You are on page 1of 15

บทที่ 1

เหตุผลที่ทำไมคนถึงใจร้ อนเกิดได้ จากหลายสาเหตุ แต่มี 3 ปั จจัยหลัก ประกอบด้ วย


1.เครี ยด กดดัน“ความเครี ยดและความกดดัน” เป็ นสาเหตุแรกๆ ที่ทำให้ คนในสังคมมีอารมณ์ที่ฉน
ุ เฉียว หัวร้ อนกับทุกๆ เรื่ องที่
เข้ ามากระทบ ซึง่ จะมากหรื อน้ อยขึ ้นอยู่กบั ปั ญหา และความเครี ยดสะสมของแต่ละบุคคล ทังปั ้ ญหาครอบครัว การงาน การ
เรี ยน ความรัก และเรื่ องอื่นๆ ที่พร้ อมจะปะทุออกมาทันที เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่กระตุ้นอารมณ์
2.สภาวะภายในจิตใจ ณ เวลาเกิดเหตุ

“สภาวะภายในจิตใจ ณ เวลาเกิดเหตุ” ปั จจัยนี ้อาจคล้ ายคลึงกับปั จจัยแรก แต่มีความแตกต่าง คือ เป็ นสถานการณ์เฉพาะ
หน้ าที่เจอในเวลาเกิดเหตุ อาทิ เหตุการณ์ลา่ สุดที่เพิ่งเกิดขึ ้น คือ ชายหนุ่มอารมณ์ร้อน โมโหที่รถตนเองถูกชนท้ าย และเข้ าใจว่า
คูก่ รณีจะชนแล้ วหนี จึงรี บไปนำแท่งเหล็กมากระหน่ำตีรถของคูก่ รณีจนพังยับเยิน สะท้ อนให้ เห็นว่าสถานการณ์ในขณะนันก็ ้
เป็ นอีกแรงจูงใจเกิดอารมณ์ร้อนได้

3.สารเสพติด / แอลกอฮอล์

ปั จจัยสุดท้ าย เป็ นอีกหนึง่ สาเหตุที่ทำให้ สภาพร่ างกาย จิตใจ ณ ขณะนันไม่


้ อยู่ในภาวะปกติ มักจะพบเห็นได้ บอ่ ยจากข่าวที่
ผ่านๆ มา ผู้ที่มีสารเสพติดภายในร่ างกายหรื อดื่มแอลกอฮอล์เมื่อเกิดเหตุเฉี่ยวชนบนท้ องถนน มักจะไม่สามารถควบคุมตนเอง
ได้ เมื่อเกิดเหตุการณ์มีปากเสียงกับคูก่ รณี การหัวร้ อนทำลายทรัพย์สินของคูก่ รณี ทำให้ เหตุกระทบกระทัง่ บนท้ องถนนที่ผิด
เพียงกฎหมายจราจรลุกลามกลายเป็ น “คดีอาญา”
อารมณ์โกรธที่สง่ ผลกระทบต่อตนเอง บุคคลที่มีอารมณ์โกรธจะมีปฏิกิริยาทางสรี รวิทยา ที่ควบคุมด้ วยสารสื่อประสาทและ
ฮอร์ โมน ซึง่ เป็ นการเตรี ยมตัวที่จะต่อสู้หรื อเดินหนี หากเกิดขึ ้นบ่อยๆ หรื อเป็ นระยะเวลานาน จะกลายเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
เนื่องจากมีผลโดยตรง อาจทำร้ ายตนเองและผู้อื่นโดยตังใจหรื ้ อไม่ตงใจ
ั ้ ความโกรธที่ทำลายอาจมีผลต่อสุขภาพจิต และเมื่อ
บุคคลตอบสนองต่อเหตุการณ์ด้วยอารมณ์โกรธบ่อยๆ ก็จะกลายเป็ นการตอบสนองปกติของบุคคลนันและไม่ ้ สามารถควบคุม
ได้ อาจต้ องกินยาระงับอารมณ์ความรู้สกึ นึกคิด ผลของอารมณ์โกรธทำให้ บคุ คลไม่สบายใจ ว่างเปล่า ซึมเศร้ า และรู้สกึ ผิด ซึง่
เป็ นผลมาจากการหลัง่ สารอะดีนาลีน บุคคลที่มีอารมณ์โกรธมักไม่มีความสุขเลยและมีความภาคภูมิใจในตนเองต่ำ อีกทังยั ้ ง
ส่งผลต่อการทำงานทังด้ ้ านครอบครัวและสังคมอีกด้ วย
อารมณ์โกรธที่สง่ ผลกระทบต่อครอบครัว ผู้ใหญ่มกั โกรธเด็ก ความโกรธมีผลเป็ นอย่างมากต่อครอบครัวโดยทำให้ เกิด
ความตึงเครี ยดและทะเลาะกันในครอบครัว ซึง่ นำไปสูว่ งจรของความก้ าวร้ าว ได้ แก่ การทำร้ ายและถูกทำร้ ายรวมถึงความ
รุนแรงอื่น ๆ ผลของความโกรธมีผลต่อเด็กทังด้
้ านสุขภาพจิตใจและสุขภาพกาย เด็กที่เห็นเหตุการณ์ความรุนแรงอาจจะเกิด
พฤติกรรมและอารมณ์ผิดปกติ เช่น การไม่เข้ าสังคม ฝั นร้ าย พฤติกรรมก้ าวร้ าวและการตำหนิตนเอง อีกทังยั ้ งทำให้ ความ
สามารถในการเรี ยนรู้ลดลง รวมถึงเด็กจะเกิดการเลียนแบบและกลายเป็ นบุคคลที่ใช้ ความโกรธและความรุนแรง จากการ
ศึกษาพบว่า เด็กที่ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ เมื่อเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ก็ยากที่จะสร้ างสัมพันธภาพที่ดีกบั ผู้อื่นได้ และเสี่ยงต่อ
การพัฒนาเป็ นเด็กที่กระทำผิดกฎหมายหรื อต่อต้ านสังคม เช่น การหนีโรงเรี ยน การพักการเรี ยน หรื อการถูกไล่ออก เด็กที่ไม่ได้
เรี ยนหนังสือมักตกอยู่ในวงจรอาชญากรรมเปิ ดสาเหตุทำไมคนไทยหัวร้ อน!! : PPTVHD36
ผลกระทบจากอารณ์โกรธที่เกิดขึ ้น ส่งผลเสียไปโดยรอบต่อชีวิตของบุคคลและคนรอบข้ าง รวมถึงสังคมโดยรวม ดังนันจึ
้ ง
ควรมีการฝึ กระงับอารมณ์โกรธหรื อการจัดการทางอารมณ์ตงแต่ ั ้ วยั เด็ก เพื่อลดความรุนแรงของพฤติกรรมแสดง และผลกระทบ
หรื อปั ญหาภัยสังคมที่จะตามมาในอนาคต
ข้ อดีคือ ตัดสินใจได้ เฉียบคม ทันใจ ข้ อเสียคือ ตัดสินใจอะไรผิดพลาดได้ ง่าย
ข้ อดีของคนใจร้ อน ในสถานการณ์ตา่ งๆ
1.ในสถานการณ์ที่ยงั ไม่แน่นอน คลุมเครื อ

