You are on page 1of 3

เรื่ องที่ 2 บทสรุปสถาบันพระมหากษัตริ ย์เป็ นศูนย์รวมใจของคนใน

ชาติ

สถาบันพระมหากษัตริ ย์มีความสำคัญและผูกพันกับสังคมไทย และคนไทยมา


ตลอดประวัติศาสตร์ ของประเทศ ในฐานะที่เป็ นปั จจัยแห่งความมัน่ คงที่ทรง
นำพาประเทศชาติให้ อยูร่ อดปลอดภัยตลอดมา เป็ นศูนย์รวมความรัก ความ
สามัคคีของคนในชาติมาจนถึงปั จจุบนั โดยประเทศไทยมีสถาบันพระมหา
กษัตริ ย์เป็ นสัญลักษณ์ของการดำรงอยูข่ องชาติไทยมาต่อเนื่อง สังคมไทยให้
ความสำคัญกับสถาบันพระมหากษัตริ ย์ ตังแต่ ้ สมัยสุโขทัยจนถึงสมัย
รัตนโกสินทร์ เป็ นสถาบันทางสังคม ที่เข้ มแข็งยืนยง ทำให้ ประเทศไทย
สามารถรักษาความเป็ นไทยภายใต้ พระบรมโพธิสมภารมาจนถึงปั จจุบนั
สถาบันพระมหากษัตริ ย์เป็ นเสาหลักที่สำคัญของสังคมไทย ในทุก ๆ ด้ าน เป็ น
สมบัติล้ำ ค่าที่ชาวไทยทุกคนจะต้ องร่วมกันปกป้องให้ สถาบันพระมหากษัตริ ย์
คงอยูต่ ลอดไปพระมหากษัตริ ย์ไทยทรงครองราชย์ป้องเมือง ทำนุบำรุงบ้ าน
เมือง ทำนุบำรุงสุข ศาสนา และสังคมมาจนถึงทุกวันนี ้

สถาบันพระมหากษัตริ ย์ในประเทศไทยเป็ นศูนย์รวมใจชาวไทยที่สืบทอดมา


ยาวนานหลายศตวรรษ เป็ นวัฒนธรรมการปกครองที่มีความสำคัญ บ่งบอก
ถึงแนวคิด ความเชื่อและความหมายของสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ที่หลอมรวมจิตใจ
ชาวไทยให้ เป็ นอันหนึง่ อันเดียวกันและสร้ างสรรค์ให้ เกิดความผาสุกของสังคม
โดยรวมได้ วัฒนธรรมการปกครองระบบกษัตริ ย์ของประเทศไทยจึงมีความ
ผูกพันอย่างแนบแน่นต่อสังคมไทยมาแต่อดีตจนปั จจุบนั แนวคิดที่วา่ พระมหา
กษัตริ ย์ทรงเป็ นผู้ปกครองที่มีคณ
ุ ลักษณะพิเศษนันสื
้ บเนื่องมาจากวัฒนธรรม
ความเชื่อทางศาสนา ซึง่ พัฒนาและผสมผสานมาจากแนวคิดหลักต่าง ๆ
พระราชภาระหลักของพระมหากษัตริย์อันเป็ นพืน้ ฐานตามคติ
พราหมณ์ ฮนิ ดูมี 4 ประการ คือ
1) พระราชทานความยุติธรรมอันเป็ นระเบียบสากลของผู้ปกครองหรื อผู้นำที่
จะต้ องสร้ างหรื อออกกฎหมายเพื่อให้ เกิดความยุติธรรม
2) ทรงรักษาความยุติธรรมนัน้ ๆ อย่างเคร่งครัด
3) ทรงรักษาพระศาสนาและประชาชน
4) ทรงสร้ างความผาสุกแก่ประชาชน นอกจากนันพระมหากษั
้ ตริ ย์ยงั ทรง
ดำรงหลักราชธรรมในพระพุทธศาสนา ได้ แก่ ทศพิธราชธรรม 10 ประการ
สังคหวัตถุ 4 ประการ และจักรวรรดิวตั ร 12 ประการ

คนไทยมีคำเอ่ยพระนามพระมหากษัตริ ย์อยูห่ ลายคำที่บง่ บอกความรู้สกึ


ยกย่องเทิดทูนและผูกพันต่อพระองค์เช่นคำว่าพระเจ้ าแผ่นดิน พระเจ้ าอยูห่ วั
เจ้ าชีวิต
พระเจ้ าแผ่ นดิน หมายถึง ผู้ปกครองที่เป็ นเจ้ าของแผ่นดิน คือ ผู้นำที่มีสทิ ธิ์
ขาดในกิจการของแผ่นดิน และสามารถพระราชทานที่ดินให้ แก่ผ้ ใู ดผู้หนึง่ ได้
แต่ในสังคมไทย พระเจ้ าแผ่นดินทรงเป็ นเจ้ าของแผ่นดินผู้ทรงบำรุงรักษาแผ่น
ดินให้ มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ ประชาชนสามารถใช้ ที่ดินในพระราช
อาณาเขตของพระองค์ให้ เกิดประโยชน์

พระเจ้ าอยู่หวั เป็ นคำเรี ยกพระเจ้ าแผ่นดินที่แสดงความเคารพเทิดทูนอย่าง


สูงสุดและเป็ นยอดของมงคลทังปวง ้ พระเจ้ าอยูห่ วั หรื อพระพุทธเจ้ าอยูห่ วั
หมายถึง การยอมรับพระราชสถานะของพระเจ้ าแผ่นดินว่าทรงเป็ นองค์
พระพุทธเจ้ า

เจ้ าชีวติ เป็ นคำเรี ยกพระเจ้ าแผ่นดินที่แสดงพระราชอำนาจเหนือชีวิตคนทัง้


ปวงที่อยูใ่ นพระราชอาณาเขต คำคำนี ้อาจหมายถึงพระเจ้ าแผ่นดินที่ทรงสิทธิ์
ในการปกป้องคุ้มครองชีวิตประชาชนให้ พ้นภัย วิบตั ิทงปวงหรื
ั้ อลงทัณฑ์ผ้ ู
กระทำผิดต่อพระราชกำหนดกฎหมาย ตลอดจนทรงชุบชีวิตข้ าแผ่นดิน ให้ มี
ความสุขล่วงความทุกข์

You might also like