You are on page 1of 27

1 บทที่ 3 2 บทที่ 3

ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

บทที่ 3 3.1 พิกดั ฉากในปริภูมิสามมิติ


การบอกตําแหน่งของจุดในปริภมู ิสามมิตวิ ิธี เราใช้ ท่อี ้ างอิงเป็ น
ปริภมู ิสามมิติ เส้ นตรงสามเส้ น (เรียกว่า แกน X แกน Y และแกน Z)
ซึ่งตัดและตั้งฉากซึ่งกันและกันที่จุด O
เราเรียกแกนทั้งสามว่า แกนพิกดั ฉาก
เรียกจุด O ว่า จุดกําเนิด
เรียกระนาบที่ผ่านแกน X และแกน Y ว่า ระนาบ XY
เรียกระนาบที่ผ่านแกน Y และแกน Z ว่า ระนาบ YZ
เรียกระนาบที่ผ่านแกน X และแกน Z ว่า ระนาบ XZ
และเรียกระนาบทั้งสามว่า ระนาบพิกดั ฉาก
ดังรูปที่ 3.1.1

รูปที่ 3.1.1

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

3 บทที่ 3 4 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ระนาบพิกดั ฉากจะตั้งฉากซึ่งกันและกัน การเลือกทิศทางที่เป็ นบวกบนแกนพิกดั ฉาก เรานิยมใช้


และแบ่งปริภมู สิ ามมิตอิ อกเป็ น 8 ส่วน กฎมือขวา
เรียกว่า อัฐภาค ดังรูปที่ 3.1.2 กล่าวคือ
ถ้ าเราวางมือขวาโดยให้ น้ ิวหัวแม่มือ นิ้วชี้ และนิ้วกลาง
อยู่ในลักษณะตั้งฉากซึ่งกันและกัน
ให้
นิ้ วหัวแม่มือ ชี้ไปใน ทิศทางทีเ่ ป็ นบวกของแกน X
นิ้ วชี้ ชี้ไปใน ทิศทางทีเ่ ป็ นบวกของแกน Y
และ นิ้ วกลาง ชี้ไปใน ทิศทางทีเ่ ป็ นบวกของแกน Z
ระยะบนแกนพิกดั ฉากในทิศทางที่กล่าวมานี้จะเป็ นบวก
และระยะบนแกนพิกดั ฉากในทิศทางที่ตรงข้ ามกับที่กล่าวมานี้
เป็ นลบ
ตัวอย่างดังรูปที่ 3.1.3
รูปที่ 3.1.2 เราจะใช้ แบบหนึ่งแบบใดก็ได้ ตามความเหมาะสม

รูปที่ 3.1.3

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


5 บทที่ 3 6 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ให้ P เป็ นจุดในปริภมู ิสามมิติ


เราจะบอกตําแหน่งของจุด P ด้ วยลําดับของสามจํานวนจริง (x,
y, z) เราเรียก x, y และ z ว่า ส่วนประกอบที่ 1, 2 และ 3
ของ (x, y, z) ตามลําดับ และเรียก (x, y, z) ว่าพิกดั ฉาก ของ
จุด P ซึ่งเราจะหาส่วนประกอบทั้งสามได้ ดงั นี้

รูปที่ 3.1.4
ข้อสังเกต
1. จุด Q คือ ภาพฉายของจุด P บนระนาบ XY
และพิกดั ของ Q คือ (x, y, 0)
2. จุด A(x, 0, 0) คือ ภาพฉายของจุด P บนแกน X
รูปที่ 3.1.4 จุด B(0, y, 0) คือ ภาพฉายของจุด P บนแกน Y
รูปที่ 3.1.4 แสดงจุด P ในปริภมู ิสามมิติ จุด C(0, 0, z) คือ ภาพฉายของจุด P บนแกน Z
จากจุด P ลากเส้ นขนานกับแกน Z พบระนาบ XY ที่จุด Q
ระยะ PQ = z หมายเหตุ
จากจุด Q ลากเส้ นขนานกับแกน Y พบแกน X ที่จุด A ั ลักษณ์ R 3 แทนเซตของลําดับของสามจํานวนจริง
เราใช้ สญ
ระยะ OA = x หรือเซตของจุดในปริภมู ิสามมิติ
จากจุด Q ลากเส้ นขนานกับแกน X พบแกน Y ที่จุด B
ระยะ OB = y
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

7 บทที่ 3 8 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.1.1 2. การแสดงตําแหน่งของจุด Q(–4, 6, –6)


จงเขียนกราฟในปริภมู ิสามมิติ แสดงตําแหน่งของจุด จากจุด O ไปยังจุด A ตามแนวแกน X ทางด้ านลบ
1. P(5, 8, 7) 2. Q(–4, 6, –6) เป็ นระยะทาง 4 หน่วย
3. S(–6, –9, –8) 4. T(4, –4, 4) จากจุด A ไปยังจุด B ขนานกับแกน Y ทางด้ านบวก
วิธีทํา เป็ นระยะทาง 6 หน่วย
1. การแสดงตําแหน่งของจุด P(5, 8, 7) จากจุด B ไปยังจุด Q ขนานกับแกน Z ทางด้ านลบ
จากจุด O ไปยังจุด A ตามแนวแกน X ทางด้ านบวก เป็ นระยะทาง 6 หน่วย
เป็ นระยะทาง 5 หน่วย
จากจุด A ไปยังจุด B ขนานกับแกน Y ทางด้ านบวก
เป็ นระยะทาง 8 หน่วย
จากจุด B ไปยังจุด P ขนานกับแกน Z ทางด้ านบวก
เป็ นระยะทาง 7 หน่วย

รูปที่ 3.1.6

รูปที่ 3.1.5

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


9 บทที่ 3 10 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3. การแสดงตําแหน่งของจุด S(–6, –9, –8) 4. การแสดงตําแหน่งของจุด T(4, –4, 4)


จากจุด O ไปยังจุด A ตามแนวแกน X ทางด้ านลบ จากจุด O ไปยังจุด A ตามแนวแกน X ทางด้ านบวก
เป็ นระยะทาง 6 หน่วย เป็ นระยะทาง 4 หน่วย
จากจุด A ไปยังจุด B ขนานกับแกน Y ทางด้ านลบ จากจุด A ไปยังจุด B ขนานกับแกน Y ทางด้ านลบ
เป็ นระยะทาง 9 หน่วย เป็ นระยะทาง 4 หน่วย
จากจุด B ไปยังจุด S ขนานกับแกน Z ทางด้ านลบ จากจุด B ไปยังจุด T ขนานกับแกน Z ทางด้ านบวก
เป็ นระยะทาง 8 หน่วย เป็ นระยะทาง 4 หน่วย

รูปที่ 3.1.7 รูปที่ 3.1.8


†

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

11 บทที่ 3 12 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.2 เวกเตอร์ในปริภูมสิ ามมิติ


3.2.1 ความหมายของเวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติ
เวกเตอร์ คือ ปริมาณที่มีท้งั ขนาดและทิศทาง

เราใช้ ส่วนของเส้ นตรงที่เชื่อมโยงระหว่างจุดสองจุด และ มีหัว


ลูกศรกํากับแทนเวกเตอร์ รูปที่ 3.2.1
เวกเตอร์ต่างๆ ที่เท่ากัน ซึ่งในบรรดาเวกเตอร์เหล่านี้จะมีอยู่
ให้ ความยาวของส่วนของเส้ นตรงแทนขนาด และ หัวลูกศรบอก
เวกเตอร์หนึ่งเสมอที่มีจุดเริ่มต้ นเป็ นจุดกําเนิด
ทิศทางของเวกเตอร์
เพราะฉะนั้น เราแทนเวกเตอร์ในปริภมู ิสามมิตไิ ด้ ด้วย ส่วนของ
ั ลักษณ์ PQ แทนส่วนของเส้ นตรงที่มีทศิ ทาง หรือ
เราใช้ สญ
เส้ นตรงที่มีทศิ ทางโดยมีจุดเริ่มต้ นเป็ นจุดกําเนิด
เวกเตอร์ท่มี ี P เป็ นจุดเริ่มต้ น และ Q เป็ นจุดสิ้นสุด มีทศิ ทาง
ในรูปที่ 3.2.1 เวกเตอร์เหล่านี้ ถือว่าคือ OA
จากจุด P ไปยังจุด Q
เพราะว่า บรรดาส่วนของเส้ นตรงที่มีทศิ ทางเหล่านี้ ต่างมี
จุดเริ่มต้ นที่กาํ หนดไว้ แน่นอนคือ จุดกําเนิด
เพราะฉะนั้นเราบอกแต่ละส่วนของเส้ นตรงที่มีทศิ ทางเช่นนี้ได้
ด้ วยจุดปลายของเวกเตอร์
ั ลักษณ์ || PQ ||
ใช้ สญ ข้อตกลง เราใช้ สญ
K
ั ลักษณ์ A แทน OA
แทนความยาวของ PQ หรือขนาดของ PQ
เวกเตอร์สองเวกเตอร์ เท่ากัน
ก็ต่อเมื่อ เวกเตอร์ท้งั สองมีขนาดเท่ากัน และ มีทศิ ทางเดียวกัน
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
13 บทที่ 3 14 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ข้อตกลง บทนิยาม 3.2.2 เราเรียกเวกเตอร์ท่มี ีส่วนประกอบทุกตัวเป็ น


สําหรับจุด P ใดๆ ใน R 3 เราจะใช้ สญ ั ลักษณ์ PK ศูนย์ว่า เวกเตอร์ศูนย์
K K
เขียนแทน OP เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ O เพราะฉะนั้น O = (0, 0, 0)
K K
เพราะว่าเราแทนจุดใน R 3 ด้ วยลําดับของสามจํานวนจริง เช่น บทนิยาม 3.2.3 ให้ A = ( a1, a 2 , a 3 ) ≠ O เป็ นเวกเตอร์ท่ที าํ
ถ้ า P มีพิกดั ฉากเป็ น (x, y, z) เราก็แทน P ได้ ด้วย มุม α, β, γ กับแกน X แกน Y และแกน Z ทางด้ านบวก
เราจึงอาจใช้ (x, y, z) แทน PK ก็ได้ ตามลําดับ โดยที่ α, β, γ มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง π
K
K
บทนิยาม 3.2.1 ให้ A = ( a1, a 2 , a 3 ) เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 เราเรียก α, β, γ ว่า มุมแสดงทิศทางของ A
K
เราเรียก a1, a 2 , a 3 ว่า ส่วนประกอบ ของ A
K และเรียก cos α, cos β, cos γ ว่า โคไซน์แสดงทิศทางของ A
ตามแกน X แกน Y และแกน Z ตามลําดับ

รูปที่ 3.2.2
โดยใช้ ความสัมพันธ์ของด้ าน รูปที่ 3.2.3
K
ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก OPQ และ OAQ จะได้ ว่า รูปที่ 3.2.3 แสดง ซึ่งมีมุมแสดงทิศทางเป็ น α, β, γ
A

ความยาวของ OA คือ a12 + a 22 + a 32 พิจารณารูปสามเหลี่ยม OAM จะเห็นว่า OM̂A เป็ นมุมฉาก


เพราะฉะนั้น
K
|| A || = a12 + a 22 + a 32 เพราะฉะนั้น cos γ = || OM || = || aAK3 ||
|| OA ||

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

15 บทที่ 3 16 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ
K
ตัวอย่าง 3.2.1 กําหนดให้ A = (–1, 2 , 1)
K
จงหาขนาดและมุมแสดงทิศทางของ A
วิธีทํา
K
|| A || = (−1)2 + ( 2 )2 + 12 = 4 = 2
K
ให้ A ทํามุม α, β, γ กับแกน X, แกน Y, แกน Z ทางด้ านบวก
ตามลําดับ
เราจะได้
cos α = || aAK1 || = – 12 เพราะฉะนั้น α = 2π
3
รูปที่ 3.2.3
ลาก AP และ AQ cos β = || aAK2 || = 2
2 เพราะฉะนั้น β = π
4
จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก OAP และ OAQ จะได้ ว่า cos γ = || aAK3 || = 1
2
เพราะฉะนั้น γ = π
3
†
cos α = || aAK1 ||
และ cos β = || aAK2 ||
เพราะฉะนั้น cos α = || aAK1 ||
cos β = || aAK2 ||
cos γ = || aAK3 ||
และ cos 2 α + cos 2 β + cos 2 γ = 1

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


17 บทที่ 3 18 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.2.2 พีชคณิตเวกเตอร์ ตัวอย่าง 3.2.2


K
บทนิยาม 3.2.4 กําหนดให้ A = (2, –1, 3)
K
ให้ A = ( a1, a 2 , a 3 ), BK = ( b1, b2 , b3 ) และ k ∈ R และ BK = (1, 2, –1)
K
K
1. A = BK ก็ต่อเมื่อ a1 = b1, a 2 = b 2 และ a 3 = b3 จงหา 2 A – BK
K
K
2. การบวกเวกเตอร์ A + BK = ( a1 + b1, a 2 + b2 , a 3 + b3 ) วิธีทํา 2 A – BK = 2(2, –1, 3) – (1, 2, –1)
K
3. การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ k A = (k a1, k a 2 , k a 3 ) = (4, –2, 6) + (–1, –2, 1)
K
หมายเหตุ 1. ถ้ า DL = A + BK = (4 – 1, –2 – 2, 6 + 1)
แล้ ว DK จะแทนด้ วยส่วนของเส้ นตรงที่มีทศิ ทาง ซึ่งเป็ นเส้ นทแยง = (3, –4, 7) †
K
มุมของรูปสี่เหลี่ยมด้ านขนานที่มี A และ BK เป็ นด้ านประชิด K
ข้อสังเกต AB = BK – A

รูปที่ 3.2.4
K K K K
D D
2. ถ้ า = แล้ ว จะเป็ นเวกเตอร์ซ่ึงขนานกับ A
kA
K
โดย มีทศิ ทางเดียวกับ A เมื่อ k > 0
K
และ มีทศิ ทางตรงข้ ามกับ A เมื่อ k < 0
K K
และ || k A || = | k | || A ||
K K
ในกรณีท่ี k = –1 เราเรียก (–1) A ว่า นิเสธ ของ A
K
และนิยมเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ – A
K K
บทนิยาม 3.2.5 A – BK = A + (– BK )
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

