 29.97)  3.5 = 64.103 KN/m
2
16

ตำแหน่งของแรงลัพธ์เท่ากับ
 3.5   1 3.5 
 6.66  3.5   +   (29.97 − 6.66)  3.5  
y=  2  2 3 
= 1.38 m.
64.103
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Passive
 30 
K P = tan 2  45 + =3
 2 

แรงดันดินที่สภาวะ Passive เท่ากับ


1
pp = ( 3) (20) ( 0.5) = 7.5 กิโลนิวตันต่อเมตร
2

2
0.5
กระทำที่ระยะเท่ากับ = 0.167 เมตร จากบานรากกำแพงกันดิน
3

ก) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล

น้ำหนักบรรทุกที่กระทำบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = (0.5 − 0.28)  3  20 = 13.2 กิโลนิวตันต่อเมตร
W2 = (3.5 − 0.28)  0.6  24 = 46.368 กิโลนิวตันต่อเมตร
W3 = 0.28  6.6  24 = 44.252 กิโลนิวตันต่อเมตร
W4 = (3.5 − 0.28)  3  20 = 193.2 กิโลนิวตันต่อเมตร
แรงเสียดทานใต้ฐานรากเท่ากับ
S = (13.2 + 46.368 + 44.352 + 193.2 )  tan 0.67(30 ) = 108.73 กิโลนิวตันต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไถลเท่ากับ
108.730
FSs = = 1.92  1.5 OK
64.103 − 7.5
17

ข) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำเท่ากับ
M 0 = Pa  y = 64.103 1.38 = 88.383 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
M r = W1 x1 + W2 x2 + W3 x3 + W4 x4
M r = (13.2 1.5 ) + ( 46.368  3.3) + ( 44.352  3.3) + (193.2  5.1) + ( 7.5  0.167 )
M r = 1305.746 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
1305.746
FS0 = = 14.77  1.5 OK
88.373

ค) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) และการกระจาย


ความดันใต้ฐานกำแพงกันดิน

ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A

B   M r − M o  6.6  1305.746 − 88.373  B


e= −  = −  = −0.797  = (1.10) OK

2  V  2  297.12  6

ใช้ค่า e เป็นบวกเท่ากับ 0.524


 V   6e   297.12  6  0.797 
qmax =   1 +  =  1 +  = 77.644  qall OK
 B  B   6.6  6.6 

 V   6e   297.12  6  0.797 
qmin =   1 −  =  1 −  = 12.392  qall OK
 B  B   6.6  6.6 

ความกว้างประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 6.6 − ( 2  0.797 ) = 5.005 เมตร


ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesical
 30 
N q = e tan(30) tan 2  45 +  = 1.988
 2 

N = 2(1.988 + 1) tan 30 = 3.451


18

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
qu ( net ) = qNq +  BN
2
1
qu ( net ) = (10)(1.988) + (20)(5.005)(3.451) = 192.617 kPa
2

แรงแบกทานประลัยสุทธิเท่ากับ
Qu = qu B ' = 192.617  5.005 = 964.161 kPa
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทานเท่ากับ
Qu 964.161
FS = = = 3.245  3 OK
V 297.12

4) ที่ระดับความลึก Y = 3.75 ใช้ Tx=0.28 m. Ty=0.6 m. X1=3.2 m. X2=3.4 m.

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Active
 30 
K a = tan 2  45 −  = 0.333
 2 

ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งที่ผิวเท่ากับ
 'v = q = 20 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งระดับความลึก 4.25 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'v = 20 + (20  4.25) = 105 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนที่ผิวเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 20  0.333 = 6.66 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนระดับความลึก 4.25 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 105  0.333 = 34.965 kPa
แรงดันดินที่สภาวะ Active เท่ากับ
1
Pa = (6.66 + 34.965)  4.25 = 88.453 k kN/m
2
19

ตำแหน่งของแรงลัพธ์เท่ากับ
 4.25   1 4.25 
 6.66  4.25   +   (34.965 − 6.66)  4.25  
y=  2  2 3 
= 1.64 m.
88.453
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Passive
 30 
K P = tan 2  45 + =3
 2 

แรงดันดินที่สภาวะ Passive เท่ากับ


1
pp = ( 3) (20) ( 0.5) = 7.5 กิโลนิวตันต่อเมตร
2

2
0.5
กระทำที่ระยะเท่ากับ = 0.167 เมตร จากบานรากกำแพงกันดิน
3

ก) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล

น้ำหนักบรรทุกที่กระทำบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = (0.5 − 0.3)  3.2  20 = 12.8 กิโลนิวตันต่อเมตร
W2 = (4.25 − 0.3)  0.6  24 = 56.88 กิโลนิวตันต่อเมตร
W3 = 0.3  7.2  24 = 51.84 กิโลนิวตันต่อเมตร
W4 = (4.25 − 0.3)  3.2  20 = 268.6 กิโลนิวตันต่อเมตร
แรงเสียดทานใต้ฐานรากเท่ากับ
S = (12.8 + 56.88 + 51.84 + 268.6 )  tan 0.67(30 ) = 142.764 กิโลนิวตันต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไถลเท่ากับ
142.764
FSs = = 1.76  1.5 OK
88.453 − 7.5
20