ในสถานการณ์เหล่านี ้ เรามีทางเลือกอยู่ 2 ทาง คือ wait and see หรื อ investigate


คนใจร้ อนมักเลือกแนวทางในการ investigate มากกว่าการรอ และเมื่อเราค้ นหาสาเหตุ เราอาจพบกับความจริ งก่อน
2.สถานการณ์ที่เป็ นภัยฉุกเฉิน

อันนี ้ คงจะไม่ต้องอธิบายรายละเอียดอะไรมาก เมื่อฉุกเฉิน เวลานัน้ สำคัญที่สดุ


3.ในสถานการณ์ที่มีระยะเวลาเตรี ยมการต่ำ และต้ องการความพร้ อมสูง

ยกตัวอย่างเช่นการ trade อนุพนั ธ์ หรื อ TFEX คนใจเย็นคิดรอบคอบ อาจไม่เหมาะ


4.ในสถานการณ์ที่ต้องการการตัดจบอย่างรวดเร็ ว

ในเหตุการณ์ที่กลยุทธ์การนำออกสำคัญกว่าการนำเข้ า เพราะความต้ องการประสิทธิภาพที่สงู อยู่เสมอ คนใจร้ อนจะได้ เปรี ยบ


5.ในสถานการณ์ที่ต้องอาศัยความคล่องตัวสูง

คนใจเย็นกลับจะถ่วงความคล่องตัวของทีม
ข้ อเสียของคนใจร้ อน
ตัดสินใจผิดพลาดได้ ง่ายและไม่รอบคอบ การแสดงออกทางอารมณ์ที่รุนแรง ส่งผลเสียไปโดยรอบต่อชีวิตของบุคคลและคน
รอบข้ าง รวมถึงสังคมโดยรวม

บทที่2

การวิจยั ครัง้ นี ้ เป็ นการศึกษาเกี่ยวกบการเสริ มสร้ างพลังอ านาจเพื่อปรับพฤติกรรมการดื่ม เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของ


นักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเชียงใหม่ ซึง่ ผู้วิจยั ได้ น า หลักการ แนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ องมา
ศึกษา เพื่อประโยชน์ในการประมวล แนวความคิดและได้ กาหนดขอบเขตเพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการศึกษาโดยเรี ยงตามล าดับ
ดังต่อไปนี ้ 1. เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ 2. แนวคิดเกี่ยวกับวัยรุ่น 3. ผลกระทบจากการดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น 4.
พฤติกรรมการดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น 5. แนวคิดการปรับพฤติกรรม 6. แนวคิดทฤษฎีการเสริ มสร้ างพลังอ านาจ
7. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ความหมายของเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ คือ เครื่ องดื่มที่มีสว่ น
ผสมของสารเคมีกึ่งธรรมชาติ กึ่งสังเคราะห์ เรี ยกว่า “แอลกอฮอล์” (Alcohol) มีชื่อทางเคมีมา เอธานอล (Ethanol)
หรื อที่เรี ยกว่า “เอธิล แอลกอฮอล์” (Ethyl alcohol) ผสมอยู่ในปริ มาณไม่เกินร้ อยละ 60 ซึง่ ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่คนเรา สามารถ
ดื่มได้ เกณฑ์นี ้เป็ นข้ อกำหนดของสากลทัว่ ไป แต่ สาหรับประเทศไทยครอบคลุมถึงปริ มาณ ร้ อยละ 80 ดังนัน้ เครื่ องดื่มผสม
แอลกอฮอล์หมายถึง สุรา เหล้ า ไวน์ เบียร์ แชมเปน ปรั่นดี วิสกรัม ยินริ เคอร์ สาโท และอื่น ๆ ที่มีสว่ นผสมของเอธิล
แอลกอฮอล์ในปริ มาณไม่เกินร้ อยละ 80 (นิรุจน์ อุทธา และคณะ, 2548) พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้
ให้ ความหมายของแอลกอฮอล์วา่ หมายถึง สารอนินทรี ย์ชนิดหนึง่ ลักษณะเป็ นของเหลว กลิ่นฉุนระเหยง่าย มีขีดเดือดที่
อุณหภูมิ 78.54 องศาเซลเซียส มีชื่อเต็มวา เอทิลแอลกอฮอล์ โดยปกติเก ่ ิดจากการหมักสารประเภทแป้ งหรื อ น้ าตาลผสม
ยีตส์ ซึง่ เรี ยกว่า แป้งเชื ้อ หรื อเชื ้อหมัก เป็ นองค์ประกอบสำคัญของสุราและเมรัยทุก 8 ชนิด เมื่อดื่มเข้ าไปจะออกฤทธิ์ท าให้ เกิด
อาการมึนเมา ใช้ ประโยชน์ในการเป็ นตัวท าละลายและเป็ น เชื ้อเพลิง เป็ นต้ น และได้ ให้ ความหมายของสุ รา หมายถึง เหล้ า,
น้ าเมาที่ได้ มาจากการกลัน่ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546 อ้ างใน สมพร สิทธิสงคราม, 2549) เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์หมายถึง สุรา
ตามกฎหมายวาด้ วยสุรา ทัง่ นี ้ไม่รวมถึงยา วัตถุออก ฤทธิ์ตอ่ จิตประสาท ยาเสพติดให้ โทษตามกฎหมายวาด้ วยการนัน่ (สา
นักงานคณะกรรมการควบคุม เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2551) ดังนันจึ ้ งสรุ ปได้
ว่า เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หมายถึง เครื่ องดื่มที่มีสว่ นผสมของ เอทิลแอลกอฮอล์ผสมอยูในปริ มาณร้ อยละ 60 -80 ซึง่ ผานก
ระบวนวิธีทางการหมักประเภทแป้ งหรื อ น้ าตาลผสมยีสต์ มีฤทธิ์ตอ่ ระบบประสาทส่วนกลาง เมื่อดื่มเข้ าไปแล้ ว จะท่าให้ ร้ ูสกึ
มึนเมา ประเภทและชนิดของสุราที่นิยมบริ โภคในประเทศไทย เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ หรื อสุรา ที่สงั คมไทยและประชาคมโลก
บริ โภคอยู่นนมี ั ้ มากมาย หลายชนิด มีความแตกต่างกนออกไป ทังในปริ ้ มาณของแอลกอฮอล์ วัสดุที่ใช้ รวมไปถึงขันตอน
้ และ
วิธีการผลิต ซึง่ สามารถแยกเป็ นประเภท และชนิดได้ เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ สุราประเภทที่ กลัน่ แล้ ว (Distilled Liquors)แ
ละสุ ราหมัก (Fermented Liquors) (เทพินทร์ พัชรานุรักษ์ , 2541 อ้ างใน สมพร สิทธิสงคราม, 2549) สุราประเภทที่กลัน
แล้ ว ( ่ Distilled Liquors) ได้ แก่ 1. เหล้ าบรั่นดี เป็ นสุราประเภทกลันที่รสเยี่ยมที่สดุ และมีราคาแพง เนื่องจากเป็ นเหล้ าที่
กลัน่ จากองุ่น มีกรรมวิธีการผลิตและขันตอนในการบ่้ ม 2. วิสกี ้ เป็ นสุราประเภทกลันที่ท ามาจากข้ าวไม่วา่ จะเป็ นข้ าวบาเลย์
ข้ าวไรย์ ข้ าวโอ๊ ต ข้ าวโพด หรื อข้ าวเหนียว โดยน ามาหมัก กล่น แล้ วนาไปบ่ม 3. เหล้ ารัม เป็ นสุราที่กลันมาจากน้ าอ้ อย กากน้ า
ตาลและน้ าเชื่อม และอาจจะผสมผิวส้ ม และผลไม้ อื่น ๆ เพื่อให้ รสชาติดีขึ ้น 4. วอดกา เป็ นสุราที่มีลกั ษณะคล้ ายวิสกี ้ แต่มี