19 บทที่ 3 20 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

สมบัติของการบวกเวกเตอร์และการคูณเวกเตอร์ดว้ ยสเกลาร์ 3.2.3 เวกเตอร์หน่วย


K K บทนิยาม 3.2.6 เราเรียกเวกเตอร์ท่มี ีขนาดหนึ่งหน่วยว่า
ให้ A , BK , C เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 และ c, k ∈ R เวกเตอร์หน่วย
จะได้ ว่า K K K
K K ให้ A เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 ซึ่ง A ≠ O
1. A + BK = BK + A K
A K
K K K K K
2. ( A + BK ) + C = A + ( BK + C ) จะเห็นได้ ว่า || A ||
เป็ นเวกเตอร์ท่มี ีทศิ ทางเดียวกับ A
K
K K K K
3. A + O = A และมีขนาดเป็ น || || AAK || || = || A1K || || A || = 1
K K K K
4. A + (– A ) = O K
K K K เพราะฉะนั้น เวกเตอร์หน่วยในทิศทางของ A คือ || AAK ||
5. (ck) A = c(k A ) = k(c A ) K K
K K
6. c( A + BK ) = c A + c BK และ เวกเตอร์หน่วยในทิศทางตรงข้ ามกับ A คือ – || AAK ||
K K K
7. (c + k) A = c A + k A
K K
8. 1 A = A ตัวอย่าง 3.2.3 ให้ A(1, 2, –1) และ B(2, 4, 1) เป็ นจุดใน
K K
9. 0 A = O R 3 จงหาเวกเตอร์หน่วยในทิศทางของ AB
K
วิธีทํา AB = BK – A
= (2, 4, 1) – (1, 2, –1)
= (1, 2, 2)
|| AB || = 12 + 22 + 22 = 9 = 3
เพราะฉะนั้น เวกเตอร์หน่วยในทิศทางของ AB คือ
AB = (1, 2, 2)
|| AB || 3
= ( 13 , 23 , 23 ) †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


21 บทที่ 3 22 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

เวกเตอร์หน่วยในทิศทางบวก ของแกน X แกน Y และแกน Z 3.2.4 ผลคูณเชิงสเกลาร์


บทนิยาม 3.2.7
เวกเตอร์หน่วยที่สาํ คัญคือ เวกเตอร์หน่วยในทิศทางบวกของ K
ให้ A = ( a1, a 2 , a 3 ) และ BK = ( b1, b 2 , b3 ) เป็ นเวกเตอร์ใน
แกน X แกน Y และแกน Z
K K K R3
และเราจะเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ i , j , k ตามลําดับ K
ผลคูณเชิงสเกลาร์ ของ A และ BK
กล่าวคือ เราให้ K
K
i = (1, 0, 0)
เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ A ⋅ BK มีค่าดังนี้
K K
K
j = (0, 1, 0) A ⋅ B = a1 b1 + a 2 b 2 + a 3 b3
K
k = (0, 0, 1)
K
สมบัตเิ กี่ยวกับผลคูณเชิงสเกลาร์ มีดงั นี้
ให้ A = ( a1, a 2 , a 3 ) เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 K K
ให้ A , BK , C เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 และ k ∈ R จะได้ ว่า
เราจะได้ ว่า K K
K 1. A ⋅ BK = BK ⋅ A
A = ( a1, a 2 , a 3 ) K K K K K
= ( a1, 0, 0) + (0, a 2 , 0) + (0, 0, a 3 ) 2. A ⋅( BK + C ) = A ⋅ BK + A ⋅ C
K K K
= a1(1, 0, 0) + a 2 (0, 1, 0) + a 3 (0, 0, 1) 3. k( A ⋅ BK ) = (k A )⋅ BK = A ⋅(k BK )
K K K K K K
= a1 i + a 2 j + a 3 k 4. A ⋅ A = || A || 2 ≥ 0
K K K K
และ A ⋅ A = 0 ก็ต่อเมื่อ A = O
K K K
ตัวอย่างเช่น
K K K
5. ถ้ า A ≠ O , BK ≠ O และ θ เป็ นมุมระหว่าง AK กับ BK
K
(2, 3, 6) = 2 i + 3 j + 6 k
K K K จะได้ ว่า AK ⋅ BK = || A || || BK || cos θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π
(–3, 6, –12) = –3 i + 6 j – 12 k
K
(0, 3, –1) = 3 j – k
K
หมายเหตุ ในกรณีท่ี θ = π2 เราจะกล่าวว่า AK ตั้งฉาก กับ BK
ผลจากข้ อ 5. จะได้ ว่า AK ⋅ BK = 0 ก็ต่อเมื่อ AK ตั้งฉากกับ BK

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

23 บทที่ 3 24 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.2.4 ให้ A(1, 2, 0), B(0, 4, 2) และ ตัวอย่าง 3.2.5 ให้ AK = (1, 2, –1), BK = (2, 1, 4)
K
C(3, 2, –2) เป็ นจุดมุมของรูปสามเหลี่ยม ABC จงหา BÂC และ C = (3, –2, 1) จงหาว่าเวกเตอร์คู่ใดที่ต้งั ฉากกัน
วิธีทํา วิธีทํา
โดยใช้ เหตุผลว่า XK ตั้งฉากกับ YK ก็ต่อเมื่อ XK ⋅ YK = 0
เพราะว่า AK ⋅ BK = (1, 2, –1)⋅(2, 1, 4) = 2 + 2 – 4 = 0
รูปที่ 3.2.5 เพราะฉะนั้น AK ตั้งฉากกับ BK
BÂC เป็ นมุมระหว่าง AB กับ AC เพราะว่า
K K
AB = B – A = (0, 4, 2) – (1, 2, 0) = (–1, 2, 2) K K
K K A ⋅ C = (1, 2, –1)⋅(3, –2, 1) = 3 – 4 – 1 = –2 ≠ 0
K
AC = C – A = (3, 2, –2) – (1, 2, 0) = (2, 0, –2)
เพราะฉะนั้น AK ไม่ต้งั ฉากกับ C
|| AB || = (−1) 2 + 22 + 2 2 = 9 = 3
|| AC || = 2 2 + 0 2 + (−2) 2 = 8 = 2 2 เพราะว่า
K K
B ⋅ C = (2, 1, 4)⋅(3, –2, 1) = 6 – 2 + 4 = 8 ≠ 0
AB ⋅ AC = (–1, 2, 2)⋅(2, 0, –2) K
= –1(2) + 2(0) + 2(–2) เพราะฉะนั้น BK ไม่ต้งั ฉากกับ C †
= –6
เพราะว่า AB ⋅ AC = || AB || || AC || cos BÂC
เพราะฉะนั้น cos BÂC = AB ⋅ AC
|| AB || || AC ||
= −6
(3)(2 2 )
= – 12
เพราะฉะนั้น BÂC = 3π †
4
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
25 บทที่ 3 26 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

บทนิยาม 3.2.8 ตัวอย่าง 3.2.6 ให้ AK = (2, 1, 4) และ BK = (2, 3, 6)


K K
ให้ AK ≠ O , BK ≠ O จงหา ภาพฉายสเกลาร์ และ ภาพฉายเวกเตอร์ของ AK บน BK
และ θ เป็ นมุมระหว่าง AK กับ BK วิธีทํา
K K
ลากเส้ นตรงจากจุด A มาตั้งฉากกับ OB ที่จุด C A ⋅B = (2, 1, 4)⋅(2, 3, 6) = 4 + 3 + 24 = 31
K
|| B || = 4 + 9 + 36 = 7
K K
ภาพฉายสเกลาร์ของ AK บน BK คือ ||ABK⋅ B|| = 31
7
ภาพฉายเวกเตอร์ของ AK บน BK คือ
K K K
A BK = AK ⋅ B2 BK
|| B ||
รูปที่ 3.2.6 (ก) รูปที่ 3.2.6 (ข) = 31 (2, 3, 6)
K 72
C เรียกว่า ภาพฉายเวกเตอร์ ของ AK บน BK = ( 62 , 93 , 186 ) †
K 49 49 49
ั ลักษณ์แทนด้ วย A BK
ใช้ สญ
และ || AK || cos θ เรียกว่า ภาพฉายสเกลาร์ของ AK บน BK

เพราะว่า AK ⋅ BK = || AK || || BK || cos θ
K K
เพราะฉะนั้น || AK || cos θ = ||ABK⋅ B||
K K
เพราะฉะนั้น ภาพฉายสเกลาร์ของ AK บน BK คือ A K⋅ B
|| B ||
K K K
และ ภาพฉายเวกเตอร์ของ AK บน BK คือ A⋅B B
K
|| B ||2

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

27 บทที่ 3 28 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.2.5 ผลคูณเชิงเวกเตอร์ ในกรณีท่ี AK ไม่ขนานกับ BK จะได้ ว่าทิศทางของ AK × BK


K
บทนิยาม 3.2.9 ให้ A = ( a1, a 2 , a 3 ) จะเป็ นไปตามกฎมือขวา กล่าวคือ
และ BK = ( b1, b 2 , b3 ) เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 ถ้ า เราวางมือในลักษณะที่ให้
ผลคูณเชิงเวกเตอร์ ของ AK และ BK นิ้วหัวแม่มือชี้ไปตาม AK และ นิ้วชี้ช้ ีไปตาม BK
แทนด้ วยสัญลักษณ์ AK × BK มีค่าดังนี้ แล้ ว นิ้วกลางซึ่งวางให้ ต้งั ฉากกับนิ้วหัวแม่มอื และนิ้วชี้
K K
A × B = ( a 2 b3 – a 3 b 2 , a 3 b1 – a1 b3 , a1 b2 – a 2 b1 ) นิ้วกลางจะชี้ไปในทิศทางของ AK × BK
สมบัติเกีย่ วกับผลคูณเชิงเวกเตอร์
K
ให้ AK , BK , C เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 และ k ∈ R จะได้ ว่า
1. AK × BK = –( BK × AK )
2. k( AK × BK ) = (k AK ) × BK = AK × (k BK )
K K
3. AK × ( BK + C ) = ( AK × BK ) + ( AK × C ) รูปที่ 3.2.7
K K K
K
4. AK × BK = O ก็ต่อเมื่อมี k ∈ R ที่ทาํ ให้ 6. || × || = || || || BK || sin θ
A B A
K K K K K K
A = k B หรือ B = k A (เพราะฉะนั้น A ขนานกับ B ) เมื่อ θ เป็ นมุมระหว่าง AK กับ BK และ 0 ≤ θ ≤ π
5. AK ⋅( AK × BK ) = 0 และ BK ⋅( AK × BK ) = 0
7. || AK × BK || = พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้ านขนานที่มีด้าน
เพราะฉะนั้น AK × BK ตั้งฉากกับ AK และ BK ประชิดเป็ น AK และ BK

รูปที่ 3.2.8
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
29 บทที่ 3 30 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

การหาค่า AK × BK โดยใช้ determinant ตัวอย่าง 3.2.7 จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดมุมเป็ น


ทบทวนสูตร determinant A(2, 1, –1), B(3, 0, 1) และ C(1, 3, –2)
⎡a b c⎤ วิธีทํา
ให้ M = ⎢ r s t⎥
⎣⎢ x y z ⎦⎥
a b c
จะได้ ว่า r s t = s t a– r t b+ r s c
x y z y z x z x y

= (sz – ty)a – (rz – tx)b + (ry – sx)c รูปที่ 3.2.9


K K
K K เพราะว่า AB = – = (1, –1, 2)
B A
ให้ A = ( a1, a 2 , a 3 ) และ = ( b1, b2 , b3 )
B
K K
AC = C – A = (–1, 2, –1)
K K K K K K
i j k a a3 K a a3 K a a2 K i j k
a1 a 2 a 3 = 2
b 2 b3
i – 1
b1 b 3
j + 1
b1 b 2
k เพราะฉะนั้น AB × AC = 1 −1 2
b1 b 2 b 3 −1 2 −1
K K K K K K
= ( a 2 b3 – a 3 b2 ) i – ( a1 b3 – a 3 b1) j + ( a1 b2 – a 2 b1 ) k = −21 −21 i – − 11 − 12 j + − 11 −21 k
= ( a 2 b3 – a 3 b2 , a 3 b1 – a1 b3 , a1 b2 – a 2 b1) K K K
= (1 – 4) i – (–1 + 2) j + (2 – 1) k
= AK × BK K K
= –3 i – j + k
K
K K K
i j k
เพราะฉะนั้น K
A × =K
B a1 a 2 a3 เพราะว่า พื้นที่ของ Δ ABC
b1 b 2 b3 = 12 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้ านขนานที่มีด้านประชิด
K K
2. ถ้ า C ตั้งฉากกับ AK และ C ตั้งฉากกับ BK เป็ น AB และ AC
K
แล้ ว C ขนานกับ AK × BK พื้นที่ของ Δ ABC = 12 || AB × AC ||
(−3) 2 + ( −1) 2 + 12
= 2
= 11 ตารางหน่วย
2
†
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

31 บทที่ 3 32 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ
K
3.2.6 ผลคูณเชิงสเกลาร์ของสามเวกเตอร์ ความหมายทางเรขาคณิตของ | [ AK BK C ] |
K K
บทนิยาม 3.2.10 ให้ A , BK , C เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 K
| [ AK BK C ] | = ปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมหน้ าขนาน
K K K
ผลคูณเชิงสเกลาร์ของสามเวกเตอร์ A , BK , C คือ AK ⋅ BK × C K
ซึ่งมีด้านประชิดเป็ น AK , BK และ C
K K
และนิยมเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ [ A BK C ]
หมายเหตุ
ให้
K K K
A = ( a1, a 2 , a 3 ), B = ( b1 , b 2 , b3 ) และ C = ( c1 , c 2 , c3 )
K K
B × C = ( b 2 c3 – b3 c 2 , b3 c1 – b1 c3 , b1 c 2 – b2 c1 )
K K K
A ⋅B × C
รูปที่ 3.2.10
= ( b2 c3 – b3 c2 ) a1 – ( b1 c3 – b3 c1) a 2 + ( b1 c2 – b2 c1) a 3
ปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมหน้ าขนาน
= bc 2 bc 3 a1 – bc1 bc 3 a 2 + bc1 bc 2 a 3 = พื้นที่ฐาน × สูง
2 3 1 3 1 2
K
=
a1 a 2
b1 b 2
a3
b3
= || BK × C || h
K
c1 c 2 c3 = || BK × C || || AK || | cos θ |
a1 a 2 a 3 K
เพราะฉะนั้น AK ⋅ BK × C =
K
b1 b 2 b 3 เมื่อ θ เป็ นมุมระหว่าง AK กับ BK × C
K
c1 c 2 c3 = | BK × C ⋅ AK |
K K K K K K K
หมายเหตุ A ⋅ B×C = B⋅ C× A = C ⋅ AK × BK = | AK ⋅ BK × C |
K
K K K K K
= BK × C ⋅ AK = C× A ⋅ B = AK × BK ⋅ C K
= | [ AK BK C ] |

