You are on page 1of 21

1

บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
_
จากการศึกษาวิชาคณิ ตศาสตร์ และสถิติเพื่องานอาชีพสิ่ งที่เลือกมาทำโครงงานคือ เรื่ อง “พฤติกรรมการ
เลือกซื้ อกาแฟ” ซึ่ งเป็ นหัวข้อที่น่าสนใจ เนื่องจากอาหารเป็ นส่ วนหนึ่งในชีวิตที่ตอ้ งดื่ม ถึงแม้จะไม่มีประโยชน์
ต่อร่ างกายมากนักแต่กส็ ามารถดับกระหายได้เป็ นอย่างดี จึงได้ท ำการสำรวจโดยหารเลือกซื้ อกาแฟที่นิยมดื่นใน
ปั จจุบนั
คณะผูจ้ ดั ทำจึงเกิดความสนใจพร้อมทั้งทำแบบสำรวจการซื้ อกาแฟ เพื่อเป็ นหลักการในการเลือกซื้ อ
อาหารของผูบ้ ริ โภค ที่น ำมาเสนอประกอบการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ และสถิติเพื่องานอาชีพ พร้อมทั้งแสดง
กราฟให้เกิดความชัดเจนยิง่ ขึ้น

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้ อกาแฟ
2. เพื่อศึกษาทำการเปรี ยบเทียบระดับความนิยม และไม่เป็ นที่นิยมของผูบ้ ริ โภคในการเลือกซื้ อกาแฟ
3. เพื่อเป็ นการสำรวจเหตุผล และความพึ่งพอใจในการตัดสิ นใจเลือกซื้ อกาแฟของผูบ้ ริ โภค

เป้ าหมาย
เป้ าหมายเชิงปริ มาณ ผูศ้ ึกษาได้รับความรู ้จากการเลือกซื้ อ และความนิยมของอาหารที่ผบู ้ ริ โภครับ
ประทาน
เป้ าหมายเชิงคุณภาพ สามารถนำผลที่ได้รับจากการสอบถามมาปรับใช้ในชีวืตประจำวันหรื อนำมา
เพื่อเป็ นสื่ อการเรี ยนการ
สอนในชั้นเรี ยน

วิธีการดำเนินงาน
วันที่ การปฏิบตั ิงาน ผูร้ ับผิดชอบ
20 มิ.ย 65 • เลือกหัวข้อโครงงาน สมาชิกในกลุ่ม
• วางแผนและแบ่งหน้าที่
24 มิ.ย 65 • ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สมาชิกในกลุ่ม
• รวบรวมข้อมูลที่ได้ และช่วยกันตั้งตำถามเพื่อ
ทำแบบสอบถาม
• ลงมือพิมพ์แบบสอบถาม
27 มิ.ย. 65 • แจกแบบสอบถามเพื่อสำรวจ สมาชิกในกลุ่ม
2

4 มิ.ย. 65 • เก็บข้อมูลผลแบบสอบถาม สมาชิกในกลุ่ม


• จัดทำเล่ม และสรุ ปผลการปฏิบต
ั ิงาน

สถานที่ด ำเนินโครงงาน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิ ชยการ
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
วันที่เริ่ ม
ขอบเขตการศึกษา
โครงงานฉบับนี้จะศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการเลือกซื้ อกาแฟของผูบ้ ริ โภค โดยมีขอบเขตการศึกษา
ดังนี้
ประชากรที่ใช้ในการสอบถามคือ ผลการเลือกซื้ อกาแฟจำนวน 100 คน ศึกษาในเรื่ องของ
บุคคลเช่น เพศ อายุ รายได้ เป็ นต้น และปัจจัยใดที่เป็ นเหตุในการตัดสิ นใจเลือกซื้ อกาแฟของผูบ้ ริ โภค
นิยามเฉพาะศัพท์
พฤติกรรม หมายถึง การแสดงกิริยาท่าทางของสิ่ งที่มีชีวิตที่เกิดร่ วมกับสิ่ งแวดล้อมเป็ นการตอบสนอง
ของระบบหรื อสิ่ งมีชีวิตต่อสิ่ งเร้าหรื อการรับเข้าทั้งหลาย ไม่วา่ จะเป็ นภายในหรื อภายนอก มีสติหรื อไม่มีสติ
ระลึก ชัดเจนหรื อแอบแฝง และโดยตั้งใจหรื อไม่ได้ต้ งั ใจ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
• เป็ นข้อมูลสำหรับผูท้ ี่จะเลือกซื้ อกาแฟ
• เป็ นข้อมูลสำหรับผูป้ ระกอบการทางด้านการขายอาหาร
• เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด

ที่ปรึ กษาโครงงาน
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ความเป็ นมาของกาแฟ
กาแฟ (Coffee) เป็ นเครื่ องดื่มที่ท ำจากเมล็ดกาแฟคัว่ ซึ่ งได้จากต้นกาแฟ นิยมดื่มร้อนๆ แต่สามารถดื่ม
แบบเย็นได้ดว้ ย บางครั้งนิยมใส่ นมหรื อครี มลงในกาแฟด้วย ในกาแฟหนึ่งถ้วยมีคาเฟอีนอยูป่ ระมาณ 80-140
มิลลิกรัม กาแฟเป็ นเครื่ องดื่มที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลกชนิดหนึ่งเช่นเดียวกับชาและน้ำ นอกจากนี้
กาแฟยังเป็ นผลผลิตทางการเกษตรที่มีการส่ งออกมากเป็ นอันดับที่หกของโลก

ประวัติ
3

เชื่อกันว่ากาแฟถูกค้นพบครั้งแรกโดยเด็กเลี้ยงแพะชาวอาบิสซี เนีย (ประเทศเอธิ โอเปี ยใน