ปริ มาณของแอลกอฮอล์สงู กวา โดยวอดท่ามาจากข้ าวสาลี 5. เหล้ าคอกเทลต่าง ๆ คอกเทล คือการนาเอาเหล้ าหลายชนิดมาร
ผสมกันตามสูตร แล้ วแต่รสนิยมของผู้ดื่ม 6. เหล้ าขาว เป็ นเหล้ าที่ผลิตมากในเอเชีย เหล้ าจีนที่เรี ยกว่า “สาเก” ก็รวมอยู่ในสุ รา
ประเภทนี ้ เหล้ าขาวท ามาจากกากน้ าตาล ข้ าว น้ าตาลมะพร้ าว ตาลโตนก สุราหมัก (Fermented Liquors) ได้ แก่ 1.
แชมเปญเป็ นเหล้ าหมัก คือ เป็ นสุราที่ไม่ผา่ นกระบวนการกลัน่ ท ามาจากองุ่น มี ลักษณะพิเศษคือ จะมีฟอง คือ มีก๊าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์เจือปนอยูคล้ าย ๆ เบียร์ ่ 9 2. ไวน์ คือ เหล้ าผลไม้ หมักที่เก่าแก่ที่สดุ ในโลก วัตถุดิบในการท าไวน์คือ องุ่น
ไวน์ตา่ ง จากแชมเปญ ตรงที่ไวน์ไม่มีฟอง กรรมวิธีการผลิตก็ไม่ซบั ซ้ อนเท่ากบแชมเปญ 3. เบียร์ เป็ นสุราที่มีปริ มาณการบริ โภค
สูงสุด เบียร์ ท ามาจากข้ าวบาเลย์ อบ และบด ต้ มให้ สกุ แล้ วใส่ถงั หมัก เมื่อหมักเสร็จแล้ วจะใส่ดอกฮอพเพื่อให้ มีรสขม จากนัน้
จึงใส่เชื ้อยีสต์ 4. เหล้ าหมักพื ้นบ้ าน เหล้ าชนิดนี ้สามารถผลิตขึ ้นได้ เองโดยกรรมวิธีง่าย ๆ โดยใช้ ข้าว ผลไม้ หรื อน้ าตาลมาหมัก
ทิ ้งไว้ ให้ เกิดแอลกอฮอล์ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์แต่ละชนิดจะมีความเข้ มข้ นของแอลกอฮอล์แตกต่างกัน สุ รา (Liquor) หรื อ
เหล้ า (Spirit) เช่น เหล้ าขาว วิสกี(้ แม่โขง แสงทิพย์ หงส์ทอง) วอดก้ า บรั่นดี จะมี แอลกอฮอล์ประมาณร้ อยละ 40 แชมเปญ
จะมีแอลกอฮอล์ประมาณร้ อยละ 15 ไวน์เข้ มข้ น (Fortified Wine) เหล้ าเชอรี่ และเวอร์ มธุ เป็ นต้ น จะมีแอลกอฮอล์ประมาณ
ร้ อยละ 20.5 ไวน์ที่ดื่ม พร้ อมอาหาร (Table Wine) มีแอลกอฮอล์ประมาณร้ อยละ 10-14 และเบียร์ ชนิดแรง (Heavy Beer)
มี แอลกอฮอล์ประมาณร้ อยละ 4-5 เนื่องมาจากความแตกต่างของความเข้ มข้ นของแอลกอฮอล์ใน เครื่ องดื่มแต่ละชนิดดัง
กล่าว จึงท าให้ การจำหน่ายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์โดยปรับตามปริ มาณของ แอลกอฮอล์ตอ่ 1 ดื่มมาตรฐาน (กรมสุขภาพจิต,
2547) ดังนันจึ ้ งสรุปได้ วา่ เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ หรื อสุรา ที่นิยมบริ โภคในประเทศไทยนันมี
้ อยู่หลายชนิด มีความแตกต่าง
กนตรงที่ปริ มาณของแอลกอฮอล์ วัสดุที่ใช้ ตลอดจนขั ั ้นตอนและ วิธีการผลิต ซึง่ มี 2 ประเภท คือ สุราชนิดกลันแล้ ว และ สุรา
หมัก ่ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีปริ มาณของแอลกอฮอล์ที่แตกต่างกัน ออกไป ดังนันจึ ้ งจำเป็ นต้ องก า
หนดขนาดดื่มมาตรฐานขึ ้นมา เพื่อให้ ผ้ ทู ี่ดื่มรู้ว่าตนเองได้ ดื่ม เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในปริ มาณมากน้ อยเพียงใด สาหรับ 1 ดื่ม
มาตรฐาน (1 Drink) หมายถึง เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีปริ มาณแอลกอฮอล์ประมาณ 10 กรัม ตัวอย่างเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่
นับเป็ น 1 ดื่มมาตรฐาน ได้ แก่ เบียร์ 1 แกว (285 มิลลิลิตร) มีแอลกอฮอล์อยูร้อยละ 5 ไวน์ 1 แก้ วเล็ก (100 มิลลิลิตร) มี
แอลกอฮอล์อยูร้อยละ 40 (กรมสุขภาพจิต, 2547) สำหรับลักษณะแบบแผนการดื่ม ่ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์มีดงั นี ้ 1. การดื่ม
เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์แบบที่มีความเสี่ยงน้ อย (Low Risk Drinking) หมายถึง การดื่มในลักษณะที่ไม่ท าให้ เกิดปั ญหาตามมา
ทังต่
้ อตัวผู้ดื่มเองและผู้อื่น โดยการดื่มในผู้ชาย มีการ ดื่ม ไม่เกิน 4 ดื่มมาตรฐานต่อวัน ซึง่ เทียบเท่ากบเบียร์ 4 แก้ ว (1 แก้ ว
ปริ มาณ 285 มิลลิลิตร) เหล้ า 40 ดีกรี 4 แกว (1 แก้ วปริ มาณ 30 มิลลิลิตร) ไวน์ 4 แกวเล็ก (1 แก้ วเล็กปริ มาณ 100
มิลลิลิตร) และไม่ ดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เลยอยางน้ อย 2 วันต่อสัปดาห์ หรื อมีเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ปริ มาณไม่เกิน 20 ดื่ม
มาตรฐานต่อสัปดาห์ สำหรับผู้หญิงดื่มไม่เกิน 2 ดื่มมาตรฐานต่อวัน ซึง่ เทียบเท่ากบเบียร์ 2 แก้ ว (1 แก้ วปริ มาณ 285
มิลลิลิตร) หรื อเหล้ า 40 ดีกรี 2 แกว (1 แก้ วปริ มาณ 30 มิลลิลิตร) ไวน์ 2-10 แก้ วเล็ก (1 แก้ วเล็กปริ มาณ 100 มิลลิลิตร) และ
