You are on page 1of 4

ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค.

2551

รู้ ไว้ ใช่ว่า


หอมกรุ่นกลิ่นกาแฟ
อดิศา เบญจรัตนานนท์1

มีการตั้งบริษัทขายกาแฟชื่อ East India Coffee


บนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเชีย ในปี ค.ศ.1690
หรือตรงกับปี พ.ศ.2233 โดยบริษัทนี้ได้นำกาแฟ
จากประเทศจาไมก้า มาปลูกในประเทศอินโดนีเชีย
และเชื่อกันว่าอาจเป็นต้นกำเนิดกาแฟของประเทศ
อินโดนีเชียด้วยเช่นกัน

ร้านกาแฟร้านแรกในไทย
ร้ า นกาแฟในประเทศไทยเกิ ด ขึ้ น มาในสมั ย
สงครามโลกครั้งที่ 1 ประมาณปี พ.ศ.2460 โดยชาว
คอกาแฟทั้งหลายทราบกันหรือไม่คะว่า กาแฟ อเมริ ก า ชื่ อ มิ ส เตอร์ สโคล โดยเปิ ด ร้ า นที่ ชื่ อ ว่ า
หอมหวานกรุ่นกลิ่นครีมและนมที่เราดื่มกันอยู่ทุก RED CROSS TEA ROOM บริเวณสี่กั๊กพระยา
วันนี้เข้ามาแพร่หลายในเมืองไทยได้อย่างไรและส่งผล ศรี ร้าน RED CROSS TEA ROOM นี้จะเปิด
ต่อสุขภาพของเรามากน้อยเพียงใด รู้ไว้ใช่ว่าฉบับนี้มี บริการเฉพาะวันพฤหัสเวลา 15.00 น.- 18.00 น.
คำตอบมาให้ค่ะ กาแฟเริ่มเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่ โดยลูกค้าส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าหน้าที่ ข้าราชการ และ
สมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาแต่ ม าแพร่ ห ลายจริ ง ๆ ในสมั ย ชาวต่างชาติโดยที่รายได้ส่วนหนึ่งจากการขายกาแฟ
รัชกาลที่ 3 เนื่องจากในสมัยของพระองค์เมื่อปี พ.ศ. จะนำไปช่ ว ยองค์ ก ารกาชาดของฝ่ า ยสั ม พั น ธมิ ต ร
2367 นั้น ทรงมีการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ เพราะชื่อ RED CROSS นั้นมาจากเครื่องหมาย
โดยเฉพาะชาติตะวันตกมากขึ้นทำให้พระองค์ ทรง ของกาชาดนั่ น เองหลั ง จากนั้ น ต่ อ มาร้ า นกาแฟก็
เห็นความสำคัญของกาแฟและทรงนำมาปลูกภายใน ค่อยๆ เติบโตขึ้นมาและมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
พระราชวั งให้ จึ ง ทำให้ มี ก ารบั น ทึ กไว้ ว่ า กาแฟ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ร้านขายของชำชื่อ
โรบัสต้าเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในสมัยนั้นนั่นเอง ร้านตุงฮูได้นำกาแฟเข้ามาจำหน่ายในร้านด้วย ทำให้
ส่วนอีกหลักฐานหนึ่งกล่าวไว้ว่าทางภาคใต้ของไทย มี ก ารจำหน่ า ยกาแฟที่ ชื่ อ ว่ า ตุ ง ฮู ตั้ ง แต่ ส มั ย นั้ น
ได้มีการติดต่อการค้ากับชาวอังกฤษ ซึ่งในขณะนั้น เป็นต้นมา ต่อมารัชกาลที่ 6 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มี

1 อาจารย์ ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

34
ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2551

การเปิ ด ร้ า นกาแฟชื่ อ ว่ า “นรสิ ง ห์ ” ขึ้ น ที่ ถ นน ไทยเราก็มีร้านกาแฟในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด


ศรีอยุธยา ริมลานพระบรมรูปทรงม้า ซึ่งจัดว่าเป็น จำนวนไม่ น้ อ ย มี ตั้ ง แต่ ก าแฟไทยโบราณไปจนถึ ง
สถานที่พักผ่อนที่ทันสมัยที่สุดในสมัยนั้น โดยลูกค้า กาแฟนำเข้าจากต่างประเทศ นอกจากสารคาเฟอีน
ส่วนมากจะเป็นข้าราชการชั้นสูง และชาวต่างชาติ แล้ วในกาแฟยั ง มี ส ารอื่ น ๆ ที่ มี ผ ลต่ อ ร่ า งกายอี ก
ภายในร้านจัดให้มีวงดนตรีดุริยางค์ และวง ปี่พาทย์ มากมาย และคุณที่รักการดื่มกาแฟจะอยากรู้กันไหม
สลั บ กั น มาเล่ น แต่ ร้ า นนี้ เ ปิ ดได้ ไ ม่ น านก็ เ ลิ กไป ว่า กาแฟส่งผลอย่างไรต่อสุขภาพของเราบ้าง
เนื่องจากประชาชนทั่วไปไม่กล้าเข้ามาใช้บริการ
หลังจากนั้นร้านกาแฟก็เงียบหายไปจนกระทั่ง กาแฟกับหัวใจ
มาถึงรัชกาลที่ 7 ก็เริ่มมีชาวจีนเข้ามาทำการค้าและ จากงานวิ จั ย ที่ ตี พิ ม พ์ เ มื่ อ เดื อ นมิ ถุ น ายนปี
มีการขายกาแฟกันมากขึ้น ร้านกาแฟยุคแรกๆ ที่ ค.ศ.2005 รายงานว่า หลอดเลือดของผู้ที่ดื่มกาแฟ
หลายคนรู้จักกันดีก็คือ ร้าน “เอี๊ยแซ” ตั้งอยู่แถว มีความยืดหยุ่นน้อยกว่าผู้ที่ไม่ดื่ม จึงมีความเสี่ยงต่อ
เยาวราช ผู้ที่ก่อตั้งร้านนี้คือ นายจิ้งเหลี่ยน แซ่อุ่ย การเกิดโรคหัวใจ และในงานวิจัยฉบับนี้ยังได้แนะนำ
เป็นชาวจีนมาจากเกาะไหหลำ โดยตอนที่ขายครั้ง ให้ผู้ที่มีความดันโลหิตสูงหรือมีความเสี่ยงอื่นต่อการ
แรกยั ง เป็ น รถเข็ น ที่ ใ ช้ ชื่ อ ร้ า นว่ า กาแฟโกเหลี่ ย น เกิดโรคหัวใจ (ไขมันในเลือดสูง อ้วน เบาหวาน สูบ
และต่อมาเมื่อรุ่นลูกมาขายต่อจึงย้ายมาอยู่ในอาคาร บุหรี่ และไม่ออกกำลังกาย) ที่ดื่มกาแฟมากกว่าวัน
และใช้ชื่อว่า เอี๊ยแซ โดยกาแฟที่ร้านเอี๊ยแซ นำมาชง ละ 3 แก้ว ให้ลดปริมาณการดื่มลง
นั้ น ส่ ว นใหญ่ น ำเข้ า มาจาก บราซิ ล และเป็ น พั น ธุ์
โรบัสต้า เพราะเป็นพันธุ์ที่ให้ความเข้มข้นมากกว่า
อราบิก้า ร้านกาแฟอีกร้านที่รู้จักกันดีในยุคก่อนก็
คือร้าน ออน ล็อก หยุ่น ตั้งอยู่ย่านวังบูรพา โดย
กาแฟที่ใช้ในร้านส่วนใหญ่จะเป็นกาแฟสำเร็จรูปที่
วางขายตามห้างในสมัยนั้น