ข) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำเท่ากับ
M 0 = Pa  y = 88.453 1.64 = 145.358 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
M r = W1 x1 + W2 x2 + W3 x3 + W4 x4
M r = (12.8 1.6 ) + ( 56.88  3.5) + ( 51.84  3.6 ) + ( 268.6  5.5) + ( 7.5  0.167 )
M r = 1884.734 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
1884.734
FS0 = = 12.97  1.5 OK
145.358

ค) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) และการกระจาย


ความดันใต้ฐานกำแพงกันดิน

ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A

B   M r − M o  7.2  1884.734 − 145.358  B


e= −  = −  = −0.859  = (1.2) OK

2  V  2  390.12  6

ใช้ค่า e เป็นบวกเท่ากับ 0.524


 V   6e   390.12  6  0.859 
qmax =   1 +  =  1 +  = 92.950  qall OK
 B  B   7.2  7.2 

 V   6e   390.12  6  0.859 
qmin =   1 −  =  1 −  = 15.417  qall OK
 B  B   7.2  7.2 

ความกว้างประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 7.2 − ( 2  0.859 ) = 5.483 เมตร


ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesical
 30 
N q = e tan(30) tan 2  45 +  = 2.275
 2 

N = 2(2.275 + 1) tan 30 = 3.781


21

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
qu ( net ) = qNq +  BN
2
1
qu ( net ) = (10)(2.275) + (20)(5.483)(3.781) = 230.081 kPa
2

แรงแบกทานประลัยสุทธิเท่ากับ
Qu = qu B ' = 230.081 5.483 = 1261.505 kPa
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทานเท่ากับ
Qu 1261.505
FS = = = 3.234  3 OK
V 390.12

5) ที่ระดับความลึก Y = 4.5 ใช้ Tx=0.4 m. Ty=0.6 m. X1=3.6 m. X2=3.8 m.

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Active
 30 
K a = tan 2  45 −  = 0.333
 2 

ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งที่ผิวเท่ากับ
 'v = q = 20 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวดิ่งระดับความลึก 5 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'v = 20 + (20  5.0) = 120 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนที่ผิวเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 20  0.333 = 6.66 kPa
ความเค้นประสิทธิผลในแนวนอนระดับความลึก 5 เมตร จากผิวดินเท่ากับ
 'a =  'v  K a = 120  0.333 = 39.96 kPa
แรงดันดินที่สภาวะ Active เท่ากับ
1
Pa = (6.66 + 39.96)  5 = 116.55 kN/m
2
22

ตำแหน่งของแรงลัพธ์เท่ากับ
 5 1 5
 6.66  5   +   (39.96 − 6.66)  5  
y=
2 2 3
= 1.90 m.
116.550
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาวะ Passive
 30 
K P = tan 2  45 + =3
 2 

แรงดันดินที่สภาวะ Passive เท่ากับ


1
pp = ( 3) (20) ( 0.5) = 7.5 กิโลนิวตันต่อเมตร
2

2
0.5
กระทำที่ระยะเท่ากับ = 0.167 เมตร จากบานรากกำแพงกันดิน
3

ก) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล

น้ำหนักบรรทุกที่กระทำบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = (0.5 − 0.4)  3.6  20 = 7.2 กิโลนิวตันต่อเมตร
W2 = (5 − 0.4)  0.6  24 = 66.24 กิโลนิวตันต่อเมตร
W3 = 0.4  8  24 = 76.8 กิโลนิวตันต่อเมตร
W4 = (5 − 0.4)  3.8  20 = 349.6 กิโลนิวตันต่อเมตร
แรงเสียดทานใต้ฐานรากเท่ากับ
S = ( 7.2 + 66.24 + 76.8 + 349.6 )  tan 0.67(30 ) = 183.915 กิโลนิวตันต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไถลเท่ากับ
183.915
FSs = = 1.68  1.5 OK
116.550 − 7.5
23

ข) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำเท่ากับ
M 0 = Pa  y = 116.550 1.90 = 222 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
M r = W1 x1 + W2 x2 + W3 x3 + W4 x4
M r = ( 7.2 1.8 ) + ( 66.24  3.9 ) + ( 76.8  4 ) + ( 349.6  6.1) + ( 7.5  0.167 )
M r = 2712.31 กิโลนิวตัน-เมตรต่อเมตร
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำเท่ากับ
2712.31
FS0 = = 12.22  1.5 OK
222

ค) อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังแรงแบกทาน (Bearing capacity failure) และการกระจาย