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


33 บทที่ 3 34 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.2.8 3.2.7 การรวมเชิงเส้น และ อิสระเชิงเส้น


K K K K K K K K
กําหนดให้ AK = i + j – k , BK = 2 i + j และ C = j + 2 k บทนิยาม 3.2.11 กําหนดให้ VK1, VK 2 , ... , VK n เป็ นเวกเตอร์
จงหาปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมหน้ าขนานที่มีด้านประชิดเป็ น c1, c 2 , ... , c n เป็ นจํานวนจริง
K K K
A , B และ C เวกเตอร์ VK = c1 VK1 + c2 VK 2 + ... + cn VK n
วิธีทํา เรียกว่า การรวมเชิงเส้น ของ VK1, VK 2 , ... , VK n
K K K 1 1 −1
A ⋅B ×C = 2 1 0
ตัวอย่างเช่น
0 1 2 K K K K K K
1. 4 i + 5 j + 6 k เป็ นการรวมเชิงเส้ นของ i , j , k
= 1 0 (1)
– 02 02 (1) + 02 11 (–1)
1 2 2. 4(1, 1, 1) + 5(1, 1, 0) + 2(1, 2, 3) = (11, 13, 10)
= (2 – 0)(1) – (4 – 0)(1) + (2 – 0)(–1) (11, 13, 10) เป็ นการรวมเชิงเส้ นของ (1, 1, 1),
=2–4–2 (1, 1, 0) และ (1, 2, 3)
= –4
K ตัวอย่าง 3.2.9 จงแสดงว่า (5, 2, 1) เป็ นการรวมเชิงเส้ นของ
เพราะฉะนั้น ปริมาตร = | AK ⋅ BK × C | (1, 0, 0), (1, 1, 0) และ (1, 1, 1)
= 4 ลูกบาศก์หน่วย †
วิธีทํา ให้ a, b, c ∈ R โดยที่
การคํานวณผลคูณเชิงสเกลาร์ของสามเวกเตอร์
a(1, 0, 0) + b(1, 1, 0) + c(1, 1, 1) = (5, 2, 1)
ด้วย MATHCAD (a + b + c, b + c, c) = (5, 2, 1)
⎛ 1 ⎞ ⎡⎛ 2 ⎞ ⎛ 0 ⎞⎤
⎜ 1 ⎟ ⋅ ⎢⎜ 1 ⎟ × ⎜ 1 ⎟⎥ = −4 เพราะฉะนั้น a+b+c =5
⎜ ⎟ ⎢⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎥
⎝ −1 ⎠ ⎣⎝ 0 ⎠ ⎝ 2 ⎠⎦ b+c =2
⎛ 1 1 −1 ⎞ c =1
⎜ 2 1 0 ⎟ → −4
⎜ ⎟ เพราะฉะนั้น c = 1, b = 1 และ a = 3
⎝0 1 2 ⎠
เพราะฉะนั้น (5, 2, 1) เป็ นการรวมเชิงเส้ นของ (1, 0, 0),
(1, 1, 0) และ (1, 1, 1) †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

35 บทที่ 3 36 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.2.10 บทนิยาม 3.2.12


จงพิจารณาว่า (2, –1, 4) เป็ นการรวมเชิงเส้ นของ เวกเตอร์ VK1, VK 2 , ... , VK n เป็ นอิสระเชิงเส้น
(1, 0, 1), (1, –1, 2) และ (0, 1, –1) หรือไม่ ก็ต่อเมื่อ
K
วิธีทํา ให้ a, b, c ∈ R โดยที่ ถ้ า c1 VK1 + c2 VK 2 + ... + cn VK n = O
(2, –1, 4) = a(1, 0, 1) + b(1, –1, 2) + c(0, 1, –1) แล้ ว c1 = c2 = ... = cn = 0
(2, –1, 4) = (a + b, –b + c, a + 2b – c)
เพราะฉะนั้น a+b =2 ... (1) ตัวอย่าง
–b + c = –1 ... (2) 1 (1, 0, 0) เป็ นอิสระเชิงเส้ น หรือไม่
a + 2b – c = 4 ... (3) เพราะว่า ถ้ า
(2) + (3) ; a+b =3 ... (4) c1 (1, 0, 0) = (0, 0, 0)
(4) – (1) ; 0 =1 ซึ่งเป็ นไปไม่ได้ ( c1, 0, 0) = (0, 0, 0)
เพราะฉะนั้น (2, –1, 4) ไม่เป็ นการรวมเชิงเส้ นของ แล้ ว c1 = 0
(1, 0, 1), (1, –1, 2) และ (0, 1, –1) † เพราะฉะนั้น (1, 0, 0) เป็ นอิสระเชิงเส้ น
2 (5, 0, 0), (0, 4, 0) เป็ นอิสระเชิงเส้ น หรือไม่
เพราะว่า
ถ้ า c1(5, 0, 0) + c2 (0, 4, 0) = (0, 0, 0)
(5 c1, 4 c2 , 0) = (0, 0, 0)
5 c1 = 0 และ 4 c2 = 0
แล้ ว c1 = 0 และ c 2 = 0
เพราะฉะนั้น (5, 0, 0), (0, 4, 0) เป็ นอิสระเชิงเส้ น
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
37 บทที่ 3 38 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.2.11 จงพิจารณาว่า (2, 1, 0), (1, 2, 0) ตัวอย่าง 3.2.12 จงพิจารณาว่า (3, 2, –5), (2, 6, –1)
และ (0, 0, 3) เป็ นอิสระเชิงเส้ น หรือไม่ และ (–1, 0, 2) เป็ นอิสระเชิงเส้ น หรือไม่
วิธีทํา สมมติ วิธีทํา สมมติ
a(2, 1, 0) + b(1, 2, 0) + c(0, 0, 3) = (0, 0, 0) a(3, 2, –5) + b(2, 6, –1) + c(–1, 0, 2) = (0, 0, 0)
(2a + b, a + 2b, 3c) = (0, 0, 0) (3a + 2b – c, 2a + 6b, –5a – b + 2c) = (0, 0, 0)
เพราะฉะนั้น 2a + b = 0 ... (1) เพราะฉะนั้น 3a + 2b – c = 0 ... (1)
a + 2b = 0 ... (2) 2a + 6b = 0 ... (2)
3c = 0 ... (3) –5a – b + 2c = 0 ... (3)
จาก (3) ; c =0 2 × (1) ; 6a + 4b – 2c = 0 ... (4)
2 × (1) ; 4a + 2 b = 0 ... (4) (3) + (4) ; a + 3b = 0 ... (5)
(4) – (2) ; 3a = 0 2 × (5) ; 2a + 6b = 0 ซึ่งเหมือน (2)
a =0 จาก (5) ; b = – 13 a ... (6)
จาก (1) ; b = –2a = 0 จาก (1) ; c = 3a + 2(– 13 a) = 73 a
เพราะฉะนั้น a = b = c = 0
ให้ a = t เมื่อ t ∈ R จะได้ b = – 13 t และ c = 73 t
เพราะฉะนั้น (2, 1, 0), (1, 2, 0) และ (0, 0, 3)
เป็ นอิสระเชิงเส้ น † แสดงว่ามี a ≠ 0, b ≠ 0 และ c ≠ 0 ที่ทาํ ให้
a(3, 2, –5) + b(2, 6, –1) + c(–1, 0, 2) = (0, 0, 0)
ข้อควรจํ า เพราะฉะนั้น (3, 2, –5), (2, 6, –1) และ (–1, 0, 2)
ถ้ า มี a, b, c ไม่เป็ นศูนย์พร้ อมกันที่ทาํ ให้ ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้ น †
K
a V1 + b V2 + c V3 = O หมายเหตุ จากสมการ (6) นิสติ สามารถเลือก a = 3
แล้ ว V1, V2 , V3 ไม่เป็ นอิสระเชิงเส้ น แล้ วจะได้ b = –1, c = 7 ก็เพียงพอ

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

39 บทที่ 3 40 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.3 เส้นตรงใน R 3 การหาสมการเส้นตรง


3.3.1 สมการของเส้นตรง เส้ นตรง L ซึ่งผ่านจุด P0 และมี AK เป็ นเวกเตอร์แสดงทิศทาง
บทนิยาม 3.3.1 ให้ P เป็ นจุดใดๆ บนเส้ นตรง L
K
ให้ P0 เป็ นจุดใน R 3 และ AK ≠ O เป็ นเวกเตอร์ใน R 3 เพราะฉะนั้น P0P ขนานกับ AK
เราจะเรียกเซตของจุด P ใดๆ ซึ่งทําให้ เพราะฉะนั้น จะมี t ∈ R ที่ทาํ ให้
K K
P0 P ขนานกับ A ว่า เส้นตรงทีผ ่ ่านจุด P0 และขนานกับ AK P0 P = t A
K K K
และ เรียก AK ว่า เวกเตอร์แสดงทิศทาง ของเส้ นตรง P – P0 = t A
K K K
P = P0 + t A ... (3.3.1)
K
ให้ จุด P(x, y, z) และ P0 ( x 0 , y0 , z0 ) และ A = (a, b, c)
สมการ (3.3.1) จะเขียนได้ เป็ น
(x, y, z) = ( x 0 , y0 , z0 ) + t(a, b, c) ... (3.3.2)
เราเรียกสมการ (3.3.1) หรือ (3.3.2) ว่า
สมการเวกเตอร์ ของเส้ นตรง L
สมการ (3.3.2)
รูปที่ 3.3.1 เราอาจแยกเขียนสมการสําหรับแต่ละส่วนประกอบได้ เป็ น
x = x 0 + at
⎫⎪
y = y0 + bt ⎬ ... (3.3.3)
ข้อสังเกต ⎪⎭
z = z 0 + ct
ถ้ า AK เป็ นเวกเตอร์แสดงทิศทางของเส้ นตรง L
แล้ ว เวกเตอร์ใดๆ ที่ไม่ใช่เวกเตอร์ศนู ย์ ซึ่งขนานกับ AK เราเรียกสมการ (3.3.3) ว่า
เป็ นเวกเตอร์แสดงทิศทางของเส้ นตรง L ด้ วย สมการอิงตัวแปรเสริม ของเส้ นตรง L

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


41 บทที่ 3 42 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

จากสมการ (3.3.3) ตัวอย่าง 3.3.1 จงหาสมการเวกเตอร์ สมการอิงตัวแปรเสริม


สําหรับค่า a, b, c และสมการสมมาตรของเส้ นตรง L ที่ผ่านจุด
K
ถ้ าไม่มีค่าใดเป็ นศูนย์เลย เราได้ ว่า P0 (1, 0, –2) และ ขนานกับ A = (2, –1, 3)

t = x −ax 0 , t = y −by0 , t = z − z0
c
วิธีทํา
x − x0
เพราะฉะนั้น a
= y −by0 = (3.3.4) z − z0
c
... ให้ P(x, y, z) เป็ นจุดบนเส้ นตรง L
สมการเวกเตอร์ของเส้ นตรง L ที่ผ่านจุด
เราเรียกสมการ (3.3.4) ว่า สมการสมมาตร ของเส้ นตรง L K
P0 (1, 0, –2) และขนานกับ A = (2, –1, 3) คือ
K K K
หมายเหตุ P = P0 + t A
ในกรณีท่มี ีค่าหนึ่งใน a, b, c เป็ นศูนย์ หรือ (x, y, z) = (1, 0, –2) + t(2, –1, 3) เมื่อ t ∈ R
เช่น a = 0 จากสมการ (3.3.3) สมการอิงตัวแปรเสริมของเส้ นตรง L คือ
เราจะเขียนสมการสมมาตรของเส้ นตรง L ได้ เป็ น x = 1 + 2t
x = x0 , y −by0 = z −cz0 y = –t
ในกรณีท่มี ีสองค่าใน a, b, c เป็ นศูนย์ z = –2 + 3t
เช่น a = 0, b = 0 และสมการสมมาตรของเส้ นตรง L คือ
x −1 = y = z + 2
เราจะเขียนสมการสมมาตรของเส้ นตรง L ได้ เป็ น 2 −1 3
x = x0 , y = y0 , z = z0 + tc †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

43 บทที่ 3 44 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.3.2 จงหาสมการเวกเตอร์ สมการอิงตัวแปรเสริม 3.3.2 จุดกับเส้นตรง


และสมการสมมาตรของเส้ นตรง L ผ่านจุด P1 (–2, 1, 3) จุด P(x, y, z) จะอยู่บนเส้ นตรง
และ P2 (1, 2, 1) ก็ต่อเมื่อ
วิธีทํา ให้ P(x, y, z) เป็ นจุดใดๆ บนเส้ นตรงน L พิกดั (x, y, z) ของจุด P สอดคล้ องกับสมการของเส้ นตรง
เพราะว่าจุด P1 และ P2 อยู่บนเส้ นตรง L
เพราะฉะนั้น P1P2 เป็ นเวกเตอร์แสดงทิศทางของเส้ นตรง L และ เพราะฉะนั้นการตรวจสอบว่าจุด P(x, y, z) อยู่บนเส้ นตรง L
K K
P1P2 = P2 – P1 = (1, 2, 1) – (–2, 1, 3) = (3, 1, –2) หรือไม่
จึงสามารถตรวจสอบโดยการแทนค่า x, y, z
สมการเวกเตอร์ของเส้ นตรง L ที่ผ่านจุด P1 (–2, 1, 3)
ลงในสมการของเส้ นตรง L
และ P2 (1, 2, 1) คือ
K K ว่าสอดคล้ องกับสมการของเส้ นตรง L หรือไม่
P = P1 + t P1P2

หรือ (x, y, z) = (–2, 1, 3) + t(3, 1, –2) เมื่อ t ∈ R


สมการอิงตัวแปรเสริมของเส้ นตรง L คือ
x = –2 + 3t
y= 1 + t
z = 3 – 2t
และ
y −1
สมการสมมาตรของเส้ นตรง L คือ x +3 2 = 1
= z−3
−2
†
หมายเหตุ สมการของเส้ นตรงในตัวอย่าง 3.3.2
อาจจะเขียนเป็ นแบบอื่นได้ เช่น PK = PK2 + t P1P2