ไม่ดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เลยอย่างน้ อย 2 วันต่อ สัปดาห์ หรื อการดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ปริ มาณไม่เกิน 10 ดื่มมาตรฐาน
ต่อสัปดาห์ การดื่ม เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในลักษณะนี ้เรี ยกวา การดื่มอย่างปลอดภัย (Safe Limit Drinking) 2. การดื่มเครื่ อง
ดื่มแอลกอฮอล์แบบที่มีความเสี่ยงต่ออันตรายสูง (Hazardous Drinking) หมายถึง การดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในปริ มาณ
และลักษณะที่ท าให้ ผ้ ดู ื่มเพิ่มความเสี่ยงที่จะท าให้ เกิดผลเสียต่อสุขภาพ โดยองค์การอนามัยโลกได้ จดั ไว้ ว่าเป็ นปริ มาณความ
ผิดปกติชนิดหนึง่ การ กาหนดปริ มาณลักษณะของการดื่มแบบเสี่ยงจะใช้ การก าหนดระดับปริ มาณ แอลกอฮอล์เฉลี่ยที่คน ไม่
ควรดื่มเกินต่อสัปดาห์หรื อต่อครัง้ (Threshold Values) ซึง่ เป็ นระบบที่สมั พันธ์กบความเสี่ยงต่อ การเกิดอันตรายของสุขภาพ
ของผู้ดื่ม โดยลักษณะการดื่มแบบเสี่ยง คือ ในผู้ชาย มีการดื่มที่มากกว่า 4 ดื่มมาตรฐาน แต่ไม่เกิน 6 มาตรฐานต่อวัน ซึง่ เทียบ
เท่ากบเบียร์ มากกว่า 4 แกว (1 แก้ ว ปริ มาณ 285 มิลลิลิตร) เหล้ า 40 ดีกรี มากกว่า 4 แก้ ว (1 แก้ วปริ มาณ 30 มิลลิลิตร) ไวน์
มากกว่า 2 แก้ ว (1 แก้ วเล็กปริ มาณ 100 มิลลิลิตร) นอกจากนี ้ การดื่มอย่างหนักหรื อแบบ เมาหัวราน้ า (Binge Drinking)ก็
ถือวาเป็ นการดื่มแบบเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย 3. การดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็ นอันตราย (Harmful Drinking) หมายถึง
การดื่ม เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่ท าให้ เกิดอันตรายต่อสภาพร่ างกายหรื อจิตใจ ซึง่ กาหนดโดยองค์การอนามัย โลก และให้ ค่าจา
กดความโดยอาศัยตามหลักเกณฑ์ของสมาคมจิตแพทย์อเมริ กนั ( Diagnosis and Statistical Manual Disorder Forth
Edition [DSM IV]) ประกอบด้ วย 1. มีหลักฐานชัดเจนแอลกอฮอล์ทำให้ เกิดอันตรายต่อร่ างกายและจิตใจ 2. ลักษณะของ
อันตรายสามารถตรวจพบได้ 3. ต้ องดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ติดต่อกนอย่างน้ อย 1 เดือน หรื อดื่มหลายครัง้ ในช่วง 12 เดือนที่
ผ่านมา 4. ต้ องไม่เข้ าหลักเกณฑ์การวินิจฉัยสำหรับภาวะติดสุรา (Alcohol Dependence) โดย ลักษณะการดื่มแบบอันตราย
คือ ในผู้ชาย มีการดื่มมากกวา 6 ดื่มมาตรฐานต่อวัน สำหรับในผู้หญิง มีการดื่มมากกวา 4 ดื่มมาตรฐานต่อวัน ดังนันจึ ้ งสรุปได้
ว่า เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทกุ ชนิดมีปริ มาณของแอลกอฮอล์ที่แตกต่าง กน เพื่อให้ เกิดความสามารถในการรับรู้เกี่ยวกับการ
ดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ของตนเองวาจัดอยู่ ในปริ มาณมากหรื อน้ อยเพียงใด จำเป็ นจะต้ องกาหนดแบบแผนเอาไว้ ดงั นี ้คือ
1. การดื่มเครื่ องดื่มที่ มีแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงน้ อย จะไม่เกิดปั ญหากบตนเองและผู้อื่น 2. การดื่มเครื่ องดื่มที่มีความเสี่ยงต่อ
อันตรายสูง เป็ นการดื่มที่เพิ่มความเสี่ ยงท าให้ เกิดผลเสียต่อสุ ขภาพ 3. การดื่มเครื่ องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ที่เป็ นอันตราย
เป็ นการดื่มที่ก่อให้ เกิดผลเสียต่อสภาพร่ างกายและจิตใจ และ 4. ต้ องไม่ 11 เข้ าเกณฑ์การวินิจฉัยสำหรับภาวะติดสุรา ซึง่
ผู้ชายดื่มมากกว่า 6 ดื่มมาตรฐาน ผู้หญิงดื่มมากกวา 4 ดื่มมาตรฐาน สถานการณ์การบริ โภคสุราหรื อดื่มเครื่ องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์ในประเทศไทย จากการจัดอันดับการบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์การอนามัยโลก พบวา ตังแต่ ้ ปี พ.ศ.
2541 ถึง พ.ศ. 2544 คนไทยมีอต
ั ราการบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่เพิ่มสูงขึ ้น คือ ในปี พ.ศ. 2541 จัดอยูในอันดับที่ 50
อัตราการบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์คิดเป็ น 7.7 ลิตร/คน/ปี และในปี พ.ศ. 2544 จัดอยู่ในอันดับที่ 40 อัตราการบริ โภค
เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มขึ ้นเป็ น 8.5 ลิตร/คน/ปี จะเห็นว่าอัตราการบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยเพิ่มมากขึ ้น (วีระ