ปั จจุบนั ) ชื่อคาลดี จากการสังเกตพบว่า แพะดูกระปรี้ กระเปร่ าขึ้นเมื่อกินผลไม้สีแดงของต้นไม้ตน้ หนึ่ง ซึ่ งก็คือ
ต้นกาแฟนัน่ เอง ในช่วงก่อนศตวรรษที่ 16 กาแฟถูกปลูกโดยชาวอาหรับเท่านั้น คำว่ากาแฟ เป็ นคำที่มาจากคำว่า
"เกาะหฺ วะห์" ในภาษาอาหรับ แล้วเพี้ยนเป็ น กาห์เวห์ ในภาษาตุรกี ก่อนที่จะกลายเป็ น คอฟฟี ในภาษาอังกฤษ
และกาแฟ ในภาษาไทย ชาวอาหรับหวงแหนพันธุ์กาแฟมาก จึงส่ งออกเฉพาะเมล็ดกาแฟที่ควั่ สุ กแล้วเท่านั้น แต่
ในที่สุดเมล็ดกาแฟก็ออกมาสู่ โลกกว้าง โดยการลักลอบนำออกมาโดยชาวอินเดียที่ไปแสวงบุญที่เมกกะ และ
ก็ได้แพร่ ขยายไปยังชวา เนเธอร์แลนด์ และทัว่ ยุโรปในที่สุด สำหรับทวีปอเมริ กานั้น ต้นกาแฟถูกนำไปอย่างยาก
ลำบาก โดยทหารเรื อฝรั่งเศสในต้นศตวรรษที่ 18 ในครั้งแรกนั้น มีตน้ กาแฟที่เหลือรอดชีวิตบนเรื อมาขึ้นฝั่ง
อเมริ กาได้เพียง 1 ต้น และก็ได้แพร่ ขยายเพิม่ ขึ้น จนปั จจุบนั ดินแดนแห่งนี้ ได้กลายเป็ นดินแดนที่ปลูกกาแฟมาก
ที่สุดในโลก

ต้นกาแฟอาราบิกา้ - บราซิลกาแฟมีมากกว่า 6,000 พันธุ์ แต่พนั ธุ์หลักๆ ที่ได้รับความนิยมมี 2 พันธุ์


ได้แก่ อาราบิกา้ (Arabica) ซึ่ งเป็ นกาแฟแบบดั้งเดิม และมีรสชาติดี และ โรบัสต้า (Robusta) ซึ่ งมีปริ มาณ
กาเฟอีนสู ง และสามารถปลูกในที่ที่ปลูกอาราบิกา้ ไม่ได้ (คำว่า robust ในภาษาอังกฤษ แปลว่า ทนทาน) ด้วย
ความที่มีความทนทานมากกว่านี้เอง จึงทำให้กาแพโรบัสต้ามีราคาถูกกว่า แต่ผคู ้ นนิยมดื่มไม่มากนักเนื่องจากมี
รสขมและเปรี้ ยว ส่ วนโรบัสต้าที่มีคุณภาพดีมกั ถูกนำไปใช้เป็ นส่ วนผสมของเอสเพรสโซ่ แบบผสม (เอสเพรส
โซ่มีสองแบบใหญ่ๆ คือแบบที่เป็ นอาราบิกา้ แท้ๆ กับแบบที่ผสมกาแฟชนิดอื่นๆ)

กาแฟอาราบิกา้ มักจะมีชื่อเรี ยกแตกต่างกันไปตามชื่อท่าเรื อที่ใช้ส่งออก ท่าเรื อที่เก่าแก่ที่สุดสองที่


ได้แก่ ม็อคค่า (Mocha) และ ชวา (Java) กาแฟในปั จจุบนั ยิง่ มีความเจาะจงในที่ปลูกมากขึ้นเรื่ อยๆ ต้องมีการระบุ
ถึงประเทศ ภูมิภาค และบางครั้งต้องบอกว่าปลูกที่พ้ืนที่บริ เวณไหนเลยทีเดียว ผูเ้ ชี่ยวชาญเรื่ องกาแฟอาจจะถึงกับ
ต้องประมูลกาแฟกัน โดยดูวา่ เป็ นล็อตหมายเลขเท่าใด กาแฟชนิดโรบัสต้าที่มีมูลค่าสู งที่สุดชนิดหนึ่งได้แก่ โกปิ
ลูวคั (Kopi Luwak) ของอินโดนีเซีย เมล็ดของกาแฟชนิดนี้ถูกเก็บขึ้นมาจากมูลของชะมด (Common Palm
Civet) (ตระกูล Paradoxirus)ซึ่ งกระบวนการย่อยภายในร่ างกายชะมดทำให้ได้รสชาติที่ดีเป็ นพิเศษ เรี ยกเป็ น
ภาษาไทยว่า กาแฟขี้ชะมด

การผลิตเมล็ดกาแฟ
การบ่ม ในการผลิตกาแฟ วิธีที่ยงั ไม่เป็ นที่รู้จกั กันดีนกั วิธีหนึ่งได้แก่การบ่ม (Aging) กาแฟหลายๆ
ประเภทจะมีคุณภาพดีข้ ึนเมื่อผ่านการบ่มรสเปรี้ ยวของมันจะลดลงในขณะที่ความกลมกลืนของรสชาติโดยรวม
ก็จะเพิ่มขึ้นผูผ้ ลิตหลายๆรายมักจะขายเมล็ดกาแฟออกไปหลังจากได้บ่มเอาไว้แล้วถึง 3 ปี และร้านที่ข้ ึนชื่อเป็ น
พิเศษบางร้าน (เช่น "Toko Aroma" ในเมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซี ย) ถึงกับบ่มเมล็ดที่ยงั ไม่ได้ควั่ ไว้ถึง 8 ปี ที
เดียว
4

การคัว่ กระบวนการคัว่ เป็ นขั้นตอนที่ขาดไม่ได้ในการที่จะได้กาแฟรสชาติดีสกั ถ้วยหนึ่ง. เมื่อถูกคัว่