ความดันใต้ฐานกำแพงกันดิน

ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A

B   M r − M o  8  2712.31 − 222  B
e= −  = −   = −0.982  = (1.33) OK

2  V  2  499.84  6

ใช้ค่า e เป็นบวกเท่ากับ 0.524


 V   6e   499.84  6  0.982 
qmax =   1 +  =  1 +  = 108.506  qall OK
 B  B   8  8 

 V   6e   499.84  6  0.982 
qmin =   1 −  =  1 −  = 16.454  qall OK
 B  B   8  8 

ความกว้างประสิทธิผลมีค่าเท่ากับ 8 − ( 2  0.982 ) = 6.036 เมตร


ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesical
 30 
N q = e tan(30) tan 2  45 +  = 2.904
 2 

N = 2(2.904 + 1) tan 30 = 4.508


24

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
qu ( net ) = qNq +  BN
2
1
qu ( net ) = (10)(2.904) + (20)(6.036)(4.508) = 301.109 kPa
2

แรงแบกทานประลัยสุทธิเท่ากับ
Qu = qu B ' = 301.109  6.036 = 1817.368 kPa
อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทานเท่ากับ
Qu 1817.368
FS = = = 3.636  3 OK
V 499.84

บทสรุป
จากโจทย์ต้องการให้ออกแบบกำแพงกันดินแบบ Cantilever Wall ให้มีเสรียรภาพโดยใช้ความสูง (Y)
ตามกำหนด (Type A B C D และ E )เป็น 1.5m.,2.25m.,3.0m.,3.75m. และ 4.5m.ตามลำดับ q=20 Kpa
ข้อมูลที่ต้องกำหนดเองประกอบด้วย Ty, Tx, X1, X2 และ X3 ดังนี้
Type A ความลึกที่ (Y) = 1.5 m. ใช้ ความหนาฐานหนาราก (Tx) =0.12 m. ความหนากำแพง (Ty) =0.6 m.
ความยาวฐานรากด้านสั้น (X1) =2.1 m.ความยาวฐานรากด้านยาว (X2) =4 m. ความลึกทั้งหมด (H) =2 m.
ความยาวฐานรากรวม =6.7 m.
Type B ความลึกที่ (Y)= 2.25 m. ใช้ ความหนาฐานหนาราก (Tx) =0.15 m. ความหนากำแพง (Ty) =0.6 m
ความยาวฐานรากด้านสั้น (X1) =2.3 m.ความยาวฐานรากด้านยาว (X2) =4 m. ความลึกทั้งหมด (H) =2.75
m. ความยาวฐานรากรวม =6.9 m.
Type C ความลึกที่ (Y) = 3.0 m. ใช้ ความหนาฐานหนาราก (Tx) =0.28 m. ความหนากำแพง (Ty) =0.6 m
ความยาวฐานรากด้านสั้น (X1) =3 m.ความยาวฐานรากด้านยาว (X2) =3 m. ความลึกทั้งหมด (H) =3.5 m.
ความยาวฐานรากรวม =6.6 m.
Type D ความลึกที่ (Y) = 3.75 m. ใช้ ความหนาฐานหนาราก (Tx) =0.28 m. ความหนากำแพง (Ty) =0.6
mความยาวฐานรากด้านสั้น (X1) =3.2 m.ความยาวฐานรากด้านยาว (X2) =3.4 m. ความลึกทั้งหมด (H)
=4.25 m. ความยาวฐานรากรวม =7.2 m.
Type E ความลึกที่ (Y) = 4.5 m. ใช้ ความหนาฐานหนาราก (Tx) =0.40 m. ความหนากำแพง (Ty) =0.6 m
ความยาวฐานรากด้านสั้น (X1) =3.6 m.ความยาวฐานรากด้านยาว (X2) =3.8 m. ความลึกทั้งหมด (H) =5
m. ความยาวฐานรากรวม =8 m.
จากข้อมูลตัวที่ควบคุมคือ ความลึก , ความยาวฐานด้านสั้นและความยาวฐานรากด้านยาวช่วยในการ
ต้านการพลิกคว่ำ , การวิบัติและช่วยต้านการไถล

เอกสารอ้างอิง
ข้อมูลอ้างอิง : http://eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter2.pdf
ข้อมูลอ้างอิง : http://eng.sut.ac.th/ce/download/news/civil55.pdf
ข้อมูลอ้างอิง : http://eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter5.pdf
ข้อมูลอ้างอิง : http://eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf
ข้อมูลอ้างอิง : Rankine (Balasubramaniam, 1996)
ข้อมูลอ้างอิง
https://books.google.co.th/books?id=F0IjEAAAQBAJ&pg=PT189&lpg=PT189&dq
=Rankine+(Balasubramaniam,+1996)&source=bl&ots=Lgl0ZMO3tG&sig=ACfU3
U1wV2H5ZfwcpJ4cynHyv8IW4efvwA&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwjbk-
GH5ob4AhUhaGwGHbvJArsQ6AF6BAgTEAM#v=onepage&q=Rankine%20(Balas
ubramaniam%2C%201996)&f=false

You might also like