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


45 บทที่ 3 46 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.3.3 จงพิจารณาว่าจุด P(1, –2, 3) ตัวอย่าง 3.3.4


อยู่บนเส้ นตรงต่อไปนี้หรือไม่ จงพิจารณาว่าจุด A(2, 1, 0), B(3, 0, 2) และ C(1, 2, 3)
1. L1 : x = 3 – t, y = 2 – 4t, z = 3 + t อยู่บนเส้ นตรงเดียวกันหรือไม่
2. L2 : x 2+ 1 = y 3+ 5 = z – 2 วิธีทํา AB = BK – AK = (1, –1, 2)
วิธีทํา 1. แทนค่า x = 1, y = –2, z = 3 ในสมการของเส้ นตรง เพราะฉะนั้น สมการสมมาตรของเส้ นตรงที่ผ่านจุด A และ B
คือ x − 2 = y −1 = z
L1 จะได้ 1 =3–t ... (1) 1 −1 2
–2 = 2 – 4t ... (2) แทนค่า x = 1, y = 2, z = 3 ของพิกดั จุด C ในสมการของ
3 =3+t ... (3) เส้ นตรงนี้ จะได้
จาก (1) ได้ t =2 ... (4) 1− 2 = 2 −1 = 3
1 −1 2
จาก (2) ได้ t =1 ... (5) หรือ –1 = –1 = 32 ซึ่งไม่เป็ นจริง
และ จาก (3) ได้ t =0 แสดงว่า พิกดั ของจุด C
จะเห็นว่าทั้งสามสมการให้ ค่า t ขัดแย้ งกัน ไม่สอดคล้ องกับสมการของเส้ นตรงที่ผ่านจุด A และ B
จึงไม่มีค่า t ใดๆ ที่ทาํ ให้ (1) , (2) , (3) เป็ นจริง เพราะฉะนั้น จุด C ไม่อยู่บนเส้ นตรงนี้
แสดงว่าพิกดั ของจุด P ไม่สอดคล้ องกับสมการของเส้ นตรง L1 เพราะฉะนั้น จุด A, B , C ไม่อยู่บนเส้ นตรงเดียวกัน †
เพราะฉะนั้น จุด P ไม่อยู่บนเส้ นตรง L1
หมายเหตุ พบว่า (4), (5) ขัดแย้ งกันก็สรุปผลได้ แล้ ว หมายเหตุ
2. แทนค่า x = 1 , y = –2, z = 3 ในสมการของเส้ นตรง L2 ถ้ า AB และ AC ไม่ขนานกัน
จะได้ 1 +2 1 = − 23+ 5 = 3 – 2 แล้ ว จุด A, B , C ไม่อยู่บนเส้ นตรงเดียวกัน
หรือ 1 = 1 = 1 ซึ่งเป็ นจริง เพราะฉะนั้น
แสดงว่าพิกดั ของจุด P สอดคล้ องกับสมการของเส้ นตรง L2 การแสดงว่า จุด A, B , C ไม่อยู่บนเส้ นตรงเดียวกัน
เพราะฉะนั้น จุด P อยู่บนเส้ นตรง L2 † ตรวจสอบว่า AB และ AC ไม่ขนานกัน ก็เพียงพอ
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

47 บทที่ 3 48 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ระยะทางจากจุดไปยังเส้นตรง คือ ความยาวของเส้ นตั้งฉากจาก เพราะว่า P0M ขนานกับ AK


จุดไปยังเส้ นตรง และจุดบนเส้ นตรงที่อยู่ห่างจากจุดดังกล่าวน้ อย เพราะฉะนั้น θ เป็ นมุมระหว่าง P0B กับ AK
K
|| P0B || || A || sin θ
ที่สดุ เราเรียกว่า จุดเชิงเส้นตั้งฉาก จาก (1) จะได้ || BM || = K
สมมติให้ L เป็ นเส้ นตรงที่ผ่านจุด P0 และมี AK เป็ นเวกเตอร์ || A ||
K
|| P0B × A ||
แสดงทิศทาง ให้ B เป็ นจุดใดๆ ที่อยู่นอกเส้ นตรง L = K
|| A ||
สมมติว่า M เป็ นจุดบนเส้ นตรง L ซึ่ง BM ตั้งฉากกับเส้ นตรง L K
|| P0B × A ||
เพราะฉะนั้นความยาวของ BM = K
เพราะฉะนั้น จุด M เป็ น จุดเชิงตั้งฉาก || A ||
การหาความยาวของ BM และพิกดั ของจุด M การหาพิกดั ของจุด M
เพราะว่า M อยู่บนเส้ นตรง L เพราะฉะนั้นจะมี t ∈ R ที่ทาํ ให้
K K K
M = P0 + t A ... (3.3.5)
K K
เพราะว่า BM = M – B
เพราะฉะนั้น BM = PK0 + t AK – BK
K K K K K
BM ⋅ A = ( P0 + t A – B )⋅ A
K
= ( PK0 – BK )⋅ AK + t || A || 2 ... (2)
เพราะว่า BM ⊥ P0M เพราะฉะนั้น BM ⊥ AK
รูปที่ 3.3.2
เพราะฉะนั้น BM ⋅ AK = 0
จากรูปที่ 3.3.2 พิจารณา ΔB P0 M K
จาก (2) จะได้ ( PK0 – BK )⋅ AK + t || A || 2 = 0
ให้ θ เป็ นมุมระหว่าง P0 B กับ P0M K K K
ข้ าม = || BM || t = (B − KP0 )2⋅ A
เราจะได้ ว่า sin θ = ฉาก || A ||
K K K
|| P0B || K K (B − P0 ) ⋅ A K
M P0 [ K 2 ]A
|| BM || = || P0B || sin θ
แทนค่า t ในสมการ (3.3.5) จะได้ = +
... (1) || A ||

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


49 บทที่ 3 50 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ
K K K
ตัวอย่าง 3.3.5 จงหาจุดเชิงเส้ นตั้งฉากของจุด B(2, 1, –1) K i j k
P0 B × A = − 3 −1 −5
บนเส้ นตรง L : x 4− 5 = 2 – y = z −3 4 4 −1 3
K K − 3 − 1 kK
พร้ อมทั้งหาระยะทางจากจุด B ไปยังเส้ นตรง L = −− 11 −35 i – −43 −35 j + 4 −1
วิธีทํา จากสมการเส้ นตรง L: x 4− 5 = 2 – y = z −3 4 K K
= –8 i – 11 j + 7 k
K

x −5 = y−2 = z −4
หรือ 4 −1 3 || P0 B × AK || = (−8) 2 + (−11) 2 + 7 2
แสดงว่า เส้ นตรง L ผ่านจุด P0 (5, 2, 4) = 234 = 3 26
และมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK = (4, –1, 3) K
|| A || = 4 2 + (−1) 2 + 32
ให้ M เป็ นจุดเชิงเส้ นตั้งฉากของจุด B บนเส้ นตรง L = 26
K K K
K K (B − P0 ) ⋅ A K
M = P0 + [ K 2 ]A เพราะฉะนั้น ระยะทางจากจุด B ไปยังเส้ นตรง L
|| A || K
|| P0B × A ||
= (5, 2, 4) + [ ((2,1,−1) − (5,2,4)) ⋅ (4,−1,3) ](4, –1, 3) = K
|| A ||
4 2 + (−1) 2 + 32
= (5, 2, 4) – (4, –1, 3) = 3 2626
= (1, 3, 1) = 3 หน่วย †
การหาระยะทางจากจุด B ไปยังเส้นตรง L
K
|| P0B × A || หมายเหตุ หา || BM || จะง่ายกว่า และ ได้ ระยะทางเท่ากัน
ระยะทางจากจุด B ไปยังเส้ นตรง = K
|| A || BM = MK – BK
P0 B = BK – PK0 = (1, 3, 1) – (2, 1, –1)
= (2, 1, –1) – (5, 2, 4) = (–1, 2, 2)
= (–3, –1, –5) เพราะฉะนั้น || BM || = (−1)2 + 22 + 22 = 9 = 3

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

51 บทที่ 3 52 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.3.3 การตัดกันของเส้นตรง ตัวอย่าง 3.3.6 กําหนดให้ L1, L2 เป็ นเส้ นตรงซึ่งมีสมการเป็ น


ในปริภมู ิสองมิติ เส้ นตรงสองเส้ น หากไม่ตดั กัน L1 : x = 2 + s, y = 4 – s, z = 3 + 2s
ก็ต้องขนานกัน อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น และ L2 : x = 1 – t, y = 9 + 3t, z = 2 + t
แต่ในปริภมู ิสามมิติ เส้ นตรง L1 และเส้ นตรง L 2 จงแสดงว่า L1 กับ L2 ไม่ตัดกัน
มีความเป็ นไปได้ ดงั ต่อไปนี้ วิธีทํา สมมติ L1 ตัดกับ L 2
1. ตัดกัน (รูปที่ 3.3.3 (ก)) เพราะฉะนั้นมีจุด P0 จุดหนึ่งซึ่งอยู่ท้งั บน L1 และ L 2
2. ไม่ตดั กัน โดยจําแนกเป็ น ให้ จุด P0 มีพิกดั เป็ น ( x 0 , y0 , z0 )
2.1 ไม่ตดั กัน และ ไม่ขนานกัน (รูปที่ 3.3.3 (ข)) เพราะฉะนั้นค่า x 0 , y0 , z0 ต้ องสอดคล้ องสมการ L1 และ L 2
2.2 ไม่ตดั กัน และ ขนานกัน (รูปที่ 3.3.3 (ค)) เพราะฉะนั้น ต้ องมี s0 และ t 0 ทําให้ สมการต่อไปนี้เป็ นจริง
x0 = 2 + s0
⎫⎪
y0 = 4 − s0 ⎬ ... (1)
⎪⎭
z0 = 3 + s0

และ
x0 = 1 + t0
⎫⎪
y0 = 9 + 3t 0 ⎬ ... (2)
⎪⎭
z0 = 2 + t0
รูปที่ 3.3.3 (ก) รูปที่ 3.3.3 (ข) รูปที่ 3.3.3 (ค)
คําเตือน
ในการหาจุดตัด เส้ นตรง L1 และเส้ นตรง L 2 ต้ องใช้ ตวั แปร
เสริมคนละตัวกัน

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


53 บทที่ 3 54 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

จาก (1) กับ (2) เราได้ 2 + s0 = 1 – t 0 ตัวอย่าง 3.3.7 กําหนดให้ L1, L 2 เป็ นเส้ นตรงซึ่งมีสมการเป็ น
4 – s0 = 9 + 3 t 0 L1 : 2 – x = 3 – y = z − 1
2
3 + 2 s0 = 2 + t 0 และ L2 : 7 − x = y = z – 1
3
หรือ s0 + t 0 = –1 ... (3) จงพิจารณาว่า L1 และ L 2 ตัดกันหรือไม่ ถ้ าตัดกันจงหาจุดตัด
– s0 – 3 t 0 = 5 ... (4) วิธีทํา สมมติ L1 ตัดกับ L 2
2 s0 – t 0 = –1 ... (5) เพราะฉะนั้นมีจุด P0 จุดหนึ่ง ซึ่งอยู่ท้งั บน L1 และ L 2
จาก (3) และ (4) หาค่า s0 และ t 0 ให้ จุด P0 มีพิกดั เป็ น ( x 0 , y0 , z0 )
จะได้ s0 = 1 และ t 0 = –2 เพราะฉะนั้น x 0 , y0 , z0 ต้ องสอดคล้ องสมการของ L1 และ L 2
เมือ่ ได้ s0 = 1 และ t 0 = –2 แล้วต้องตรวจสอบกับสมการที่ เพราะฉะนั้น 2 – x0 = 3 – y0 = z 02− 1 ... (1)
เหลือ ในทีน่ คืี้ อสมการ (5) 7 − x0
และ 3
= y0 = z 0 – 1 ... (2)
แทนค่า s0 และ t 0 ใน (5) ได้ 4 = –1 ซึ่งเป็ นไปไม่ได้ จาก (1) เราได้ 2 – x 0 = 3 – y0
แสดงว่าไม่มีค่า s0 และ t 0 ที่ทาํ ให้ ค่า หรือ – x 0 + y0 = 1 ... (3)
x 0 , y0 , z0 สอดคล้ องกับสมการของ L1 และ L 2 7 − x0
จาก (2) เราได้ 3
= y0
เพราะฉะนั้น L1 ไม่ตดั กับ L2 †
หรือ x 0 + 3 y0 = 7 ... (4)
จาก (3) และ (4) หาค่า x0 และ y0
คําแนะนํา จะได้ x0 = 1 และ y0 = 2
การหาค่า s0 และ t 0 เลือกจากสมการ (3), (4), (5) ก็ได้ ต้องนําค่า x0 = 1, y0 = 2 ทีไ่ ด้ตรวจสอบกับสมการทีเ่ หลือ
เพราะฉะนั้นควรเลือกจากคู่ของสมการที่คิดเลขง่าย ว่าได้ค่า z ตัวเดียวกันหรือไม่
แทนค่า y0 ใน (1) และ (2) จะได้ ค่า z0 ที่เท่ากันคือ z0 = 3
แสดงว่า L1 ตัดกับ L 2 ที่จุด (1, 2, 3) †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

55 บทที่ 3 56 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.3.4 มุมระหว่างเส้นตรงสองเส้น ตัวอย่าง 3.3.8.1 จงหามุมระหว่างเส้ นตรง L1 กับ L2


บทนิยาม 3.3.2 เมื่อกําหนด L1 : 2x – 1 = y = 1− z
3
มุมระหว่างเส้นตรงสองเส้น คือ มุมระหว่างเวกเตอร์แสดง L2 : x =y–1=z
4
ทิศทางของเส้ นตรงทั้งสอง วิธีทํา
เส้ นตรง L1 มีสมการเป็ น 2x – 1 = y = 1−3 z
x−1
หรือ 1
2 = 1y = z −1
−3
2
เพราะฉะนั้น เวกเตอร์แสดงทิศทางของ L1
K
คือ A1 = ( 12 , 1, –3)
จากสมการของ L 2 จะได้ ว่า
K
เวกเตอร์แสดงทิศทางของ L 2 คือ A 2 = (4, 1, 1)
K K
รูปที่ 3.3.4 เพราะว่า A1⋅ A 2 = ( 12 , 1, –3)⋅(4, 1, 1)
=2+1–3
=0
เพราะฉะนั้น A1 ตั้งฉากกับ AK 2
K