เมล็ดกาแฟสี เขียวก็จะพองออกจนเกือบจะมีขนาดเป็ นสองเท่าของของเดิม พร้อมทั้งเปลี่ยนสี และความหนาแน่น
ไป เมื่อเมล็ดได้รับความร้อน มันจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็ นสี เหลืองและในที่สุดก็จะกลายเป็ นสี น ้ำตาลอ่อนๆ แบบสี
ของผลอบเชย (cinnamon) และมันก็จะมีสีเข้มขึ้นเรื่ อยๆ จนกว่าจะถูกยกออกจากความร้อน พร้อมกันนี้ เราก็จะ
เห็นน้ำมันออกมาตามผิวของเมล็ด ในการคัว่ แบบอ่อนๆ กาแฟจะเก็บรสชาติด้ งั เดิมไว้ได้ดีกว่า รสชาติด้ งั เดิมนี้
จะขึ้นอยูก่ บั ดินและสภาพอากาศในที่ที่ตน้ กาแฟได้เติบโตขึ้นมา. เมล็ดกาแฟจากพื้นที่ที่มีชื่อเสี ยง เช่น เกาะชวา
และประเทศเคนยา จะถูกคัว่ เพียงอ่อนๆ เท่านั้นเพื่อให้ยงั คงรสชาติอนั เป็ นเอกลักษณ์อยูใ่ ห้มากที่สุด ยิง่ เมล็ด
กาแฟถูกคัว่ ให้เข้มมากขึ้นเท่าไหร่ รสชาติด้ งั เดิมของมันก็จะยิง่ ถูกบดบังด้วยรสที่เกิดจากการคัว่ มากขึ้นเท่านั้น
กาแฟบางประเภทที่ถูกคัว่ จนรสชาติแทบจะไม่ได้บ่งบอกถึงสถานที่ปลูกเลย จะถูกขายโดยใช้ระดับของการคัว่
เป็ นหลัก โดยเริ่ มตั้งแต่ "อบเชยคัว่ อ่อนๆ (Light Cinnamon Roast)" ไปจนถึง "การคัว่ แบบเวียนนา (Vienna
Roast)" และ "การคัว่ แบบฝรั่งเศส (French Roast)" และอื่นๆ
ในศตวรรษที่ 19 เมล็ดกาแฟมักจะถูกซื้ อขายขณะที่ยงั เป็ นเมล็ดเขียวๆ อยู่ และก็มกั จะนำไปคัว่ ใน
กระทะสำหรับทอด การคัว่ ในลักษณะนี้ ตอ้ งใช้ความชำนาญสู งมาก สำหรับการสู ญเสี ยรสชาติของเมล็ดที่ยงั ไม่
ได้ควั่ นั้น สามารถป้ องกันได้โดยการบรรจุในห่อสู ญญากาศ แต่ปัญหาก็คือการที่เมล็ดกาแฟจะปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นวันๆ หลังจากที่ถูกคัว่ เสร็ จใหม่ๆ ผูผ้ ลิตจึงต้องปล่อยให้กาแฟที่ควั่ แล้วค้างไว้ก่อนที่จะ
นำไปบรรจุลงห่อสูญญากาศได้ ด้วยเหตุน้ ี เทคโนโลยีสองชนิดจึงได้ถูกพัฒนาขึ้นมา บริ ษทั อิลลี (Illy) ได้ใช้
กระป๋ องอัดความดัน (pressurized can) ส่ วนผูผ้ ลิตกาแฟคัว่ รายอื่นๆ ใช้วิธีการบรรจุเมล็ดทั้งอันลงในถุงทันทีที่
คัว่ เสร็ จโดยใช้วาล์วปล่อยความดัน (pressure release valves)
ในทุกวันนี้การคัว่ เองตามบ้านได้กลับมาเป็ นที่นิยมอีกครั้ง เครื่ องคัว่ กาแฟที่ควบคุมโดยคอมพิวเตอร์
ช่วยให้การคัว่ กาแฟเองในบ้านง่ายขึ้นมาก และบางครัวเรื อนก็ใช้วธิ ี การคัว่ ในเตาอบหรื อเครื่ องทำข้าวโพดคัว่
หลังจากคัว่ แล้ว กาแฟจะสูญเสี ยรสชาติอย่างรวดเร็ ว ถึงแม้จะมีบางคนชอบทิ้งกาแฟไว้ 24 ชัว่ โมงก่อนจะนำไป
ชงถ้วยแรก แต่ทุกๆ คนก็เห็นด้วยว่ามันจะเริ่ มสู ญเสี ยรสชาติและความขม หลังจากเก็บไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ ถึง
แม้จะเก็บอยูใ่ นที่ที่มีสภาพที่เหมาะสมที่สุดก็ตาม
การบด
ความละเอียดของกากที่ได้จากการบดมีผลอย่างมากต่อรสชาติ ยิง่ บดกาแฟละเอียดเท่าไร ก็จะยิง่ ได้
รสชาติที่เข้มข้นและครบบริ บูรณ์มากขึ้นเท่านั้น เหตุผลหลักที่บางคนไม่บดละเอียดมากนัก คือเพื่อไม่ให้กาก
สามารถผ่านตัวกรองชนิดหยาบๆ ออกไปได้ (เช่น cafetiere) การผลิตกากกาแฟพร้อมชงมีสามวิธีดว้ ยกัน
การโม่: กดเมล็ดโดยใช้อุปกรณ์หมุนสองตัว ใช้การหมุนเพื่อให้เมล็ดแตก วิธีน้ี มีความเสี่ ยงน้อยที่
เมล็ดจะไหม้ เครื่ องบดอาจมีลกั ษณะเป็ นแบบล้อหรื อแบบกรวย โดยที่แบบกรวยจะทำงานได้เงียบกว่าและมี
โอกาสเกิดการอุดตันน้อยกว่า
Grinder แบบกรวยช่วยรักษากลิ่นส่ วนใหญ่ไว้ได้ และสามารถบดได้ละเอียดมาก อีกทั้งกากที่ได้กจ็ ะมี
ความละเอียดสม่ำเสมอกันอีกด้วย โม่ที่ท ำจากเหล็กซึ่ งมีการออกแบบที่ยงุ่ ยากซับซ้อน อาจทำให้ลด
ประสิ ทธิ ภาพของเฟื องลง ส่ งผลให้การบดทำได้ชา้ ลง ยิง่ การบดช้าลงเท่าไร ก็ยงิ่ มีความร้อนเข้าไปในกากกาแฟ
น้อยลงเท่านั้น ด้วยเหตุน้ ีจึงสามารถรักษากลิ่นไว้ได้อย่างดี เนื่องจากสามารถปรับความละเอียดได้หลายระดับมา
5

การบดวิธีน้ ี จึงเหมาะกับกาแฟทุกประเภท ทั้งแบบที่ท ำด้วยเครื่ องชงเอสเพรสโซ (Espresso) แบบหยด (Drip)


