You are on page 1of 17

เอกสาร

ประกอบการ
บรรยายครั้งที่ 1
ตอนที่ 1

วิชา
Economics II 1
Sect 2

ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕


แนวทางในการเรียนเศรษฐศาสตร์มหภาค
เข้าดูบทเรียนสม่าเสมอและครบถ้วน
เนื่องจากวิชานี้มีความต่อเนื่องสูง
วิชานี้เป็นวิชาทีต่ ้องเข้าใจ เปรียบเทียบง่าย ๆ กับการสอนเขียนตัวเลข
ถ้าวันแรกสอนเขียน เลข 1-9 แล้วไม่เข้า
ไม่ใช่ท่องจา เรียน และ/หรือไม่เข้าใจ วันต่อไปสอนเลข
12 คุณจะไม่สามารถนา 1 และ 2 มา
ประกอบเป็นเลข 12
เศรษฐศาสตร์มหภาคประกอบด้วยตัว
แปรหลายตัว มีนิสิตประเมินว่าอาจารย์ กราฟ และสมการ คือ สิ่งที่ช่วย
ผู้สอนใช้ตัวย่อมากไป ขอทาความเข้าใจ
ว่า เรากาลังพูดถึง “ตัวแปร” ที่เขียน
ให้เราสามารถเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
เป็นมาตรฐาน ดังนั้นหากไม่ฟัง/ไม่เข้าใจ การวิเคราะห์ลอย ๆ ไม่ช่วย
ตั้งแต่แรก อาจทาให้คิดไปว่าใช้ตัวย่อ
ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 2
เศรษฐศาสตร์คืออะไร
ทาไมจึงเป็นเรื่องใกล้ตัวและ
มีความสาคัญ
• เราต่างก็มีวิธีคิดแบบเศรษฐศาสตร์
ทุกคนต้องตัดสินใจเลือก (make a
choice) อยู่ตลอดเวลา
• ทุกครั้งที่เลือกต้องมีการแลก “ได้อย่างเสีย
อย่าง” (trade off)

• กิจกรรม: นิสติ ลองยกตัวอย่างการเลือกที่เพิ่ง


เกิดขึน้ ของนิสติ

ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 3


วิชาเศรษฐศาสตร์
• วิชาที่ว่าด้วยการจัดสรรทรัพยากรเพื่อนามาสนองความต้องการของมนุษย์ซึ่งมีไม่จากัด ทั้งในระดับบุคคล
ครอบครัว และประเทศชาติ โดยให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อความอยู่ดีกินดีของมนุษย์

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย “หนังสือเรียนเสริมวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เล่มเดียวอยู่” (2555)


ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 4
เรียนเศรษฐศาสตร์แล้วได้
๒๕๖๕
ภาคต้น ปี การศึกษา

ประโยชน์อะไร
แขนงวิชาเศรษฐศาสตร์
๒๕๖๕
ภาคต้น ปี การศึกษา

แบ่งเป็น ๒ แขนงหลัก
ปัญหาพื้นฐานทาง

๒๕๖๕
ภาคต้น ปี การศึกษา
เศรษฐศาสตร์
ภาคต้น ปี การศึกษา
๒๕๖๕

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
หน่วยเศรษฐกิจ
(Economic Unit)
• การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกิดกับทุกคนที่
รวมกันอยู่ในสังคม ที่เราเรียกว่า “หน่วยเศรษฐกิจ”
(Economic Unit)

ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 9


ปัจจัยการผลิต (Factors of
Production)
หมายถึง อะไรก็ตามที่ตอ้ งนามาใช้ในกระบวนการผลิต เพื่อให้เกิด
เป็นสินค้าและบริการขึน้ มา ในทางเศรษฐศาสตร์เราแบ่งปัจจัย
การผลิตเป็น ๔ ประเภทดังนี้
๑. ที่ดิน (Land) หมายถึงที่ดนิ ที่ใช้ในการเพาะปลูก รวมถึง
การใช้เป็นสถานทีข่ องอาคารโรงงานทีท่ าการผลิตด้วย
๒. แรงงาน (Labour) หมายถึง ความคิดและกาลังกายของ
มนุษย์ที่ได้นาไปใช้ในการผลิต
๓. ทุน (Capital) หมายถึง สิ่งก่อสร้าง และเครื่องมือ
เครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต
๔. ผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) หมายถึง ผู้ที่
รวบรวมปัจจัยการผลิตต่าง ๆ มาทาการผลิตเพื่อให้ได้ผล
ผลิตที่ต้องการ

ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 10


ผลตอบแทนของปัจจัยการ
ผลิต
• เจ้าของที่ดิน (Land) ได้รับค่าเช่า (Rent)
• เจ้าของแรงงาน (Labour) ได้รับค่าจ้าง (Wage or
Salary)
• เจ้าของทุน (Capital) ได้รับดอกเบี้ย (Interest)
หรือ ค่าเช่า (Rent)
• ผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) ได้รับกาไร
(Profit)

ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ 11


หน่วยครัวเรือน
ระบบเศรษฐกิจประกอบด้วย
หน่วยเศรษฐกิจดังนี้
หน่วยธุรกิจ

หน่วยรัฐบาล
ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 12
หน่วยเศรษฐกิจ

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย “หนังสือเรียนเสริมวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เล่มเดียวอยู่” (2555)


ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 13
การแก้ปัญหาพื้นฐานทาง
เศรษฐศาสตร์
• หน่วยเศรษฐกิจทั้งสามหน่วย ได้แก่ หน่วยครัวเรือน หน่วยธุรกิจ
และหน่วยรัฐบาล จะมารวมตัวกันเพื่อดาเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ ซึ่งเมื่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจมีมากขึ้น และเกิดการ
เชื่อมโยงกัน จึงเกิดเป็น “ระบบเศรษฐกิจ”

ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 14


ภาคต้น ปี การศึกษา
๒๕๖๕

ระบบเศรษฐกิจ
ภาคต้น ปี การศึกษา
๒๕๖๕

ระบบเศรษฐกิจ (ต่อ)
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย “หนังสือเรียนเสริมวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เล่มเดียวอยู่” (ธันวาคม2563)
ภาคต้น ปี การศึกษา ๒๕๖๕ ตอนเรียนที่ 2 บรรยายโดย รศ.ดร.พรกมล ไตรวิทยางกูร 17

You might also like