เพราะฉะนั้น มุมระหว่าง AK 1 กับ AK 2 คือ π2


เพราะฉะนั้น มุมระหว่างเส้ นตรง L1 กับ L 2 คือ π2 †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


57 บทที่ 3 58 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.3.8.2 จงหามุมระหว่างเส้ นตรง L1 กับ L2 หมายเหตุ


เมื่อกําหนด L1 : x = 2 + s, y = 1 + 2s, 2z = 1 + 4s 1. ในกรณีท่มี ุมระหว่างเส้ นตรงสองเส้ น คือ π2
L 2 : x = –3t, y = 2 + 4t, z = –1 + 5t เช่น ตัวอย่าง 3.3.8 ข้ อ 1.
วิธีทํา เราจะกล่าวว่า L1 ตั้งฉาก กับ L 2
เส้ นตรง L1 มีสมการเป็ น 2. ในตัวอย่าง 3.3.8 ข้ อ 2.
x = 2 + s, y = 1 + 2s, 2z = 1 + 4s ถ้ าเราใช้ เวกเตอร์แสดงทิศทาง ของ L 2
หรือ x = 2 + s, y = 1 + 2s, z = 12 + 2s คือ AK 2 = (3, –4, –5)
เพราะฉะนั้น เวกเตอร์แสดงทิศทางของ L1 คือ AK 1 = (1, 2, 2) เราจะได้ ว่า มุมระหว่าง L1 กับ L 2 คือ 3π4
จากสมการของ L 2 จะได้ ว่า
เวกเตอร์แสดงทิศทางของ L 2 คือ AK 2 = (–3, 4, 5) โดยทัว่ ไป
ให้ θ เป็ นมุมระหว่าง AK 1 กับ AK 2 ถ้ า θ เป็ นมุมระหว่างเวกเตอร์แสดงทิศทาง
K K
A1 ⋅ A 2
cos θ = || A || || AK ||
K ของเส้ น ตรง L1 กับ L2
1 2
= (1,2,2) ⋅ (−3,4,5) แล้ ว มุมระหว่างเส้ นตรง L1 กับ L 2 ก็คือ θ หรือ π – θ
12 + 2 2 + 2 2 ( −3) 2 + 4 2 + 5 2
= 3(515 2 )
= 12
เพราะฉะนั้น θ = arccos( 1 ) = π
2 4
เพราะฉะนั้น มุมระหว่าง L1 กับ L2 คือ π4 †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

59 บทที่ 3 60 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.3.9 จงหาสมการของเส้ นตรงที่ผ่านจุด เพราะว่าจุด M อยู่บน L1


B(1, –1, 2) ซึ่งตัดและตั้งฉากกับเส้ นตรง x – 1 = y−−23 = –z เพราะฉะนั้น พิกดั ของจุด M ย่อมสอดคล้ องกับสมการของ L1
พร้ อมทั้งหาจุดตัดด้ วย เพราะฉะนั้น a – 1 = b−−23 = – c
วิธีทํา ให้ L1 เป็ นเส้ นตรงที่มีสมการเป็ น x – 1 = y−−23 = –z จะได้ ว่า a – 1 = – c และ b−−23 = – c
เพราะฉะนั้น L1 มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 1 = (1, –2, –1) หรือ a = 1 – c และ b = 2c + 3 ... (2)
สมมติเส้นตรงทั้งสองตัดกันทีจ่ ุด M(a, b, c) แทนค่า a, b ใน (1) ได้ (1 – c) – 2(2c + 3) – c = 1
ให้ L 2 เป็ นเส้ นตรงที่ผ่านจุด B(1, –1, 2) –5 – 6c = 1
ซึ่งตัดและตั้งฉากกับ L1 ที่จุด M(a, b, c) c = –1
เพราะว่า จุด B และ M อยู่บน L2 แทนค่า c ใน (2) ได้ a = 2 และ b = 1
เพราะฉะนั้น เวกเตอร์แสดงทิศทางของ L 2 คือ เพราะฉะนั้น พิกดั ของจุดตัดคือ (2, 1, –1)
K K L 2 เป็ นเส้ นตรงที่ผ่านจุด B(1, –1, 2)
BM = M – B
= (a – 1, b + 1, c – 2) และมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง BM = (1, 2, – 3)
เพราะว่า L1 ตั้งฉากกับ L2 เพราะฉะนั้นเส้ นตรง L 2 มีสมการเป็ น
เพราะฉะนั้น K
A1⋅ BM = 0 x – 1 = y 2+ 1 = z−−32 †
(1, – 2, –1) ⋅ (a – 1, b + 1, c – 2) = 0
(a – 1) – 2(b + 1) – (c – 2) = 0 หมายเหตุ ตัวอย่าง 3.3.9 อาจจะทําได้ อกี วิธหี นึ่ง
a – 2b – c = 1 ... (1) เพราะว่าจุด M เป็ นจุดเชิงเส้ นตั้งฉากของจุด B บนเส้ นตรง L1
เพราะฉะนั้น เราสามารถหาจุด M ได้ โดยใช้ สตู ร
K K K
K K (B − P0 ) ⋅ A K
M = P0 + [ K 2 ]A
|| A ||
และ หาสมการของ L2 ที่ผ่านจุด B และ M ได้
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
61 บทที่ 3 62 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.3.5 การขนานกันของเส้นตรง 3.3.6 การไขว้ต่างระนาบของเส้นตรง


เส้ นตรงสองเส้ นจะขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เวกเตอร์แสดงทิศทางของ เราจะเรียกเส้ นตรงสองเส้ นว่า เส้นไขว้ต่างระนาบ
เส้ นตรงทั้งสองขนานกัน ก็ต่อเมื่อ
ตัวอย่าง 3.3.10 จงหาสมการของเส้ นตรงที่ผ่านจุด เราไม่สามารถหาระนาบที่เส้ นตรงทั้งสองอยู่ในระนาบเดียวกันได้
(2, 1, –2) และขนานกับเส้ นตรงที่มีสมการเป็ น
x + 1 = 2 y4− 1 = 4 −3 z การจะพิจารณาว่าเส้ นตรงใดๆ สองเส้ นเป็ นเส้ นไขว้ ต่างระนาบ
วิธีทํา ให้ L1 เป็ นเส้ นตรงที่มีสมการเป็ น หรือไม่
x + 1 = 2 y4− 1 = 4 −3 z ทําได้ โดยแสดงให้ เห็นว่าเส้ นตรงทั้งสอง
ไม่ตดั กัน และ ไม่ขนานกัน
y−1
หรือ x +1 = 2 = z−4
1 2 −3
เพราะฉะนั้น L1 มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 1 = (1, 2, –3)
ให้ L 2 เป็ นเส้ นตรงที่ผ่านจุด (2, 1, –2) และขนานกับ L1
เพราะว่า L1 ขนานกับ L 2
เพราะฉะนั้นเวกเตอร์แสดงทิศทางของ L 2 ขนานกับ AK 1
แสดงว่า AK 1 ก็เป็ นเวกเตอร์แสดงทิศทางของ L 2 ด้ วย
เพราะฉะนั้น L 2 มีสมการเป็ น x – 2 = y 2− 1 = z−+32 †
หมายเหตุ รูปที่ 3.3.5
1. ถ้ า เส้ นตรงสองเส้ นใน R 3 ไม่ขนานกัน
แล้ ว เส้ นตรงทั้งสองไม่จาํ เป็ นต้ องตัดกัน
เช่น ในตัวอย่าง 3.3.6
2. มุมระหว่างเส้ นตรงที่ขนานกัน คือ 0 หรือ π
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

63 บทที่ 3 64 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.3.11.1 จงพิจารณาว่าเส้ นตรง L1 และ L2 เป็ นเส้ น ตัวอย่าง 3.3.11.2 จงพิจารณาว่า L1 และ L2 เป็ นเส้ นไขว้ ต่าง
ไขว้ ต่างระนาบหรือไม่ เมื่อ L1 และ L2 มีสมการเป็ น ระนาบหรือไม่ เมื่อ L1 และ L2 มีสมการเป็ น
y
L1 : 2x – 1 = 2 – y = 3z L1 : x =
2
= z – 1 และ L 2 : x 2+ 1 = y – 1 = z +3 2
y
L2 : 2 − x =
3 6
= 1 −2 z วิธีทํา เวกเตอร์แสดงทิศทางของ L1 คือ AK 1 = (1, 2, 1)
วิธีทํา เวกเตอร์แสดงทิศทางของ L 2 คือ AK 2 = (2, 1, 3)
จากสมการของ L1 2x – 1 = 2 – y = 3z เพราะว่า ไม่มีจาํ นวนจริง k ที่ทาํ ให้ AK 1 = k AK 2 หรือ AK 2 = k AK 1
x−1
2 y−2z
เพราะฉะนั้น AK 1 ไม่ขนานกับ AK 2
หรือ 1
= −1
1
=
เพราะฉะนั้น L1 ไม่ขนานกับ L2
2 3
K 1
จะได้ ว่า L1 มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง A1 = ( 2 , –1, 13 ) สมมติ L1 ตัดกับ L 2 เพราะฉะนั้นมีจุด P0 อยู่บน L1 และ L 2
จากสมการของ L 2 2 − x = y = 1− z ให้ จุด P0 มีพิกดั เป็ น ( x 0 , y0 , z0 )
3 6 2
y
เพราะฉะนั้น x 0 , y0 , z0 สอดคล้ องทั้งสมการของ L1 และ L 2
หรือ x −
−3
2 = 6 = −−21
z
y
K เพราะฉะนั้น x0 = 0 = z 0 – 1 ... (1)
จะได้ ว่า L2 มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง A 2 = (–3, 6, –2) 2
x0 + 1 z0 + 2
K K
จะเห็นว่า A 2 = –6 A1 แสดงว่า AK 1 ขนานกับ AK 2 และ 2
= y0 – 1 = 3
... (2)
y0
เพราะฉะนั้น L1 ขนานกับ L 2 จาก (1) ; x 0 = 2
หรือ 2 x0 – y0 =0 ... (3)
เพราะฉะนั้น L1 และ L2 ไม่เป็ นเส้ นไขว้ ต่างระนาบ † จาก (2) ; x 02+ 1 = y0 – 1 หรือ x 0 – 2 y0 = –3 ... (4)
จาก (3) และ (4) จะได้ x 0 = 1 และ y0 = 2
ต้ องนําค่า x 0 = 1, y0 = 2 ตรวจสอบว่าให้ ค่า z เดียวกันหรือไม่
แทนค่า y0 ใน (1) และ (2) จะได้ z0 = 2 และ z0 = 1
ตามลําดับ ซึ่งเป็ นไปไม่ได้ แสดงว่า L1 ไม่ตดั กับ L 2
เพราะฉะนั้น L1 และ L 2 เป็ นเส้ นไขว้ ต่างระนาบ †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
65 บทที่ 3 66 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.3.7 ระยะทางระหว่างเส้นตรงสองเส้น ระยะทางระหว่างเส้นตรงสองเส้นทีไ่ ม่ขนานกัน


บทนิยาม 3.3.3 ระยะทางระหว่างเส้ นตรงสองเส้ น ให้ L1 และ L 2 เป็ นเส้ นตรงที่ไม่ขนานกัน
คือ ระยะทางที่ส้นั ที่สดุ ระหว่างเส้ นตรงทั้งสอง โดยที่ L1 ผ่านจุด P1 และ มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 1
ในการหาระยะทางระหว่างเส้ นตรงสองเส้ น จะพิจารณาโดยการ และ L 2 ผ่านจุด P2 และ มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 2
แยกเป็ น 2 กรณี คือ
1. เส้ นตรงทั้งสองขนานกัน
2. เส้ นตรงทั้งสองไม่ขนานกัน
ระยะทางระหว่างเส้นตรงสองเส้นทีข่ นานกัน
ให้ L1 และ L 2 เป็ นเส้ นตรงสองเส้ นที่ขนานกัน ซึ่งผ่านจุด P1
และ P2 ตามลําดับ
ระยะทางระหว่าง L1 กับ L 2 คือ
ระยะทางจากจุด P1 ไปยัง L 2 หรือระยะทางจากจุด P2 ไปยัง L1 รูปที่ 3.3.7
ให้ Q1 และ Q2 เป็ นจุดปลายของส่วนของเส้ นตรงที่ต้งั ฉาก
กับ L1 และ L 2
โดยที่ Q1 อยู่บน L1 และ Q2 อยู่บน L2
จะได้ ว่า || Q1Q 2 || เป็ นระยะทางระหว่าง L1 กับ L 2
เพราะว่า L1 ไม่ขนานกับ L2
เพราะฉะนั้น AK 1 ไม่ขนานกับ AK 2
K K K
เพราะฉะนั้น A1× A 2 ≠ O
รูปที่ 3.3.6 เพราะว่า Q1Q2 ตั้งฉากกับทั้ง AK 1 และ AK 2
เพราะฉะนั้น Q1Q 2 ขนานกับ AK 1× AK 2
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

67 บทที่ 3 68 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.3.12.1 จงหาระยะทางระหว่างเส้ นตรง


L1 กับ L 2 เมื่อ L1 และ L 2 มีสมการเป็ น
L1 : x = 1 + s, y = 2 – 2s, z = –1 + 2s
L 2 : x = 2 – t, y = 1 + 2t, z = –2t
วิธีทํา
L1 ผ่านจุด P1 (1, 2, –1)
และ มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 1 = (1, –2, 2)
รูปที่ 3.3.7 L 2 ผ่านจุด P2 (2, 1, 0)
จากรูปที่ 3.3.7 และ มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 2 = (–1, 2, –2)
|| Q1Q 2 || = ขนาดของภาพฉายสเกลาร์ของ P1P2 เพราะฉะนั้น AK 1 = – AK 2
บน AK 1× AK 2 เพราะฉะนั้น AK 1 ขนานกับ AK 2
เพราะฉะนั้น เพราะฉะนั้น L1 ขนานกับ L2
K K เพราะฉะนั้น
ระยะทางระหว่าง L1 กับ L 2 = | P1P||2AK⋅ (A×1AK× A||2 ) |
1 2 ระยะทางระหว่าง L1 กับ L2 = ระยะทางจากจุด P1 ไปยัง L2
K
= || P2||PA1K× A|| 2 ||
หมายเหตุ ในกรณีท่ี L1 ตัดกับ L 2 จะได้ ว่า 2