แบบใช้เครื่ องต้มให้น ้ำซึมเข้า (Percolator) และแบบเฟรนช์เพรส (French Press) เครื่ องโม่แบบกรวยที่คุณภาพดี
ยังสามารถบดให้ละเอียดเป็ นพิเศษสำหรับใช้ในการทำกาแฟแบบตุรกี ความเร็ วในการบดโดยทัว่ ไปไม่เกิน 500
รอบต่อบาท
เครื่ องโม่ประเภทจานหมุน สามารถบดได้รวดเร็ วกว่าแบบกรวย (10,000 ถึง 20,000 รอบต่อนาที) และ
จะส่ งผลให้มีความร้อนเข้าไปในกาแฟเล็กน้อย เครื่ องแบบนี้ เป็ นวิธีที่ประหยัดที่สุดในการผลิตกากละเอียด
สม่ำเสมอ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายแบบ กากแบบนี้เหมาะสมมากกับเครื่ องชงเอสเพรสโซ่แบบ
ปั มป์ ตามบ้าน อย่างไรก็ตามมันไม่สามารถบดให้ละเอียดได้เท่ากับเครื่ องแบบกรวย

การสับ: 'เครื่ องบด'สมัยใหม่มกั ใช้วิธีการหัน่ เมล็ดกาแฟออกเป็ นชิ้นๆ ถึงแม้จะให้ผลเหมือนกับการบด


ดีๆ โดยทัว่ ไป คนที่พิถีพิถนั มักตำหนิวา่ วิธีน้ ีให้กาแฟคุณภาพสู ้วิธีแบบเก่าไม่ได้ เครื่ องบดแบบใบมีด “ปั่ น”
เมล็ดให้ละเอียดโดยใช้ใบมีดหมุนด้วยความเร็ วสู ง (20,000 ถึง 30,000 รอบต่อนาที) กากกาแฟที่ได้จะไม่ละเอียด
สม่ำเสมอและจะได้รับความร้อนมากกว่าการใช้เครื่ องโม่เครื่ องบดใบมีดจะก่อให้เกิด “ฝุ่ นกาแฟ” ซึ่ งอาจทำให้
ตะแกรงร่ อนของเครื่ องชงเอสเพรสโซและเครื่ องชงเฟรนช์เพรสเกิดการอุดตันได้ ดังนั้นเครื่ องบดแบบนี้ จึง
เหมาะสมกับเฉพาะเครื่ องชงแบบหยด และมันยังสามารถใช้บดเครื่ องเทศและสมุนไพรได้เป็ นอย่างดี เครื่ อง
ชนิดนี้ไม่ควรใช้กบั เครื่ องชงเอสเพรสโซแบบปั มป์

การบดเป็ นผง: กาแฟตุรกีหรื อ(เตอร์กิส คอฟฟี่ )เป็ นการต้มทั้งกากที่ได้จากการบด โดยวิธีการดื่ม


จะเทดื่มเลยและต่อมาจึงเริ่ มมีการกรองดื่มเฉพาะน้ำ วิธีการนี้ให้กากซึ่ งละเอียดเกินไปและเหมาะสำหรับการชง
แบบนี้เท่านั้น
การชง
การชงกาแฟมีหลากหลายวิธี ซึ่ งสามารถแบ่งเป็ นประเภทตามการให้น ้ำกับกากกาแฟ ได้สี่ประ
เภทหลักๆ ดังนี้
การต้มเดือด: กาแฟตุรกี วิธีการดั้งเดิมในการชงกาแฟ ซึ่ งยังคงใช้อยูใ่ นตะวันออกกลาง แอฟริ กา
เหนือ ตุรกี และกรี ซ ได้แก่การต้มผงกาแฟละเอียดเข้ากับน้ำในหม้อคอคอด ซึ่ งเรี ยกว่าไอบริ ก (ibrik) ในภาษาอา
รบิก, เซสฟ์ (cezve) ในภาษาตุรกี, และเซสวา (dzezva) ในภาษาเซอร์โบ-โครเอเชียน และปล่อยให้เดือดเล็กน้อย
บางครั้งก็จะเติมน้ำตาลเข้าไปในหม้อด้วยเพื่อเพิ่มรสหวาน และยังเพิ่มรสและกลิ่นด้วยกระวาน (cardamom) ผล
ที่ได้คือกาแฟเข้มข้นถ้วยเล็กๆ มีฟองอยูข่ า้ งบน และกากกาแฟกองหนาเหมือนโคลนอยูท่ ี่กน้
การใช้ความดัน: เอสเพรสโซ ถูกชงด้วยน้ำเดือดอ้ดความดัน และมักเป็ นพื้นฐานนำไปผสมกาแฟ
หลายๆ ชนิด หรื อไม่กเ็ สิ ร์ฟเปล่าๆ ก็ได้ (มักจะเป็ นหลังจากมื้อค่ำ) กาแฟชนิดนี้เป็ นหนึ่งในประเภทที่แรงที่สุดที่
ดื่มกันโดยทัว่ ไป และมีรสชาติและความมัน(crema)ที่เป็ นเอกลักษณ์ เครื่ องชงกาแฟแบบใช้น ้ำร้อนซึ ม (หรื อ
หม้อม็อคค่า) มีลกั ษณะแบ่งออกเป็ นสามส่ วน โดยส่ วนล่างใช้สำหรับต้มน้ำ เพื่อให้ไอลอยขึ้นไปยังกากกาแฟซึ่ ง
อยูใ่ นส่ วนตรงกลาง น้ำกาแฟที่ได้ ซึ่ งมักมีความเข้มข้นระดับเดียวกับเอสเพรสโซ จะถูกเก็บอยูใ่ นส่ วนบนสุ ด
6

ส่ วนที่มกั วางติดกับเครื่ องอุ่นหรื อเตา เครื่ องบางแบบยังอาจมีฝา 5 แก้วหรื อพลาสติกใสเพื่อเอาไว้ดูกาแฟตอนที่