ศักดิ์ จงสูว่ ิวฒ
ั น์วงศ์ และนิศาสน์ ส าอางศรี , 2545) ซึง่ สอดคล้ องกบข้ อมูลการบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ของกรมสรรพ
สามิต กระทรวงการคลังโดยใช้ ปริ มาณการจำหน่ายต่อจำนวนประชากรในแต่ละปี พบว่า ปริ มาณการบริ โภคเพิ่มขึ ้นทุกปี
ตังแต่
้ ปี พ.ศ. 2540 ถึงปี พ.ศ. 2550 ในปี พ.ศ. 2540 เฉลี่ย 27.1 ลิตร/ คน/ปี ในปี พ.ศ. 2550 เพิ่มขึ ้นเป็ น 39.3 ลิตร/คน/ปี
(บัณฑิต ศรไพศาล และคณะ, 2551) ตารางที่ 1 จำนวนประชากรอายุ 15 ปี ขึ ้นไป ที่ดื่มสุราจำแนกตาม เพศ กลุม ่ อายุ อัตรา
การดื่มสุรา และอายุเฉลี่ยที่เริ่ มดื่มสุรา พ.ศ. 2554 หน่วย : พันคน เพศและ กลุม่ อายุ (ปี ) ประชากรอายุ 15 ปี ขึ ้นไป
ประชากร ที่ดื่มสุรา อัตราการดื่มสุรา ของประชากร อายุเฉลี่ย ที่เริ่ มดื่มสุรา รวม 53,896.2 16,992.0 31.5 20.3 ชาย หญิง
26,192.0 27,704.2 13,979.4 3,012.6 53.4 10.9 19.4 24.6 กลุม ่ อายุ (ปี ) 15-24 25-59 60 ขึ ้นไป 10,405.1
35,272.3 8,218.8 2,462.7 13,166.3 1,363.0 23.7 37.3 16.6 17.2 20.6 23.5 ที่มา:การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่
และดื่มสุราของประชากร (ส านักงานสถิติแห่งชาติ, 2554) จากข้ อมูลของส านักงานสถิติแห่งชาติปี พ.ศ. 2554 ได้ ด าเนิน
การสำรวจพฤติกรรมการ สูบบุหรี่ และการบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ของประชากรไทย พบว่า ประชากรอายุ 15 ปี ขึ ้นไป
จำนวน 53.9 ล้ านคน เป็ นผู้ดื่มสุราในรอบ 12 เดือนก่อนวันสัมภาษณ์ 17.0 ล้ านคน โดยคิดเป็ นอัตรา 12 การดื่มสุราของ
ประชากร ร้ อยละ 31.5 และกลุม่ วัยท างาน (25-59 ปี ) มีอตั ราการดื่มสูงกวากลุม่ อื่น คือ ร้ อยละ 37.3 โดยผู้ชายมีอตั ราการ
ดื่มสุราสูงกวาผู้หญิงเกือบ 5 เท่า คือ ร้ อยละ 53.4 และ ร้ อยละ 10.9 ตามล าดับ อายุเฉลี่ยที่เริ่ มดื่มสุรา โดยรวมจะเริ่ มดื่มที่
อายุ 20.3 ปี ผู้ชายจะเริ่ มดื่มเร็วกวาผู้หญิง คือ อายุ 19.4 และ 24.9 ปี ตามลำดับ วัยเยาวชน (15-24 ปี ) มีอายุเฉลี่ยที่เริ่ มดื่ม
สุรา 17.2 ปี ในขณะที่ วัยท างาน (25-59 ปี ) และวัยผู้สงู อายุ (60 ปี ขึ ้นไป) มีอายุเฉลี่ยเริ่ มดื่มสุ รา คือ 20.6 และ 23.5
ตามล าดับ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2554) และจากข้ อมูลการจำแนกความถี่ในการดื่มสุราของ ประชากรอายุ 15 ปี ขึ ้นไป
ในปี พ.ศ. 2554 พบวา ในจำนวนผู้ดื่มสุราขาว/สุรากลัน่ ชุมชน และสุราสี/สุราแดง ร้ อยละ 27.3 และ 25.9 ตามล าดับ จาก
การสำรวจยังพบอีกวาในจำนวน 8.4 ล้ านคน เป็ น ผู้ที่เคยดื่มหนักหรื อดื่มปริ มาณมากในครัง้ เดียวถึง 3.0 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อย
ละ 35.3 นอกจากนี ้ยัง พบว่าครัวเรื อนที่มีสมาชิกในครัวเรื อนดื่มสุราและมีปัญหา มีถึงร้ อยละ 36.6 ที่มีปัญหาการใช้ ความ
รุนแรงในครัวเรื อน/ปั ญหาความสัมพันธ์ในครัวเรื อน รองลงมามีปัญหาเกี่ยวกบการประกอบอาชีพ และการได้ รับบาดเจ็บหรื อ
อุบตั ิเหตุร้อยละ 25.7 และ 23.1 ตามล าดับ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2554) จากข้ อมูลของส านักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ.
2554 สามารถสรุ ปได้ วา่ ประชากรอายุ 15 ปี ขึ ้นไป มีอต ั ราการดื่มสุราสูงสุด โดยที่เพศชายดื่มมากกวาเพศหญิง ประชากร
ส่วนใหญ่เป็ นผู้ที่เคย ดื่มหนักหรื อปริ มาณมากในครัง้ เดียว นอกจากนี ้ยังพบวา สมาชิกในครัวเรื อนมีการดื่มสุรา และเกิด การ
ปั ญหาการใช้ ความรุนแรงในครัวเรื อนมากที่สดุ มาตรการควบคุมการบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย การดื่มเครื่ อง
ดื่มแอลกอฮอล์ได้ ก่อให้ เกิดปั ญหาด้ านสุขภาพ ครอบครัว อุบตั ิเหตุและ อาชญากรรม ซึง่ มีผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ
โดยรวมของประเทศ รัฐบาลจึงได้ กาหนด มาตรการในการควบคุมและแก้ ไขปั ญหาการดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อช่วยปั ญหา
และ ผลกระทบทังด้ ้ านสังคมและเศรษฐกิจ ช่วยสร้ างเสริ มสุขภาพของประชาชน โดยให้ ตระหนักถึงพิษ ภัยของเครื่ องดื่ม
แอลกอฮอล์ ตลอดจนช่วยป้องกนเด็กและเยาวชนมิให้ เข้ าถึงเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ได้ โดยง่าย และมีการปรับปรุ งแก้ ไขเพิ่มเติม
มาตรการการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ไว้ ใน พระราชบัญญัติตา่ ง ๆ ที่มีอยู่เดิมให้ มีความเข้ มงวดและชัดเจนยิ่งขึ ้น และได้ มี
การประกาศใช้ พระราชบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ใหม่เพื่อให้ มีความครอบคลุมในการแกไข้ ปั ญหาจาก
เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์มากยิ่งขึ ้น ซึง่ มาตรการการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีผล บังคับใช้ ตามพระราชบัญญัติตา่ ง ๆ ดังนี ้
(ส านักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2551 13 1. พระ
ราชบัญญัติควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติ คือ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ได้ ก่อ
ให้ เกิดปั ญหา ด้ านสุขภาพ ครอบครัว อุบตั ิเหตุและอาชญากรรม ซึง่ มีผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ
สมควรก าหนดมาตรการต่าง ๆ ในการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์รวมทังการ ้ บ าบัดรักษา หรื อฟื น้ ฟูสภาพผู้ติดเครื่ องดื่ม
แอลกอฮอล์ เพื่อช่วยลดปั ญหาและผลกระทบทังด้ ้ าน สังคมและเศรษฐกิจ ช่วยสร้ างเสริ มสุขภาพของประชาชนโดยให้ ตระหนัก
ถึงพิษภัยของเครื่ องดื่ม แอลกอฮอล์ ตลอดจนช่วยป้องกันเด็กและเยาวชนมิให้ เข้ าถึงเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ได้ โดยง่าย (สำนักงา
นคณะกรรมการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข, 2551) หมวดที่ 4 การควบคุม
เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ มาตรา 27 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในสถานที่หรื อบริ เวณดังต่อไปนี ้ 1. วัด หรื อสถานที่
สำหรับปฏิบตั ิพิธีกรรมทางศาสนา 2. สถานบริ การสาธารณสุขของรัฐ สถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้ วยสถานพยาบาล และ
ร้ านขายยาตามกฎหมายวาด้ วยยา 3. สถานราชการ ยกเว้ นบริ เวณที่จดั ไว้ เป็ นร้ านค้ าหรื อสโมสร 4. หอพักตามกฎหมายวา
ด้ วยหอพัก 5. สถานศึกษาตามกฎหมายวาด้ วยการศึกษาแห่งชาติ 6. สถานีบริ การน้ ามันเชื ้อเพลิงตามกฎหมายวาด้ วยการ
ควบคุมน้ ามันเชื ้อเพลิง หรื อ ร้ านค้ าในบริ เวณสถานีบริ การน้ ามันเชื ้อเพลิง 7. สวนสาธารณะของทางราชการที่จดั ไว้ เพื่อการพัก
ผ่อนของประชาชนโดยทัว่ ไป 8. สถานที่อื่นที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มาตรา 28 ห้ ามมิ
ให้ ผ้ ใู ดขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในวัน หรื อเวลาที่รัฐมนตรี ประกาศ กาหนด โดยคำแนะนำของคณะกรรมการ ทังนี ้ ้ ประกาศดัง
กล่าวจะกาหนดเงื่อนไขหรื อข้ อยกเว้ น ใด ๆ เท่าที่จำเปนไว้ ด้วยก็ได้ บทบาทบัญญัติในวรรคหนึง่ มิให้ ใช้ บงั คับกบการขายของผู้
ผลิต ผู้นำเข้ า หรื อตัวแทนของผู้ผลิต หรื อผู้นำเข้ าไปยังผู้ขาย ซึง่ ได้ รับอนุญาตตามกฎหมายวาด้ วยสุรา 1. บุคคลซึง่ มีอายุต่ำ
กว่ายี่สิบปี บริ บรู ณ์ 2. บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้ มาตร 30 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์โดยวิธีการ
หรื อในลักษณะดังต่อไปนี ้ 1. ใช้ เครื่ องขายอัตโนมัติ 2. การเร่ขาย 14 3. การลดราคาเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริ มการขาย 4.
ให้ หรื อเสนอให้ สิทธิในการนำเข้ าชมการแข่งขัน การแสดง การให้ บริ การ การชิง โชค การชิงรางวัล หรื อสิทธิประโยชน์อื่นใด
เป็ นการตอบแทนแก่ผ้ ซู ื ้อเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ หรื อ แก่ผ้ นู าหีบห่อ หรื อสลากหรื อสิ่งอื่นใดเกี่ยวกบเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์มา
แลกเปลี่ยนหรื อแลกซื ้อ 5. โดยแจกแถม ให้ หรื อแลกเปลี่ยนกบเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ หรื อกับสินค้ า อื่น หรื อการให้ บริ การอย่าง
อื่นแล้ วแต่กรณี หรื อแจกจ่ายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในลักษณะเป็ นตัวอย่างของ เครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงการกาหนด
เงื่อนไขในการขายในลักษณะที่เป็ นการบังคับซื ้อเครื่ องดื่ม แอลกอฮอล์โดยทางตรงหรื อทางอ้ อม 6. โดยวิธีหรื อลักษณะอื่นใด