ระยะทางระหว่าง L1 กับ L 2 เป็ นศูนย์

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


69 บทที่ 3 70 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ
G
P2 P1 = P1 – PK2 ตัวอย่าง 3.3.12.2 จงหาระยะทางระหว่างเส้ นตรง
y −1
= (1, 2, –1) – (2, 1, 0) L1 : x − 1 = – y = z และ L 2 : x = =z
2 −2 −3 2
= (–1, 1, –1) วิธีทํา L1 ผ่านจุด P1(1, 0, 0)
P2 P1 × AK 2 และ มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 1 = (2, –1, –2)
K K K
i j k
L 2 ผ่านจุด P2 (0, 1, 0)
= −1 1 −1
−1 2 − 2 และ มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK 2 = (–3, 2, 1)
1 − 1 Ki – − 1 − 1 Kj + − 1 1 kK
= 2 −2 −1 − 2 −1 2 เพราะว่า ไม่มีจาํ นวนจริง k ที่ทาํ ให้ AK 1 = k AK 2 หรือ AK 2 = k AK 1
=
K K K
(–2 + 2) i – (2 – 1) j + (–2 + 1) k เพราะฉะนั้น AK 1 ไม่ขนานกับ AK 2
K K เพราะฉะนั้น L1 ไม่ขนานกับ L 2
= –j – k K K
|| P2P1 × AK 2 || แสดงว่า ระยะทางระหว่าง L1 กับ L 2 = | P1P||2AK⋅ (A×1AK× A||2 ) |
1 2
= (−1) 2 + (−1) 2 P1P2 = PK2 – PK1
= 2 = (0, 1, 0) – (1, 0, 0)
K
|| A 2 || = (−1) 2 + 2 2 + (−2) 2 = (–1, 1, 0)
K K K
= 9 K K i j k
=3 A1 × A2 = 2 −1 − 2
−3 2 1
เพราะฉะนั้น ระยะทางระหว่าง L1 กับ L2 =
K
−1 − 2 i – 2 − 2 Kj + 2 − 1 kK
K 2 1 −3 1 −3 2
|| P2P1 × A 2 || K K K
= K = (–1 + 4) i – (2 – 6) j + (4 – 3) k
|| A 2 ||
K K K
= 3
2 หน่วย † = 3i + 4 j + k

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

71 บทที่ 3 72 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

|| AK 1 × AK 2 || = 32 + 4 2 + 12 03.4 ระนาบใน R 3
= 26 3.4.1 สมการของระนาบ
K K
| P1P2 ⋅( A1 × A 2 ) | บทนิยาม 3.4.1
K
= | (–1, 1, 0)⋅(3, 4, 1) | ให้ P0 เป็ นจุดใน R 3 และ NK ≠ O เป็ นเวกเตอร์ใน R 3
= | –3 + 4 + 0 | เราจะเรียกเซตของจุด P ใดๆ ซึ่งทําให้ P0P ตั้งฉากกับ NK ว่า
K
=1 ระนาบทีผ่ ่านจุด P0 และตั้งฉากกับเวกเตอร์ N
K
เพราะฉะนั้น และเรียก N ว่า เวกเตอร์แนวฉาก ของระนาบ
ระยะทางระหว่าง L1 กับ L 2 มีค่า
K K
= | P1P||2AK⋅ (A×1AK× A||2 ) |
1 2
= 1
26
หน่วย †

รูปที่ 3.4.1
รูปที่ 3.4.1 แสดงกราฟของระนาบที่ผ่านจุด P0
K
และตั้งฉากกับเวกเตอร์ N
ข้อสังเกต
K
ถ้ า N เป็ นเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M
K
แล้ ว เวกเตอร์ท่ไี ม่ใช่เวกเตอร์ศนู ย์ซ่งึ ขนานกับ N
เป็ นเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M ด้ วย
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
73 บทที่ 3 74 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

การหาสมการของระนาบ M ซึ่งผ่านจุด P0 ( x 0 , y0 , z0 ) ตัวอย่าง 3.4.1 จงหาสมการเวกเตอร์และสมการคาร์ทเี ซียนของ


K
และมี N (a, b, c) เป็ นเวกเตอร์แนวฉาก ระนาบ M ที่ผ่านจุด P0 (1, 2, –3)
K
ให้ P(x, y, z) เป็ นจุดใดๆ บนระนาบ M และมีเวกเตอร์แนวฉาก N = (2, –1, 3)
K
เพราะฉะนั้น P0P ตั้งฉากกับ N วิธีทํา
K
เพราะฉะนั้น P0 P ⋅ N = 0 ให้ P(x, y, z) เป็ นจุดบนระนาบน M
K K
( PK – P0 )⋅ N = 0 ... (3.4.1) สมการเวกเตอร์ของระนาบ M ที่ผ่านจุด P0 (1, 2, –3)
K
K K K K และมีเวกเตอร์แนวฉาก N = (2, –1, 3) คือ
P ⋅ N = P0 ⋅ N
K
((x, y, z) – ( x 0 , y0 , z0 ))⋅(a, b, c) = 0 ... (3.4.2) ( PK – PK0 )⋅ N = 0
เราเรียกสมการ (3.4.1) หรือ (3.4.2) ว่า หรือ ((x, y, z) – (1, 2, –3))⋅(2, –1, 3) = 0
สมการเวกเตอร์ ของระนาบ M และสมการคาร์ทเี ซียนของระนาบ คือ
จากสมการ (3.4.2) เราจะได้ 2(x – 1) – (y – 2) + 3(z + 3) = 0
(x – x 0 , y – y0 , z – z0 )⋅(a, b, c) = 0 หรือ 2x – y + 3z = –9 †
a(x – x 0 ) + b(y – y0 ) + c(z – z0 ) = 0 ... (3.4.3) ข้อตกลง
ax + by + cz = a x0 + b y0 + c z0 โดยทั่วไปแล้ วเมื่อกล่าวถึงสมการของระนาบ
ax + by + cz = d ... (3.4.4) เราจะหมายถึงสมการคาร์ทเี ซียนของระนาบในรูป
K K
เมื่อ d = a x 0 + b y 0 + c z 0 = P0 ⋅ N ax + by + cz = d
เราจะเรียกสมการ (3.4.3) หรือ (3.4.4) ว่า
สมการคาร์ทีเซียน ของระนาบ M
ข้อสังเกต สัมประสิทธิ์ของ x, y, z ในสมการ (3.4.4)
คือ ส่วนประกอบของเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

75 บทที่ 3 76 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.2 จงหาสมการของระนาบ M ผ่านจุด 3.4.2 การเขียนกราฟของระนาบ


P0 (1, –2, 3), P1 (2, 1, 1) และ P2 (2, –2, 2) กราฟของระนาบที่มีสมการเป็ น z = 0 คือระนาบ XY
วิธีทํา ให้ P(x, y, z) เป็ นจุดบนระนาบ M
เพราะว่า P0 , P1 , P2 อยู่บนระนาบ M
เพราะฉะนั้น P0P1 และ P0P2 ตั้งฉากกับเวกเตอร์แนวฉากของ
ระนาบ M
เพราะฉะนั้น P0P1 × P0P2 ขนานกับเวกเตอร์แนวฉากของ
ระนาบ M
K
เพราะฉะนั้น N ขนานกับ P0P1 × P0P2 รูปที่ 3.4.2
K K K K
P0 P1 × P0 P2 = ( P1 – P0 ) × ( P2 – P0 )
กราฟของระนาบที่มีสมการเป็ น z = 4
เป็ นระนาบที่ขนานกับระนาบ XY และ
= (1, 3, –2) × (1, 0, –1)
K K K ผ่านจุด P(0, 0, 4)
i j k
= 1 3 −2
1 0 −1
K
= 0 −− 12 i –
3 1 − 2 Kj + 1 3 kK
1 −1 1 0
K K K
= –3 i – j – 3 k
K
เลือก N = (–3, –1, –3)
เพราะว่าระนาบผ่านจุด P0 (1, –2, 3)
เพราะฉะนั้น ระนาบมีสมการเป็ น รูปที่ 3.4.3
–3(x – 1) – (y + 2) – 3(z – 3) = 0
หรือ 3x + y + 3z = 10 †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


77 บทที่ 3 78 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.3 จงเขียนกราฟของระนาบ 2x + y + 3z = 6 ตัวอย่าง 3.4.4 จงเขียนกราฟของระนาบ x – y + 2z = 0


ในอัฐภาคที่ 1 วิธีทํา
วิธีทํา หาจุดตัดของระนาบกับแกนพิกดั ฉากทั้งสาม แทน x = 0, y = 0 ในสมการของระนาบ
แทน y = 0, z = 0 จะได้ z = 0 แสดงว่าระนาบผ่านจุดกําเนิด
ในสมการของระนาบ จะได้ x = 3 พิจารณารอยตัดของระนาบนี้กบั ระนาบ XY , YZ
เพราะฉะนั้น จุดตัดของระนาบกับแกน X คือ A(3, 0, 0) เราจะได้ ว่า
แทน x = 0, z = 0 ระนาบนี้ตดั ระนาบ XY (คือระนาบ z = 0)
ในสมการของระนาบ จะได้ y = 6 ตามแนวเส้ นตรง x – y = 0, z = 0
เพราะฉะนั้น จุดตัดของระนาบกับแกน Y คือ B(0, 6, 0) และ
แทน x = 0, y = 0 ตัดกับระนาบ YZ (คือระนาบ x = 0)
ในสมการของระนาบ จะได้ z = 2 ตามแนวเส้ นตรง –y + 2z = 0, x = 0
เพราะฉะนั้น จุดตัดของระนาบกับแกน Z คือ C(0, 0, 2) เพราะฉะนั้นระนาบที่ต้องการก็คือ
โยงจุด 3 จุดที่เกิดจากแกนพิกดั ฉากตัดกับระนาบ ระนาบที่ผ่านเส้ นตรงทั้งสองนี้
จะได้ รปู สามเหลี่ยมรูปหนึ่งซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของระนาบที่ต้องการ

† รูปที่ 3.4.5
รูปที่ 3.4.4 †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

79 บทที่ 3 80 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.5 จงเขียนกราฟของระนาบ x + 2y = 2 3.4.3 จุดกับระนาบ


วิธีทํา แทน y = 0, z = 0 ในสมการของระนาบ จะได้ x = 2 จุดใดๆ จะอยู่บนระนาบ
เพราะฉะนั้น จุดตัดของระนาบกับแกน X คือ (2, 0, 0) ก็ต่อเมื่อ พิกดั ของจุดนั้นสอดคล้ องกับสมการของระนาบ
แทน x = 0, z = 0 ในสมการของระนาบ จะได้ y = 1
ตัวอย่างที่ 3.4.6 จงพิจารณาว่า จุด P(1, 2, –1)
เพราะฉะนั้น จุดตัดของระนาบกับแกน Y คือ (0, 1, 0)
และ Q(2, 3, 1)
แทน x = 0, y = 0 ในสมการของระนาบ จะได้ 0 = 2 ซึ่งเป็ นไป
อยู่บนระนาบที่มีสมการเป็ น x – 2y – 4z = 1 หรือไม่
ไม่ได้ แสดงว่า ระนาบไม่ตดั กับแกน Z
วิธีทํา
พิจารณารอยตัดของระนาบนี้ กับระนาบพิกดั ฉาก
แทน x = 1, y = 2, z = –1 ในสมการของระนาบ จะได้
ระนาบนี้ตดั กับระนาบ XY ตามแนวเส้ นตรง x + 2y = 2, z = 0
1 – 2(2) – 4(–1) = 1
ระนาบนี้ตดั กับระนาบ XZ ตามแนวเส้ นตรง x = 2, y = 0
1 =1 ซึ่งเป็ นจริง
ระนาบนี้ตดั กับระนาบ YZ ตามแนวเส้ นตรง y = 1, x = 0
แสดงว่าพิกดั ของจุด P สอดคล้ องกับสมการของระนาบ
เพราะฉะนั้นระนาบที่ต้องการก็คือระนาบที่ผ่านเส้ นตรงทั้งสามนี้
เพราะฉะนั้นจุด P อยู่บนระนาบ
แทน x = 2, y = 3, z = 1 ในสมการของระนาบ จะได้
2 – 2(3) – 4(1) = 1
–8 = 1 ซึ่งไม่เป็ นจริง
แสดงว่าพิกดั ของจุด Q ไม่สอดคล้ องกับสมการของระนาบ
เพราะฉะนั้น จุด Q ไม่อยู่บนระนาบ †

†
รูปที่ 3.4.6

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


81 บทที่ 3 82 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.7 จงพิจารณาว่า P0 (1, 2, –1), P1 (2, 0, 1), การตรวจสอบว่า P3 (1, 2, 3) อยู่บนระนาบ M
P2 (3, 4, 1) และ P3 (1, 2, 3) อยู่บนระนาบเดียวกันหรือไม่ แทน x = 1, y = 2, z = 3 ในสมการของระนาบ M
วิธีทํา ให้ M เป็ นระนาบที่ผ่านจุด P0 , P1 และ P2 จะได้
K K
P0 P1 = P1 – P0 = (2, 0, 1) – (1, 2, –1) = (1, –2, 2) 4(1) – 2 – 3(3) = 5
K K
P0 P2 = P2 – P0 = (3, 4, 1) – (1, 2, –1) = (2, 2, 2) –7 = 5 ซึ่งไม่เป็ นจริง
เพราะว่า P0P1 × P0P2 แสดงว่าพิกดั ของ P3 ไม่สอดคล้ องกับสมการของระนาบ M
K K K
i j k เพราะฉะนั้นจุด P3 ไม่อยู่บนระนาบ M
= 1 −2 2
2 2 2 สรุป จุด P0 , P1 , P2 และ P3 ไม่อยู่บนระนาบเดียวกัน †
= − 22 2 Ki – K
1 2 j + 1 −2 k K
2 2 2 2 2
K K K
= –8 i + 2j + 6k
เพราะฉะนั้น M เป็ นระนาบที่ผ่านจุด P0 หมายเหตุ
และมีเวกเตอร์แนวฉาก P0P1 × P0 P2 1. ถ้ า P0P3 ⋅( P0P1 × P0P2 ) ≠ 0
สมการระนาบ M จะมีสมการเป็ น แล้ ว P0 , P1, P2 และ P3 ไม่อยู่บนระนาบเดียวกัน
P0P1
≠0
–8(x – 1) + 2(y – 2) + 6(z + 1) = 0
2. ถ้ า P0P2
–8x + 2y + 6z = –10 P0P3
4x – y – 3z = 5 แล้ ว P0 , P1 , P2 และ P3 ไม่อยู่บนระนาบเดียวกัน