มันลอยขึ้นข้างบน
การใช้แรงโน้มถ่วง: การชงแบบหยด (หรื อแบบกรอง) เป็ นการหยดน้ำร้อนผ่านกากกาแฟที่วาง
อยูใ่ นที่กรอง (อาจเป็ นกระดาษหรื อโลหะเจาะรู ) ความเข้มขึ้นอยูก่ บั สัดส่ วนระหว่างน้ำกับกาแฟ แต่โดยปกติ
แล้วจะไม่เข้มข้นเท่าเอสเพรสโซ เครื่ องชงกาแฟแบบใช้น ้ำร้อนซึ มประเภทที่สอง ก็เป็ นแบบที่ใช้แรงโน้มถ่วง
ดึงให้น ้ำไหลผ่านกากกาแฟ แต่ให้ความเข้มมากกว่า
การจุ่ม: เฟรนช์เพรส (หรื อ cafetiere) เป็ นกระบอกแก้วที่สูงและแคบ ประกอบด้วยลูกสู บที่มีตวั กรอง
กาแฟและน้ำร้อนจะถูกผสมกันในกระบอก (ประมาณ 2-3 นาที) ก่อนที่ตวั ลูกสู บ ซึ่ งอยูใ่ นรู ปฟอยล์โลหะ จะถูก
กดลงเพื่อให้เหลือแต่น ้ำกาแฟอยูข่ า้ งบนพร้อมเสิ ร์ฟถุงกาแฟ(ลักษณะเดียวกับถุงชา)เป็ นวิธีที่ได้รับความนิยม
น้อยกว่าการใช้ถุงชงชามากเนื่องจากมันมีขนาดใหญ่กว่ามาก(ปริ มาณกาแฟที่ตอ้ งใส่ เข้าไปในถุงมากกว่า
ปริ มาณชามาก)กาแฟทุกแบบที่ได้กล่าวมานี้ต่างใช้กากกาแฟชงกับน้ำร้อนกาแฟอาจถูกปล่อยค้างอยูห่ รื อไม่กถ็ ูก
กรองออกไปแต่ละวิธีต่างต้องการความละเอียดของการบดแตกต่างกันไปเครื่ องทำกาแฟแบบไฟฟ้ าสามารถต้ม
น้ำและชงผงที่ละลายได้โดยไม่ตอ้ งพึ่งคนมากนักและบางประเภทก็มีตวั ตั้งเวลาด้วยพวกที่ดื่มกาแฟอย่างจริ งจัง
มักจะรังเกียจวิธีการที่สะดวกสบายแบบนี้ซ่ ึ งมักจะทำให้สูญเสี ยรสชาติและกลิ่นที่ดีไปคนกลุ่มนี้มกั จะ
โปรดปรานกาแฟที่เพิ่งบดใหม่ๆ และวิธีการชงแบบดั้งเดิมมากกว่า
กาแฟแต่ละชนิด

กาแฟดำ
ชงด้วยวิธีการหยดน้ำ อาจเป็ นแบบให้น ้ำซึ มหรื อแบบเฟรนช์เพรส เสิ ร์ฟโดยไม่ใส่ นม อาจเติม
น้ำตาลได้ ผูค้ นมักเข้าใจผิดว่ากาแฟดำกับเอสเพรสโซเป็ นอย่างเดียวกัน แต่ที่จริ งแล้วกาแฟทั้งสองชนิดมีขอ้ แตก
ต่างกันหลายข้อ ข้อที่สำคัญคือ ถ้วยเสิ ร์ฟของเอสเพรสโซมีขนาดเล็กกว่า เพราะนิยมดื่มให้หมดในอึกเดียว ปกติ
แล้วเอสเพรสโซจะไม่ใส่ น ้ำตาลหรื อนม และคนไม่นิยม เอสเพรสโซที่ชงถูกวิธีจะต้องมีฟองสี ทองลอยอยูด่ า้ น
บน รสชาติของเอสเพรสโซจะติดปากหลังจากดื่มนานกว่า (15-30 นาที)
7

เอสเพรสโซ (espresso)
คือกาแฟที่มีรสแก่และเข้ม ซึ่ งมีวิธีการชงโดยใช้แรงอัดไอน้ำหรื อน้ำร้อนผ่านเมล็ดกาแฟคัว่ ที่บด
ละเอียด ที่มาของชื่อ เอสเพรสโซ มาจากคำภาษาอิตาลี "espresso" แปลว่า เร่ งด่วน เอสเพรสโซเป็ นกาแฟที่นิยม
มากที่สุดในแถบประเทศยุโรปตอนใต้ โดยเฉพาะประเทศอิตาลีและฝรั่งเศส การสัง่ กาแฟ "caffe" ในร้านโดย
ทัว่ ไปก็คือสัง่ เอสเพรสโซ ด้วยวิธีการชงแบบใช้แรงอัด ทำให้เอสเพรสโซมีรสชาติกาแฟซึ่ งเข้มข้น
และหนักแน่น ต่างจากกาแฟทัว่ ๆ ไปซึ่ งชงแบบผ่านน้ำหยด และเพราะรสชาติเข้มข้นและหนักแน่นอัน
เป็ นเอกลักษณ์น้ ี เอง ทำให้คอกาแฟดื่มเอสเพรสโซโดยไม่ปรุ งด้วยน้ำตาลหรื อนม และมักจะเสิ ร์ฟเป็ นชอต (แก้ว
แบบจอก) เพื่อให้ปริ มาณไม่มากจนเกินไป(ประมาณ 1-2 ออนซ์ หรื อ 30-60 มิลลิลิตร แตกต่างตาม พฤติกรรม
การดื่ม ของแต่ละประเทศ)
การสัง่ เอสเพรสโซตามร้านกาแฟทัว่ ไป มักสัง่ ตามปริ มาณเป็ น "ซิ งเกิ้ล" หรื อ "ดับเบิ้ล" (ชอต
เดียว หรื อ สองชอต) เอสเพรสโซมีความไวสู งในการทำปฏิกิริยากับออกซิ เจน เพื่อไม่ให้เสี ยรสชาติจึงควรดื่ม
ตอนชงเสร็ จใหม่ ๆ ผงกาแฟที่ใช้ ขึ้นอยูก่ บั แต่ละระบบการชง ระบบการชงแบบแรงดันน้ำหรื อแรงอัด จะต้อง
ใช้ผงละเอียด แต่ไม่ถึงกับเป็ นแป้ ง (ขนาดของไซด์ผงกาแฟที่บด จะแปรผันตาม ระยะเวลาที่ท ำกาแฟ อาทิ
เครื่ องชงแบบ เอสเพรสโซ่ เวลามาตราฐานอยูท่ ี่ 18-30 วินาที ก็ตอ้ งใช้ ผงละเอียด แต่หากเป็ นการชง ลักษณะ
อื่นๆ เช่น ชงโดยที่ชงแบบเฟรนช์เพรส ก็ตอ้ งบดให้หยาบขึ้นและระยะเวลาที่ชงก็จะเพิ่มขึ้นตามลำดับ <ยิง่ หยาบ
ยิง่ ต้องใช้เวลานานขึ้นในการชง>)
ในการชงเอสเพรสโซ จะต้องควบคุมปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อรสชาด อาทิ เมล็ดกาแฟที่ใช้ (สมควร
เป็ นเมล็ดกาแฟที่ควั่ เก็บมาไม่เกิน 1 เดือน),การบดกาแฟ (ขนาดของผงกาแฟที่บด ต้องสัมพันธ์ กับเครื่ องชงและ
ระยะเวลาการไหล ของกาแฟ ขณะชง) , น้ำที่ใช้ชงกาแฟ (คุณภาพเป็ นน้ำที่ใช้ บริ โภค ไม่ควรใช้น ้ำสะอาด
บริ สุทธิ์ จนเกินไป เพราะ นอกจากไม่ได้รับ สารอาหารที่มากับน้ำ แล้วยังมีผลกระทบ ต่อรสชาด ด้วย) , ระยะ
เวลาในการชง (ดังที่กล่าวไว้ ในข้างต้น หากใช้เวลา การชงเอสเพรสโซ่ต ่ำกว่า 18 วินาที หรื อ underextract
แสดงว่า การแพคกาแฟ ต่อชอต ไม่แน่นพอ หรื อ ปริ มาณผงกาแฟในชอต มีนอ้ ยเกินไป หรื อ ขนาดผงกาแฟ
8