ในขณะทีง่ านวิจยั ทีต่ พี มิ พ์เมือ่ เดือนพฤษภาคม


ปีค.ศ.2006 รายงานว่าการดื่มกาแฟไม่ทำให้ความ
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจเพิ่มขึ้น แม้จะดื่มมากกว่า
ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มที่แพร่หลายมาก วันละ 6 แก้ว
รองจากชา เป็นเครื่องดื่มที่พบได้ทั่วทุกหนทุกแห่ง ส่ ว นงานวิ จั ย ที่ ตี พิ ม พ์ เ มื่ อ เดื อ นสิ ง หาคมปี
ทั้ งในที่ ท ำงาน สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วหรื อ แม้ แ ต่ ใ น ค.ศ.2006 รายงานว่ า กาแฟอาจก่ อให้ เ กิ ด อาการ
ระหว่างการเดินทางไปในที่ต่างๆ ของโลก ในเมือง หัวใจพิบตั ิ (Heart attack) ได้ภายใน 1 ชัว่ โมงหลังการ

35
ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2551

ดื่ม โดยพบว่าผู้ที่ดื่มกาแฟวันละ 2 - 3 แก้ว มี ล่ า สุ ด เมื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว พบว่ า ผู้ ห ญิ ง ที่ ดื่ ม กาแฟวั น ละ
ความเสี่ยงต่อการเกิดอาการหัวใจพิบัติถึงร้อยละ 60 2 - 3 แก้ว มีความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานลดลง
ส่วนผู้ที่ดื่มกาแฟน้อยกว่าวันละ 2 - 3 แก้ว ร้อยละ 13 ในขณะที่ผู้ที่ดื่มตั้งแต่วันละ 4 แก้วขึ้นไป
หรื อ ดื่ ม เป็ น ครั้ ง คราว จะมี ค วามเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด มี ค วามเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด เบาหวานลดลงมากกว่ า
อาการหัวใจพิบัติหลังการดื่มกาแฟเพิ่มขึ้นมากกว่า ร้อยละ 40 ซึ่งการค้นพบนี้เป็นที่ประหลาดใจของทีม
4 เท่า ที่เป็นเช่นนี้อาจเนื่องจากผู้ที่ไม่ได้ดื่มกาแฟ นักวิจยั เนือ่ งจากในการศึกษาเฉพาะสารสกัดคาเฟอีน
เป็นประจำ ร่างกายอาจไม่ชินกับสภาวะที่หัวใจเต้น พบว่า มีผลในการเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลและลด
เร็วขึ้น และความดันโลหิตสูงขึ้นชั่วคราวจากการได้ การเผาผลาญน้ำตาล คาเฟอีน จึงน่าจะทำให้ความ
รับสารคาเฟอีนจึงทำให้ความเสี่ยงต่อการเกิดอาการ เสี่ยงต่อการเกิดเบาหวานเพิ่มขึ้นมากกว่า ดังนั้นผล
หัวใจพิบัติสูงกว่า ในขณะที่การศึกษาในหญิงวัย ในการป้องกันเบาหวานน่าจะมาจากสารอื่นที่อยู่ใน
หมดประจำเดือนพบว่า อัตราการตายจากโรคหัวใจ กาแฟแต่อย่างไรก็ตามนักวิจัยยังไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับ
ของผู้ที่ดื่มกาแฟวันละ 1 - 3 แก้ว น้อยกว่าผู้ที่ไม่ การดื่มกาแฟเพื่อป้องกันโรคเบาหวาน แต่แนะนำให้
ดื่มกาแฟถึงร้อยละ 24 ป้องกันโรคนี้ด้วยการบริโ ภคธัญพืชที่ไม่ขัดสี เพิ่ม
แม้ว่าข้อมูลเกี่ยวกับกาแฟและสุขภาพหัวใจยัง การออกกำลังกาย และลดน้ำหนัก น่าจะเป็นสิ่งที่
มี ค วามขั ด แย้ ง กั น อยู่ แต่ ส มาคมโรคหั วใจแห่ ง ดีกว่า
สหรั ฐ อเมริ ก าก็ แ นะนำเสริ ม ว่ า การดื่ ม กาแฟพอ นอกจากนี้กาแฟยังมีผลต่อสุขภาพด้านอื่นๆ
ประมาณ (วันละ 1 - 2 แก้ว) ไม่น่าจะทำให้เกิด อีก เช่น ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคพาร์กินสัน
อันตราย ช่วยระงับอาการซึมเศร้า ช่วยกระตุ้นการทำงาน
ของสมอง โดยพบว่าคาเฟอีนเพียง 32 มิลลิกรัม
กาแฟกับเบาหวาน ช่วยกระตุ้นให้มีสมาธิและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อ
สิง่ เร้าได้ดขี นึ้ อย่างชัดเจน แต่ผหู้ ญิงทีด่ มื่ กาแฟมากกว่า
วันละ 3 - 4 แก้ว เป็นประจำ จะมีความเสี่ยงสูงต่อ
การเกิดโรคกระดูกพรุนเมื่อถึงวัยหมดประจำเดือน

การวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัย 8 ชิ้นในปี
ค.ศ.2005 ได้ขอ้ สรุปว่า ผูใ้ หญ่ทดี่ มื่ กาแฟวันละ 6 - 7
แก้ว มีความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานลดลง 1 ใน 3
เมื่อเทียบกับผู้ที่ดื่มวันละ 2 แก้ว และจากการศึกษา

36
ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 พ.ค. - ส.ค. 2551

กาแฟมีมากมายหลายพันธุ์ มีวิธีการผลิตและ เลือดสูงขึ้น และทำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค


วิธีการชงที่หลากหลาย จึงทำให้กาแฟมีกลิ่นและรส หัวใจเพิ่มขึ้น
ที่แตกต่างกัน ปริมาณคาเฟอีนในกาแฟแต่ละพันธุ์ก็ จากข้อมูลต่างๆ จะเห็นว่า กาแฟมีทงั้ ประโยชน์
ไม่เท่ากัน โดยกาแฟพันธุ์อาราบิก้าซึ่งปลูกมากใน และโทษคละกันไป ซึ่งไม่ต่างจากทุกสิ่งในโลกนี้ที่มีทั้ง
บราซิ ล มี ค าเฟอี น ประมาณร้ อ ยละ 0.8-1.5 ข้อดีและข้อเสีย ดังนั้นผู้ที่ชื่นชอบการดื่มกาแฟควร
ส่วนพันธุ์โรบัสต้าจากแอฟริกา มีคาเฟอีนประมาณ ดื่ ม อย่ า งพอเพี ย ง คื อไม่ น้ อ ยเกิ นไปเพื่ อให้ ไ ด้ รั บ
ร้อยละ 1.6-2.5 นอกจากนี้วิธีการชงกาแฟที่ต่างกัน ประโยชน์ทางสุขภาพจากการดื่มกาแฟ และไม่มาก
ก็ มี ผ ลต่ อ ปริ ม าณสารประกอบต่ า งๆ ที่ ไ ด้ รั บ จาก เกิ นไปเพื่ อ ป้ อ งกั นโทษจากกาแฟ ขอให้ ทุ ก ท่ า นมี
กาแฟ การชงกาแฟโดยไม่ผ่านการกรองจะทำให้ได้ ความสุขและสุขภาพดีจากการจิบกาแฟที่หอมกรุ่น
รั บ สารคาเฟสทอล (cafestol) และคาเวออล และรสชาติกลมกล่อมค่ะ
(kahweol) ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้ระดับคอเลสเตอรอลใน

Coffee break for health

เอกสารอ้างอิง
http://website11.esmartdesign.com/html/didhealt.html
http://www.deejai.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=521951
มนทิพย์ ร่าเริงวิจิตร นักกำหนดอาหาร โรงพยาบาลกรุงเทพ อ้างถึงใน
http://women.sanook.com/health/know_eat/knoweat_42928.php

¢¢¢¢¢¢¢¢

37

You might also like