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

83 บทที่ 3 84 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ถ้ าจุดไม่อยู่บนระนาบ เราหา ระยะทางระหว่างจุดกับระนาบ ได้ ระยะทางตั้งฉากจากจุด P0 ไปยังระนาบ M คือ || P0Q ||


โดยเรานิยาม ระยะทางระหว่างจุดกับระนาบ ว่า คือ ระยะทาง ซึ่งคือระยะทางจากจุด P0 ไปยังระนาบ M
ตั้งฉากจากจุดไปยังระนาบ (จุด Q จะเป็ นจุดบนระนาบ M ซึ่งอยู่ใกล้ จุด P0 มากที่สดุ )
ให้ M : ax + by + cz = d และ P1( x1 , y1, z1)
เป็ นระนาบที่มีสมการเวกเตอร์เป็ น ( PK – PK1 )⋅ NK = 0
เพราะฉะนั้น M เป็ นระนาบที่ผ่าน P1 มี NK เป็ นเวกเตอร์แนวฉาก
ให้ P0 เป็ นจุดที่มิได้ อยู่บนระนาบ M
การลากเส้ นตั้งฉากจากจุด P0 ไปยังระนาบ M
เราใช้ เวกเตอร์แนวฉากของระนาบเป็ นหลักในการลากเส้ นตั้ง
รูปที่ 3.4.7 (ก) รูปที่ 3.4.7 (ข)
ฉาก กล่าวคือ
ลากเส้ นตรงผ่านจุด P0 ขนานกับ NK พบกับระนาบ M ที่จุด Q
จากรูปที่ 3.4.7 (ข) จะได้ ว่า
เพราะฉะนั้น P0Q ขนานกับ NK K
|| P0Q || = ขนาดของภาพฉายสเกลาร์ของ P1P0 บน N
K
= | P1||PN0K ⋅||N |
K K K
= | (P0 ||−NKP1||) ⋅ N |

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


85 บทที่ 3 86 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

เพราะว่า M เป็ นระนาบที่มีสมการเป็ น ax + by + cz = d ตัวอย่าง 3.4.8 จงหาระยะทางระหว่าง


ซึ่งผ่านจุด P1( x1 , y1, z1) จุด P0 (4, 3, –1) กับระนาบ 2x – y – 2z = 1
เพราะฉะนั้น a x1 + b y1 + c z1 = d ... (1) วิธีทํา
และระนาบ M มีเวกเตอร์แนวฉาก NK = (a, b, c) ให้ D เป็ นระยะทางระหว่างจุด P0 (4, 3, –1)
ให้ P0 ( x 0 , y0 , z0 ) เป็ นจุดที่ไม่ได้ อยู่บนระนาบ M กับระนาบ 2x – y – 2z = 1
เราจะได้ ว่า
K K K
เพราะฉะนั้น D = | 2(24) − 3 − 22(−1) − 12|
2 + (−1) + (−2)
|| P0Q || = | (P0 ||−NKP1||) ⋅ N | 6
= 3
| ( x 0 − x1, y0 − y1, z 0 − z1) ⋅ (a , b, c) |
= = 2 หน่วย †
a 2 + b2 + c2
| ax 0 + by0 + cz0 − (ax1 + by1 + cz1) |
=
a 2 + b2 + c2
| ax 0 + by0 + cz0 − d |
= (จาก (1))
a 2 + b2 + c2
เพราะฉะนั้น ระยะทางระหว่างจุด P0 ( x 0 , y0 , z0 )
กับระนาบ M คือ
ax 0 + by0 + cz0 − d
D=
a 2 + b2 + c2

หมายเหตุ ในกรณีท่จี ุด P0 อยู่บนระนาบ M


ระยะทางระหว่างจุด P0 กับระนาบ M เป็ นศูนย์

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

87 บทที่ 3 88 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.9 จงหาจุดบนระนาบ M : 2x + y – 3z = –10 3.4.4 ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นตรงกับระนาบ


ซึ่งอยู่ใกล้ จุด P0 (4, 2, 2) มากที่สดุ เส้ นตรงกับระนาบมีความสัมพันธ์กนั 3 กรณี ดังนี้
วิธีทํา ระนาบ M มีเวกเตอร์แนวฉาก NK = (2, 1, –3) 1. เส้ นตรงกับระนาบมีจุดร่วมกันเพียงจุดเดียว
ให้ Q( x 0 , y0 , z0 ) เป็ นจุดที่ตอั งการ ในกรณีน้ ีเรากล่าวว่า เส้นตรงตัดกับระนาบ
K
เพราะฉะนั้น P0Q ขนานกับ N และ เรียกจุดร่วมกันนี้ว่า จุดตัด ดังรูปที่ 3.4.8
K
เพราะฉะนั้น มี t ∈ R ที่ทาํ ให้ P0Q = t N 2. เส้ นตรงกับระนาบมีจุดร่วมกันมากกว่าหนึ่งจุด
K K K
Q – P0 = t N ในกรณีน้ ี เส้ นตรงย่อมต้ องอยู่ในระนาบทั้งเส้ น
( x 0 , y0 , z0 ) – (4, 2, 2) = t(2, 1, –3) ดังรูปที่ 3.4.9
( x0 – 4, y0 – 2, z0 – 2) = (2t, t, –3t) 3. เส้ นตรงกับระนาบไม่มีจุดร่วมกันเลย ดังรูปที่ 3.4.10
จะได้ x0 – 4 = 2t, y0 – 2 = t, z0 – 2 = –3t
หรือ x0 = 4 + 2t, y0 = 2 + t, z0 = 2 – 3t ... (1)
การหาค่า t
เพราะว่า Q( x 0 , y0 , z0 )
อยู่บนระนาบ 2x + y – 3z = –10 รูปที่ 3.4.8 รูปที่ 3.4.9 รูปที่ 3.4.10
เพราะฉะนั้น 2 x0 + y0 – 3 z0 = –10 ... (2) หากเส้ นตรงกับระนาบมีความสัมพันธ์กนั ในกรณีท่ี 2 หรือ 3
จาก (1) แทนค่า x 0 , y0 , z0 ใน (2) จะได้ เรากล่าวว่า เส้นตรงขนานกับระนาบ
2(4 + 2t) + (2 + t) – 3(2 – 3t) = –10 หมายเหตุ
14t = –14 เส้ นตรงจะขนานกับระนาบ ก็ต่อเมื่อ
t = –1 เวกเตอร์แสดงทิศทางของเส้ นตรงตั้งฉากกับเวกเตอร์แนวฉาก
แทนค่า t = –1 ใน (1) จะได้ x0 = 2, y0 = 1, z0 = 5 ของระนาบ
เพราะฉะนั้น จุดที่ต้องการคือ (2, 1, 5) †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
89 บทที่ 3 90 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.10.1 จงพิจารณาว่าเส้ นตรงกับระนาบที่ ตัวอย่าง 3.4.10.2 จงพิจารณาว่าเส้ นตรงกับระนาบที่


กําหนดให้ ตดั กันหรือขนานกัน ถ้ าตัดกันจงหาจุดตัด กําหนดให้ ตดั กันหรือขนานกัน ถ้ าตัดกันจงหาจุดตัด
ถ้ าขนานกัน จงพิจารณาว่าเส้ นตรงอยู่ในระนาบหรือไม่ ถ้ าขนานกัน จงพิจารณาว่าเส้ นตรงอยู่ในระนาบหรือไม่
เส้ นตรง L : PK = (1, 2, 3) + t(2, 1, –3) เส้ นตรง L : x – 1 = y 2+ 3 = z
กับ ระนาบ M : x + 4y + 2z = 5 กับ ระนาบ M : 2x – y + z = 7
วิธีทํา ให้ Q มีพิกดั เป็ น (1, 2, 3) วิธีทํา ให้ Q มีพิกดั เป็ น (1, –3, 0)
เส้ นตรง L ผ่านจุด Q(1, 2, 3) และมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง เส้ นตรง L ผ่านจุด Q(1, –3, 0) และมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง
K K
A = (2, 1, –3) A = (1, 2, 1)
จากสมการของระนาบ M จะได้ ว่า ระนาบมีเวกเตอร์แนวฉาก K
K
M : 2x – y + z = 7 มีเวกเตอร์แนวฉาก N = (2, –1, 1)
K K
N = (1, 4, 2)
K K
เพราะว่า A ⋅ N = (1, 2, 1)⋅(2, –1, 1)
เพราะว่า A ⋅ N = (2, 1, –3)⋅(1, 4, 2) = 1(2) + 2(–1) + 1(1)
= 2(1) + 1(4) – 3(2) =1
K
=0
K ≠0
เพราะฉะนั้น A ตั้งฉากกับ N K K
เพราะฉะนั้น A ไม่ต้งั ฉากกับ N
เพราะฉะนั้น เส้ นตรงขนานกับระนาบ เพราะฉะนั้น เส้ นตรงไม่ขนานกับระนาบ
แทน x = 1, y = 2, z = 3 ในสมการของระนาบ จะได้ เพราะฉะนั้น เส้ นตรงตัดกับระนาบ
1 + 4(2) + 2(3) = 5
15 = 5
ซึ่งไม่เป็ นจริง แสดงว่าจุด Q ไม่อยู่บนระนาบ
แสดงว่า เส้ นตรงขนานกับระนาบแต่ไม่อยู่ในระนาบ †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

91 บทที่ 3 92 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ให้ P0 ( x 0 , y0 , z0 ) เป็ นจุดตัดของเส้ นตรงกับระนาบ ตัวอย่าง 3.4.11 กําหนดเส้ นตรง L : x = y – 1 = 2z


เพราะฉะนั้น พิกดั ของจุด P0 ต้ องสอดคล้ องกับสมการของ และจุด Q(1, 3, –1) ซึ่งมิได้ อยู่บนเส้ นตรง L
เส้ นตรง L และสมการของระนาบ M จงหาสมการของระนาบ M ที่ผ่านเส้ นตรง L และจุด Q
เพราะฉะนั้น x0 – 1 = y02+ 3 = z0 ... (1) วิธีทํา L ผ่านจุด P0 (0, 1, 0) และมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง
K
และ 2 x 0 – y0 + z 0 = 7 ... (2) A = (1, 1, 2)

จาก (1) เราได้ y0 = 2 x0 – 5 และ z0 = x0 – 1 ... (3) จุด Q ไม่อยู่บน L เราจะหาสมการของระนาบที่ผ่าน L และจุด Q
K
แทน (3) ใน (2) ได้ การหาเวกเตอร์แนวฉาก N ของระนาบ M
2 x 0 – (2 x0 – 5) + ( x0 – 1) = 7
x0 + 4 = 7
x0 = 3
แทนค่า x0 = 3 ใน (3) ได้ y0 = 1 และ z0 = 2
เพราะฉะนั้น จุดตัดของเส้ นตรงกับระนาบ คือ (3, 1, 2) †
รูปที่ 3.4.11
เพราะว่า L อยู่ในระนาบ เพราะฉะนั้น L ขนานกับระนาบ M
เพราะฉะนั้น AK ตั้งฉากกับเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M
เพราะว่าจุด P0 และ Q อยู่บนระนาบ
เพราะฉะนั้น P0 Q ตั้งฉากกับเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M
เพราะฉะนั้น
K
A × P0Q ขนานกับเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M
K
เพราะฉะนั้น N = AK × P0Q
เป็ นเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
93 บทที่ 3 94 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ
K
P0Q = Q – PK0 ตัวอย่าง 3.4.12 จงหาสมการของระนาบ M ที่ผ่านจุด
= (1, 3, –1) – (0, 1, 0) Q(2, –3, 1) และขนานกับเส้ นตรง L1 : x – 1 = 2y = z
= (1, 2, –1) และ L2 : x2 = y = 3z
K
N = AK × P0Q K
วิธีทํา L1 มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง A1 = (1, 2, 1)
K K K
i j k K
L 2 มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง A 2 = (2, 1, 3)
= 1 1 2
1 2 −1 เพราะว่า L1 และ L2 ขนานกับระนาบ
1 2 Ki – 1 2 Kj+ 11 12 k
K K K
= 2 −1 1 −1 เพราะฉะนั้น A1 และ A 2 ตั้งฉากกับเวกเตอร์แนวฉากของ
K K K
= –5 i + 3 j + k ระนาบ
ระนาบ M ผ่านจุด Q(1, 3, –1) และมีเวกเตอร์แนวฉาก แสดงว่า AK 1 × AK 2 ขนานกับเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ
K
N = (–5, 3, 1) เราจะได้ ว่า
K K K
มีสมการเป็ น N = A1 × A 2 เป็ นเวกเตอร์แนวฉากเวกเตอร์หนึ่งของระนาบ
K K K
–5(x – 1) + 3(y – 3) + (z + 1) = 0 K i j k
N = 1 2 1
หรือ –5x + 3y + z = 3 † 2 1 3

= 2 1 Ki – 1 1 Kj
+ 12 12 k
K
1 3 2 3
K K K
= 5 i – j – 3k
เพราะฉะนั้น ระนาบ M ผ่านจุด Q(2, –3, 1) และมีเวกเตอร์
K
แนวฉาก N = (5, –1, –3)
มีสมการเป็ น
5(x – 2) – (y + 3) – 3(z – 1) = 0
หรือ 5x – y – 3z = 10 †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

95 บทที่ 3 96 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

บทนิยาม 3.4.2 ถ้ าเวกเตอร์แสดงทิศทางของเส้ นตรง L ตัวอย่าง 3.4.13 จงหามุมระหว่าง


ทํามุม θ กับเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M เส้ นตรง x5 = y−−21 = 5z กับระนาบ 2x + y – 7z = 1
เราจะกล่าวว่า มุมระหว่างเส้นตรง L กับระนาบ M วิธีทํา เส้ นตรงมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK = (5, –2, 5)
K
คือ | π2 – θ | และระนาบมีเวกเตอร์แนวฉาก N = (2, 1, –7)
K
ให้ θ เป็ นมุมระหว่าง AK กับ N
K K
cos θ = || AKA||⋅||NNK ||
(5,−2,5) ⋅ ( 2,1,−7)
=
5 + (−2) 2 + 5 2 2 2 + 12 + (−7) 2
2