หยาบเกินไป หากการหลัน่ กาแฟเอสเพรสโซ่ นานเกินกว่า 30 วินาที จะมีผลทำให้เอสเพรสโซ่ที่ได้ มีรสขม


bitter ไม่เข้ม มีกลิ่นไหม้ burn จากการชงแบบเครื่ องอัด ศัพท์ฝรั่งเรี ยก overextract)

คาปูชิโน (cappuccino)
เป็ นหนึ่งในเครื่ องดื่มประเภทกาแฟซึ่ งมีตน้ กำเนิดมาจากประเทศอิตาลี คาปูชิโนมีส่วนประกอบ
หลักคือ เอสเพรสโซ และ นม การชงคาปูชิโนโดยส่ วนใหญ่มกั มีอตั ราส่ วนของเอสเพรสโซ 1/3 ส่ วน ผสมกับ
นมสตีม (นมร้อนผ่านไอน้ำ) 1/3 ส่ วน และนมตีเป็ นโฟมละเอียด 1/3 ส่ วนลอยอยูด่ า้ นบน นอกจากนั้นอาจโรย
หน้าด้วยผงซิ นนามอน หรื อ ผงโกโก้เล็กน้อยตามความชอบ ส่ วนผสมของคาปูชิโนต่างจากของลาเต้ มาเกียโต้
(latte macchiato) ซึ่ งประกอบไปด้วยนมเป็ นส่ วนใหญ่และนมตีโฟมเพียงเล็กน้อย ในประเทศอิตาลี ผูค้ นมักดื่ม
คาปูชิโนเป็ นอาหารเช้าโดยเฉพาะ โดยอาจมีขนมปั งแผ่นหรื อคุกกี้ประกอบ ทั้งนี้อาจเป็ นเพราะว่าวิถีชีวิตของ
ชาวอิตาลีมกั ไม่ค่อยรับประทานอาหารเช้าแบบเป็ นกิจลักษณะ คาปูชิโนและขนมปั งเบาๆ จึงเหมาะเป็ นอาหาร
รองท้องสำหรับยามเช้า และด้วยเหตุน้ ี ท ำให้ไม่ดื่มคาปูชิโนในช่วงอื่นของวัน แต่สำหรับต่างประเทศรวมถึง
ประเทศไทย การดื่มคาปูชิโน ดื่มได้ทุกเวลาโดยไม่ถือว่าเป็ นเรื่ องแปลก

ลาเต้ (ภาษาอิตาลี: Latte)


เป็ นภาษาอิตาลีแปลว่านม ส่ วนในประเทศอื่น จะหมายถึง กาแฟลาเต้ หรื อเครื่ องดื่มกาแฟที่
เตรี ยมด้วยนมร้อน โดยการเทเอสเพรสโซ 1/3 ส่ วน และนมร้อนอีก 2/3 ส่ วน ลงในถ้วยพร้อมๆ กัน และจะ
9

หยอดโฟมนมหนาประมาณ 1 ซม. ทับข้างบน ในประเทศอิตาลี กาแฟลาเต้น้ ีรู้จกั กันในชื่อของ "caffe e latte"


ซึ่ งหมายถึง กาแฟกับนม ซึ่ งใกล้เคียงกับในภาษาฝรั่งเศส คำว่า "cafe au lait" กาแฟลาเต้เริ่ มเป็ นที่นิยมนอก
ประเทศอิตาลีในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 ในการชงกาแฟลาเต้ บาริ สต้า (หรื อผูช้ งกาแฟที่ช ำนาญงาน) จะใช้วิธี
ขยับข้อมือเล็กน้อยขณะที่รินนมและโฟมนมลงบนกาแฟ ทำให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เรี ยกว่า ลาเต้อาร์ต (latte art)
หรื อศิลปะฟองนมในถ้วยกาแฟ

มอคค่า (Mocha)
ในนี้หมายถึงกาแฟมอคค่า เป็ นกาแฟอราบิกา้ ชนิดหนึ่ง ซึ่ งปลูกอยูบ่ ริ เวณท่าเรื อมอคค่าใน
ประเทศเยเมน กาแฟมอคค่ามีสีและกลิ่นคล้ายชอคโกแลต (แม้วา่ จะไม่มีส่วนประกอบของชอคโกแลตในมอค
ค่าเลยก็ตาม) อันเป็ นเอกลักษณ์ที่ท ำให้กาแฟมอคค่าเป็ นที่รู้จกั อย่างแพร่ หลาย นอกจากนี้ มอคค่า ยังหมายถึง
เครื่ องดื่มกาแฟซึ่ งมี เอสเพรสโซ่ และ โกโก้ เป็ นส่ วนประกอบ เสิ ร์ฟทั้งแบบร้อนและแบบเย็นใส่ น ้ำแข็ง

อเมริ กาโน หรื อ คาเฟ่ อเมริ กาโน (cafe americano)