= 10 − 2 − 35
54 54
= 27
– 54
รูปที่ 3.4.12 = – 12
หมายเหตุ เพราะฉะนั้น θ = arccos(– 12 ) = 23π
1. ถ้ า มุมระหว่างเส้ นตรงกับระนาบเป็ น 0 เพราะฉะนั้น
แล้ ว เส้ นตรงขนานกับระนาบ
มุมระหว่างเส้ นตรงกับระนาบ คือ | π2 – 2π |= π †
2. ถ้ ามุมระหว่างเส้ นตรงกับระนาบเป็ น π2 3 6

แล้ ว เส้นตรงตั้งฉากกับระนาบ จําได้ กด็ ี –1 ≤ x ≤ 1


เพราะฉะนั้น เส้ นตรงตั้งฉากกับระนาบ – π2 ≤ arcsin x ≤ π
2
ก็ต่อเมื่อ 0 ≤ arccos x ≤ π
เวกเตอร์แสดงทิศทางของเส้ นตรง arcsin(–x) = – arcsin x
ขนานกับเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ arccos(–x) = π – arccos x
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
97 บทที่ 3 98 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.14 จงหาสมการของระนาบ M ที่ผ่านจุด ให้ P0 ( x 0 , y0 , z0 ) เป็ นจุดตัดของเส้ นตรง L กับระนาบ M


Q(3, –6, 3) และตั้งฉากกับเส้ นตรง L เพราะฉะนั้น จุดนี้ย่อมสอดคล้ องกับสมการเส้ นตรง L และ
L : (x, y, z) = (2, 0, 1) + t(3, –1, 1) สมการของระนาบ M เราจึงได้ ว่ามี t ∈ R ซึ่ง
พร้ อมทั้งหาจุดตัดของเส้ นตรงกับระนาบ ( x 0 , y0 , z0 ) = (2, 0, 1) + t(3, –1, 1) ... (1)
K
วิธีทํา เส้ นตรง L มีเวกเตอร์แสดงทิศทาง A = (3, –1, 1) และ 3 x 0 – y0 + z0 = 18 ... (2)
เพราะว่าเส้ นตรง L ตั้งฉากกับระนาบ M x0 = 2 + 3t ⎫
K ⎪
เพราะฉะนั้น A ขนานกับเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ จาก (1) เราได้ y0 = − t ⎬ ... (3)
K z0 = 1+ t ⎪
เพราะฉะนั้น A เป็ นเวกเตอร์แนวฉากของระนาบ M ⎭

เพราะฉะนั้นระนาบ M ผ่านจุด Q(3, –6, 3) และมีเวกเตอร์ แทน (3) ใน (2) ได้


แนวฉาก AK = (3, –1, 1) 3(2 + 3t) – (–t) + (1 + t) = 18
มีสมการเป็ น 11t + 7 = 18
3(x – 3) – (y + 6) + (z – 3) = 0 t =1
หรือ 3x – y + z = 18 แทนค่า t = 1 ใน (3) จะได้ จุดตัดคือ (5, –1, 2) †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

99 บทที่ 3 100 บทที่ 3


ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

บทนิยาม 3.4.5 การขนานกันของระนาบ


ระยะทางระหว่างเส้นตรงกับระนาบ ระนาบสองระนาบขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เวกเตอร์แนวฉากของ
คือ ระยะทางตั้งฉากระหว่างเส้ นตรงกับระนาบ ระนาบทั้งสองขนานกัน
ในกรณีท่เี ส้ นตรงตัดกับระนาบ
ระยะทางระหว่างเส้นตรงกับระนาบจะเป็ นศูนย์ ตัวอย่าง 3.4.16 จงหาสมการของระนาบ M1 ซึ่งขนานกับ
ในกรณีท่เี ส้ นตรงขนานกับระนาบ ระนาบ M 2 : 2x – 3y + 4z = 1 และผ่านจุด (1, –2, 3)
ระยะทางระหว่างเส้นตรงกับระนาบ วิธีทํา
K
คือ ระยะทางระหว่างจุดใดจุดหนึ่งบนเส้ นตรงกับระนาบ M 2 มีเวกเตอร์แนวฉาก N = (2, –3, 4)
เพราะว่า M1 ขนานกับ M2
ตัวอย่าง 3.4.15 จงหาระยะทางระหว่าง K
เพราะฉะนั้น เวกเตอร์แนวฉากของ M1 ขนานกับ N
เส้ นตรง x 2− 1 = y = z +3 2 กับระนาบ x + y – z = 9 K
เพราะฉะนั้น N เป็ นเวกเตอร์แนวฉากของ M1
วิธีทํา เส้ นตรงผ่านจุด Q(1, 0, – 2) เพราะฉะนั้น M1 เป็ นระนาบที่ผ่านจุด (1, – 2, 3)
และมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK = (2, 1, 3) K
และมีเวกเตอร์แนวฉาก N = (2, –3, 4)
K
ระนาบมีเวกเตอร์แนวฉาก N = (1, 1, –1)
มีสมการเป็ น
เพราะว่า AK ⋅ NK = (2, 1, 3)⋅(1, 1, –1) = 2 + 1 – 3 = 0 2(x – 1) – 3(y + 2) + 4(z – 3) = 0
K
เพราะฉะนั้น AK ตั้งฉากกับ N หรือ 2x – 3y + 4z = 20 †
เพราะฉะนั้น เส้ นตรงขนานกับระนาบ
เพราะฉะนั้น ระยะทางระหว่างเส้ นตรงกับระนาบก็คือ
ระยะทางระหว่างจุด Q กับระนาบซึ่งเท่ากับ
| 1 + 0 − (−2) − 9 |
2 2 2
= | −63 | = 2 3 หน่วย †
1 + 1 + (−1)

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


101 บทที่ 3 102 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

หมายเหตุ ระยะทางระหว่างระนาบสองระนาบ
สมการของระนาบที่ขนานกับระนาบ ax + by + cz = d1 การหา ระยะทางระหว่างระนาบสองระนาบ ซึ่งก็คือ ระยะทาง
เราจะเขียนได้ ในรูป ax + by + cz = d 2 ตั้งฉากระหว่างระนาบทั้งสอง
ระยะทางระหว่างระนาบทีข่ นานกัน คือ
ข้อสังเกต
การหาระยะทางระหว่างจุดใดจุดหนึ่งบนระนาบหนึ่งกับอีก
เราอาจหาสมการของ M1 ในตัวอย่าง 3.4.16 ได้ ดงั นี้
ระนาบหนึ่ง
เพราะว่า M1 ขนานกับ M2
เพราะฉะนั้น M1 มีสมการเป็ น 2x – 3y + 4z = d ให้ M1 และ M2 เป็ นระนาบที่ขนานกัน
เพราะว่า M1 ผ่านจุด (1, –2, 3) โดยที่ M1 มีสมการเป็ น ax + by + cz = d1
เพราะฉะนั้น 2(1) – 3(–2) + 4(3) = d และ M2 มีสมการเป็ น ax + by + cz = d 2
เพราะฉะนั้น d = 20 ให้ P0 ( x 0 , y0 , z0 ) เป็ นจุดใน M1
เพราะฉะนั้น สมการของระนาบ M1 คือ และ D เป็ นระยะทางระหว่าง M1 กับ M2
2x – 3y + 4z = 20 D = ระยะทางระหว่างจุด P0 ( x 0 , y0 , z0 ) กับระนาบ M2
= | ax 0 + by2
0 + cz 0 − d 2 |
2 2
a +b +c
เพราะว่า P0 ( x 0 , y0 , z0 ) เป็ นจุดบน M1
เพราะฉะนั้น a x 0 + b y0 + c z0 = d1
เพราะฉะนั้น D = |2d1 − 2d 2 | 2
a +b +c
| d1 − d 2 |
เพราะฉะนั้น ระยะทางระหว่าง M1 กับ M 2 =
a 2 + b 2 + c2

หมายเหตุ ในกรณีท่รี ะนาบสองระนาบไม่ขนานกัน


เราจะได้ ว่าระยะทางระหว่างระนาบทั้งสองเป็ นศูนย์
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

103 บทที่ 3 104 บทที่ 3


ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

ตัวอย่าง 3.4.17 จงหาระยะทางระหว่างระนาบ ตัวอย่าง 3.4.18 จงหาสมการของระนาบที่ขนานกับ ระนาบ


x – 2y + 2z = 1 กับระนาบ x – 2y + 2z = 7 x + 2 y – z = 1 และระยะทางระหว่างระนาบเท่ากับ 3 หน่วย
วิธีทํา วิธีทํา เพราะว่าระนาบที่ต้องการขนานกับระนาบ
เพราะว่า ระนาบ x – 2y + 2z = 1 และ x – 2y + 2z = 7 x + 2y – z = 1
มีเวกเตอร์แนวฉากเหมือนกัน คือ (1, –2, 2) เพราะฉะนั้น
เพราะฉะนั้น ระนาบทั้งสองขนานกัน ระนาบที่ต้องการมีสมการเป็ น x + 2 y – z = d
ให้ D เป็ นระยะทางระหว่างระนาบทั้งสอง เพราะว่าระยะทางระหว่างระนาบทั้งสองเท่ากับ 3 หน่วย
เพราะฉะนั้น D = |2d1 − 2d 2 | 2 เพราะฉะนั้น
a +b +c
|1− 7 | 3 = 2 | d −21 | 2
= 1 + ( 2 ) + ( −1)
12 + ( −2) 2 + 22
จะได้ ว่า |d–1| =6
= 63
เพราะฉะนั้น d = 7, – 5
= 2 หน่วย † แสดงว่า ระนาบที่ต้องการมีสมการเป็ น
x + 2y – z = 7
จํ าได้ก็ดี หรือ x + 2 y – z = –5 †
K
A = ( a1, a 2 , ... , a n ), BK = ( b1, b2 , ... , bn )
K
A ขนานกับ BK
ก็ต่อเมื่อ a1 : b1 = a 2 : b2 = ... = a n : bn
เพราะฉะนั้น ถ้ า มี a i : bi ≠ a j : b j
K
แล้ ว A ไม่ขนานกับ BK

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


105 บทที่ 3 106 บทที่ 3
ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ

3.4.6 การตัดกันของระนาบ ตัวอย่าง 3.4.19 กําหนดสมการของระนาบ M1 กับ M2


ระนาบที่ตดั กันคือระนาบที่ไม่ขนานกัน M1 : 2x – y + z = 1
การพิจารณาว่าระนาบคู่ใดๆ ตัดกันหรือไม่ M 2 : x + y – 2z = 5
จึงทําได้ โดยการพิจารณาว่า เวกเตอร์แนวฉากของระนาบทั้งสอง จงพิจารณาว่า ระนาบทั้งสองตัดกันหรือไม่
ขนานกันหรือไม่ ถ้ าตัดกัน จงหาสมการสมมาตรของเส้ นตรงที่เป็ นรอยตัดนั้น
ในกรณีท่รี ะนาบตัดกัน รอยตัดย่อมเป็ นเส้ นตรง วิธีทํา M1 มีเวกเตอร์แนวฉาก NK 1 = (2, –1, 1)
K
M2 มีเวกเตอร์แนวฉาก N 2 = (1, 1, –2)

เพราะว่า 12 ≠ −11
เพราะฉะนั้น NK 1 ไม่ขนานกัน NK 2
เพราะฉะนั้น M1 ตัดกับ M2
ให้ L เป็ นเส้ นตรงที่เป็ นรอยตัดของ M1 กับ M2
เพราะว่า L อยู่ใน M1 และ M2
เพราะฉะนั้น L ขนานกับ M1 และ M2
รูปที่ 3.4.13 แสดงว่า NK 1 และ NK 2 ตั้งฉากกับเวกเตอร์แสดงทิศทางของ L
เพราะฉะนั้น NK 1 × NK 2 ขนานกับเวกเตอร์แสดงทิศทางของ L
เพราะฉะนั้น AK = NK 1 × NK 2
เป็ นเวกเตอร์แสดงทิศทางของ L

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

107 บทที่ 3 108 บทที่ 3


ปริภูมิสามมิติ ปริภูมิสามมิติ
K K K
K i j k 3.4.7 มุมระหว่างระนาบสองระนาบ
และ A = 2 −1 1
1 1 −2 บทนิยาม 3.4.3 มุมระหว่างระนาบสองระนาบ
= −1 1 Ki – 2 1 j + 2 K − 1 kK คือ มุมระหว่างเวกเตอร์แนวฉากของระนาบทั้งสอง
1 −2 1 −2 1 1
K K K
= i + 5 j + 3k ตัวอย่าง 3.4.20 จงหามุมระหว่างระนาบ
แทนค่า z = 0 ในสมการของ M1 และ M2 จะได้ M1: 2x + y + 2z = 0 กับ M 2 : 5x – 3y + 4z = 1
2x – y = 1 ... (1) K
วิธีทํา M1 มีเวกเตอร์แนวฉาก N1 = (2, 1, 2)
และ x+y =5 ... (2) K
และ M 2 มีเวกเตอร์แนวฉาก N 2 = (5, –3, 4)
(1) + (2) ได้ 3x = 6 ให้ θ เป็ นมุมระหว่าง NK 1 กับ NK 2
K K
cos θ = || NKN1||⋅||NNK2 ||
x =2
แทนค่า x = 2 ใน (2) ได้ y = 3 1 2
(2,1,2) ⋅ (5,−3,4)
แสดงว่า จุด (2, 3, 0) อยู่บน M1 และ M2 =
2 2 + 12 + 2 2 52 + (−3) 2 + 4 2
เพราะฉะนั้น จุด (2, 3, 0) อยู่บน L
= (3)(155 2 ) = 12
เพราะฉะนั้น L เป็ นเส้ นตรงที่ผ่านจุด (2, 3, 0)
θ = arccos( 1 ) = π
และมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง AK = (1, 5, 3) เพราะฉะนั้น 2 4

มีสมการสมมาตรเป็ น x – 2 = y 5− 3 = 3z † เพราะฉะนั้น มุมระหว่าง M1 กับ M 2 คือ π4 †


หมายเหตุ
1. ถ้ า θ เป็ นมุมระหว่างเวกเตอร์แนวฉากของสองระนาบ
แล้ ว มุมระหว่างระนาบสองระนาบคือ θ หรือ π – θ
2. ถ้ า มุมระหว่างระนาบสองระนาบคือ π2
แล้ ว ระนาบทั้งสอง ตั้งฉาก กัน
3. มุมระหว่างระนาบที่ขนานกัน คือ 0 หรือ π
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

You might also like