คือเครื่ องดื่มกาแฟชนิดหนึ่ง ซึ่ งมีวิธีการชงโดยเติมน้ำร้อนผสมลงไปในเอสเพรสโซ. การเจือจาง
เอสเพรสโซซึ่ งเป็ นกาแฟเข้มข้นด้วยน้ำร้อน ทำให้อเมริ กาโนมีความแก่พอ ๆ กับกาแฟธรรมดา แต่มีกลิ่นและ
รสชาติที่เข้มอันมาจากเอสเพรสโซ อเมริ กาโนเหมาะสำหรับผูท้ ี่ชื่นชอบกาแฟดำ แต่ไม่แก่และหนักถึงขั้นเอส
เพรสโซ คอกาแฟส่ วนใหญ่นิยมดื่มอเมริ กาโนโดยไม่ปรุ งด้วยนมหรื อน้ำตาล เพื่อดื่มด่ำกับรสชาติกาแฟของ
อเมริ กาโนซึ่ งแตกต่างจากกาแฟธรรมดา สำหรับที่มาของชื่ออเมริ กาโนซึ่ งหมายถึงสหรัฐอเมริ กานั้น ว่ากันว่าเอ
10

สเพรสโซเพียว ๆ นั้น เข้มข้นเกินไปสำหรับคอกาแฟชาวอเมริ กา จึงมีการเสิ ร์ฟกาแฟเอสเพรสโซซึ่ งทำให้เจือ


จางด้วยน้ำร้อน. แม้ที่มาของชื่อจะหมายถึงกาแฟสไตล์อเมริ กา แต่อเมริ กาโนก็มิได้เป็ นกาแฟที่ชาวอเมริ กานิยม
ดื่ม จนกระทัง่ ยุครุ่ งเรื องของร้านกาแฟแฟรนไชส์ สตาร์บคั ส์ ในปี พ.ศ. 2533 แต่ถึงกระนั้นอเมริ กาโนก็ไม่จดั
เป็ นกาแฟที่ได้รับความนิยมมากนัก

กาแฟขาว (white coffee)


เป็ นชาสมุนไพรชนิดหนึ่ง ค้นพบที่เมืองเบรุ ต นิยมดื่มกันมากในประเทศเลบานอนและซี เรี ย และ
นิยมทานคู่กบั ขนมหวาน ในประเทศทางยุโรปบางประเทศ จะกล่าวถึง ไวต์คอฟฟี (white coffee) ในลักษณะ
ของกาแฟใส่ นม ในขณะเดียวกันไวต์คอฟฟี ในสหรัฐอเมริ กาจะหมายถึง กาแฟที่กลัน่ ไว้นานจนมีสีคล้ายกับสี
เหลือง
ประวัติ
1.nescafe

เนสกาแฟ เบลนด์ แอนด์ บรู ริ ช อโรมา สูตรใหม่ สู ตรที่ดีที่สุดจากเนสกาแฟ


กาแฟซองสำเร็ จรู ป 3 in 1 กาแฟสดในซองปรุ งสำเร็ จ ผสมกาแฟคัว่ บดละเอียดคุณภาพจากกาแฟอาราบิกา้ และ
โรบัสต้า ผสานสัดส่ วนใหม่ ลงตัวทุกมิติ
กลมกล่อมขึ้น หอมกาแฟคัว่ บด

2.moccona
11

เนสกาแฟอยูเ่ ฉยไม่ได้ เปิ ดตัว “เนสกาแฟ โพรเทค โพรสลิม” สิ นค้าใต้ร่มโพรเทค ออกมาทันควันก่อนประเทศ


ใดในโลก โดยมุ่งเน้นลูกค้าที่หวังผลที่ได้หลังจากการดื่มกาแฟสู ง และกลุ่มที่ดื่มกาแฟยีห่ อ้ เก่าแล้วไม่เห็นผล จะ
สวิตซ์แบรนด์มาเป็ นเนสกาแฟได้ง่ายขึ้น เช่นเดียวกับมอคโคน่าที่หาจุดต่างด้วย การเพิ่ม “มอคโคน่า ทริ โอ พลัส
แคลพลัส” กาแฟเสริ มแคลเซียมสำหรับผูช้ ายนอกเหนือจาก “มอคโคน่า ทริ โอ พลัส อินเชพ” สำหรับผูห้ ญิงหวัง
เป็ นหมัดเด็ดที่ท ำให้ฐานลูกค้าที่เพิ่มขึ้น

บทที่ 3
วิธีการดำเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์ เครื่ องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
• แบบสอบถาม
• คอมพิวเตอร์
• เครื่ องปริ้ นท์
ขั้นตอนการดำเนินงาน
• เลือกหัวข้อโครงงาน และนำเสนอคุณครู ที่ปรึ กษา
• วางแผนและแบ่งหน้าที่ในการปฏิบตั ิงานของสมาชิก
• รวบรวมข้อมูลที่หาได้และช่วยกันตั้งคำถามเพื่อทำแบบสอบถาม
• แจกแบบสอบถาม
• รวบรวมแบบสอบถามเพื่อจัดทำรู ปเล่มโครงงาน
12

ตารางการปฏิบตั ิกิตกรรมโครงงาน วันที่ – มิถุนายน 2565 ถึงวันที่ – กรกฎาคม 2565


วันที่ การปฏิบตั ิงาน ผูร้ ับผิดชอบ
20 มิ.ย. 65 • เลือกหัวข้อโครงงาน สมาชิกในกลุ่ม
• วางแผนและแบ่งหน้าที่
24 มิ.ย. 65 • ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สมาชิกในกลุ่ม
• รวบรวมข้อมูลที่ได้ และช่วยกันตั้งตำถามเพื่อ
ทำแบบสอบถาม
• ลงมือพิมพ์แบบสอบถาม
27 มิ.ย .65 • แจกแบบสอบถามเพื่อสำรวจ สมาชิกในกลุ่ม
4 มิ.ย. 65 • เก็บข้อมูลผลแบบสอบถาม สมาชิกในกลุ่ม
• จัดทำเล่ม และสรุ ปผลการปฏิบต ั ิงาน

งบประมาณ
ลำดับ รายการ จำนวน ราคา (หน่วย) รวม หมายเหตุ
(คน)
1 แบบสอบถาม 100 100 100

รวมจำนวนเงิน 100 บาท

สถานที่ด ำเนินโครงงาน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิ ชยการ
13

บทที่ 4
ผลการศึกษา
จากการศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้ ออาหารของท่านได้ท ำการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีได้จากการสอบถามกลุ่ม
ตัวอย่างจำนวน 100 คน
ข้อมูล รายการ คำนวน คิดเป็ นร้อยละ(%)
ผล(จำนวน)
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์
1 เพศ    
  ชาย 41 41
  หญิง 59 59
2 อายุ    
  ต่ำกว่า 15 ปี 17 17
  15-25 60 60
  26-35 8 8
  36-40 0 0
3 อาชีพ    
  นักเรี ยน/นักศึกษา 90 90
14

  พนักงานเอกชน 5 5
  ธุรกิจส่ วนตัว 5 5
  อื่นๆ 0 0
4 ระดับการศึกษา    
  ปวช. 23 13
  ปวส. 73 73
อื่นๆ 4 4

5 สถานภาพ    
  โสด 59 59
  มีแฟน 37 37
  สมรส 4 4
  หย่าร้าง 0 0
6 รายได้    
  ต่ำกว่า 5,000 บาท 60 60
  ต่ำกว่า 10,000 บาท 33 33
  10,000 บาท 7 7
ตอนที่ 2 พฤติกรรมการเลือกซื้ อเครื่ องดื่ม น้ำอัดลม
7 ท่านเลือกซื้ อกาแฟแบบไหน    
  กระป๋ อง 55 55
  แก้วพลาสติก 31 31
  แบบซอง 14 14
8 ท่านเลือกซื้ อผลิตภัณฑ์กาแฟจากที่ไหน    
  ห้าง 12 12
  7-eleven 78 78
15

  ร้านขายของชำ 10 10
9 ท่านเลือกซื้ อกาแฟให้ใคร    
  ตัวท่านเอง 66 66
  บุคคลอื่น 29 29
  ตัวท่านเองและบุคคนอื่น 5 5

10 ท่านเลือกซื้ อกาแฟบ่อยแค่ไหน    
  ซื้ อทุกวัน 53 53
  สัปดาห์ละครั้ง 36 36
  นานๆครั้ง 11 11
  อื่นๆ 0 0
11 ท่านเลือกซื้ อกาแฟ แต่ละครั้งเป็ นจำนวนเท่าไหร่    
  1 ขวด 71 71
  2 ขวด 23 23
  3 ขวด 5 5
  4 ขวดขึ้นไป 1 1
12 ท่าเลือกซื้ อกาแฟยีห่ อ้ ใดมากที่สุด    
  เขาช่อง 14 14
  Nescafe 54 54
  MOCCONA 16 16
  Birdy 16 16
  อื่นๆ 0 0
13 ความต้องการในการบริ โภคกาแฟ    
  รสชาติ 71 71
16

  ราคาถูก 29 29
  อื่นๆ 0 0
14 โปรโมชัน่ ที่สนใจในการเลือกซื้ อน้ำอัดลมคือ    
  ลดราคา 10% 59 59
  ซื้ อ 1 แถม 1 33 33
  อื่นๆ 8 8

เครื่ องดื่มกาแฟดีต่อสุ ขภาพต่อตัวเรามากน้อยเพียง


15 ใด    
  มากสุ ด 15 15
  มาก 67 67
  ปานกลาง 11 11
  น้อย 7 7
17

แผนภูมิแท่ง

แผมภูมิวงกลม
18

บทที่ 5
การอภิปรายผลสรุ ปและผลการศึกษา
การอภิปราย
การศึกษาเรื่ อง การสำรวจพฤติกรรมการซื้อกาแฟของท่านตั้งแต่อายุ 15 ปี ขึ้นไปมีวตั ภุ
ประสงค์ในการศึกษาเพื่อษศึกษาปัจจัยที่เลือกซื้ อกาแฟเพื่อศึกษาความนิยมของกาแฟที่ท่านได้ดื่ม
ตั้งแต่อายุ 15 ปี ขึ้นไป โดยการใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการสำรวจข้อมูลประชากรศึกษาใน
กลุ่มผูเ้ ลือกซื้ อตัวอย่าง 100 คน
สรุ ปผลการศึกษา
1.ข้อมูลทัว่ ไปของผูบ้ ริ โภคที่เป็ นกลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่เป็ นเพศชายมากกว่าหญิง มีช่วงอายุ
15 – 25 ปี ระดับการศึกษาศึงสุ ดคือ ปวช. ด้านอาชีพส่ วนใหญ่เป็ นนักเรี ยน/นักศึกษา
2.ความนิยมในการเลือกซื้ อกาแฟ กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่จะซื้อ Nescafe
อภิปรายผล
ในการวิจยั เรื่ องการสำรวจพฤติกรรมการเลือกซื้ อกาแฟ ซึ่งสามารถสรุ ปได้จาก
แบบสอบถามที่ผวู้ ิจบั ได้ท ำการสอบถามผูบ้ ริ โภคพบว่า ผูบ้ ริ โภคแต่ละท่านมีความต้องการต่างกัน
เลือกที่ รสชาติ และประโยชน์ หรื อราคา ส่ วนการดำเนินงานปรากฏว่าผูว้ ิจยั ได้มีการแจก
แบบสอบถามเพื่อรู ้ถึงความนิยมของผูบ้ ริ โภคแต่ละคน
ประโยชน์ที่ได้รับ
• เพื่อทราบพฤติกรรมต่างๆ ในการเลือกซื้ อกาแฟ
• เพื่อใช้เป็ นค่านิยมให้แก่ผบู้ ริ โภคในการเลือกซื้ อกาแฟในแต่ละวัน
• เพื่อศึกษาหาความรู ้เพิม่ เติม และมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ปัญหาและอุปสรรค
ไม่มีเวลาในการติดต่อสื่ อสาร เนื่องจากสมาจิกในกลุ่มอยูไ่ กลและทำงาน

ข้อเสนอแนะ
ควรมีเวลาในการศึกษามากกว่านี้ เนื่องจากสมาชิกในกลุ่มไม่สามารถมีเวลาตรงกัน
19

บรรณานุกรม
http://www.anatomy.dent.chula.ac.th/coffee.html

https://www.nescafe.com/th/th-th/
20

https://positioningmag.com/12290

ภาคผนวก
21

You might also like