ตามที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด โดยคำแนะนำของ คณะกรรมการ มาตรา 31 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดบริ โภคเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ใน
สถานที่หรื อบริ เวณ ดังต่อไปนี ้ 1. วัด หรื อสถานที่สำหรับปฏิบตั ิพิธีกรรมทางศาสนา เว้ นแต่เป็ นส่วนหนึง่ ของ พิธีกรรมทาง
ศาสนา 2. สถานบริ การสาธารณสุขของรัฐ สถานพยาบาลตามกฎหมายวาด้ วยสถานพยาบาล และร้ านขายยาตามกฎหมาย
วาด้ วยยายกเว้ นบริ เวณที่จดั ไว้ เป็ นที่พกั ส่วนบุคคล 3. สถานราชการ ยกเว้ นบริ เวณที่จดั ไว้ เป็ นที่พกั ส่วนบุคคล หรื อสโมสร หรื อ
การจัด เลี ้ยงตามประเพณี 4. สถานศึกษาตามกฎหมายวาด้ วยการศึกษาแห่งชาติยกเว้ นบริ เวณที่จดั ไว้ เป็ นที่พกั ส่วนบุคคล
หรื อสโมสรหรื อการจัดเลี ้ยงตามประเพณี หรื อสถานศึกษาที่สอนการผสมเครื่ องดื่ม แอลกอฮอล์และได้ รับอนุญาตตาม
กฎหมายวาด้ วยการศึกษาแห่งชาติ 5. สถานีบริ การน้ ามันเชื ้อเพลิงตามกฎหมายวาด้ วยการควบคุมน้ำมันเชื ้อเพลิง หรื อ ร้ าน
ค้ าในบริ เวณสถานีบริ การน้ำมันเชื ้อเพลิง 6. สวนสาธารณะของทางราชการที่จดั ไว้ เพื่อการพักผ่อนของประชาชนโดยทัว่ ไป 7.
สถานที่อื่นที่รัฐมนตรี ประกาศ โดยคำแนะน าของคณะกรรมการ มาตรา 32 ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ด โฆษณาเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์หรื อ
แสดงชื่อ หรื อเครื่ องหมาย ของเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์อนั เป็ นการอวดอ้ างสรรพคุณหรื อชักจูงให้ ผ้ อู ื่นดื่มโดยตรง หรื อโดยอ้ อม
การโฆษณาหรื อประชาสัมพันธ์ใด ๆ โดยผู้ผลิตเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ทกุ ประเภทให้ กระท าได้ เฉพาะการให้ ข้อมูลข่าวสาร และ
ความรู้เชิงสร้ างสรรค์สงั คม โดยไม่มีการปรากฏภาพของ สินค้ า หรื อบรรจุภณ ั ฑ์ของเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ หรื อสัญลักษณ์ของผู้
ผลิตเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์นนั ้ เท่านัน้ ทังนี ้ ้ตามกาหนดในกฎกระทรวง 15 บทบัญญัติในวรรคหนึง่ และวรรคสอง มิให้ ใช้
บังคับการโฆษณาที่มีต้นกาเนิดออก ราชอาณาจักร 2. พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 เหตุผลในการประกาศใช้ พระ
ราชบัญญัติฉบับนี ้ คือเนื่องจากการคมนาคมและการ ขนส่งทางบกได้ เจริ ญก้ าวหน้ าขยายตัวไปทัว่ ประเทศ และเชื่อมโยงไปยัง
ประเทศใกล้ เคียง และ จำนวนยานพาหนะในท้ องถนนและทางหลวงได้ ทวีจนวนขึ ้นเป็ นลำดับ ประกอบกบประเทศไทย ได้ เข้ า
เป็ นภาคีในอนุสญ ั ญาว่าด้ วยการจราจรทางถนนและพิธีสารว่าด้ วยเครื่ องหมายและสัญญาณ ตามสมควรปรับปรุงกฎหมายวา
ด้ วยการจารจรทางบก ซึง่ ได้ ใช้ บงั คับมากกว่าสี่สิบปี ให้ เหมาะกับสภาพการจราจรและจำนวนยานพาหนะที่เพิ่มขึ ้น และเพื่อ
ความปลอดภัยแก่ชีวิต ร่ างกาย และ ทรัพย์สินของประชาชน จึงจำเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตินี ้ขึ ้น (ศูนย์วิจยั ปั ญหาสุรา,
2552) มาตร 43 ห้ ามมิให้ ผ้ ขู บ ั ขี่รถ ในขณะเมาสุราหรื อของเมาอยางอื่นมาตรา 43 ทวิ ห้ ามมิให้ ผ้ ขู บั ขี่เสพยาเสพติดให้ โทษ
ตามกฎหมายว่าด้ วยยาเสพติดให้ โทษ หรื อเสพวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาทตามกฎหมายวาด้ วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอ่ จิต
ประสาท ทังนั ้ น้ ตามที่อธิบดีก าหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้ เจ้ าพนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรื อ ผู้ตรวจการมีอ านาจจัด
ให้ มีการตรวจสอบ ผู้ขบั ขี่รถบางประเภทตามที่อธิบดีกาหนดโดย ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ว่าได้ เสพยาเสพติดให้ โทษ
หรื อเสพวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาทตาม วรรคหนึง่ หรื อไม่ และหากผลการตรวจสอบในเบื ้องต้ นปรากฏว่าผู้ขบั ขี่นนไม่ ั ้ ได้
เสพก็ให้ ผ้ ขู บั ขี่ นันขั
้ บรถต่อไปได้ ในกรณีที่ผ้ ขู บั ขี่ตามวรรคสองไม่ยอมให้ ตรวจสอบ ให้ เจ้ าพนักงานจราจร พนักงาน สอบสวน
พนักงานเจ้ าหน้ าที่ หรื อผู้ตรวจการมีอ านาจกบตัวผู้นนไว้ ั ้ เพื่อด าเนินการตรวจสอบได้ ภายในระยะเวลาเท่าที่จำเป็ นแห่งกรณี
เพื่อให้ การตรวจสอบเสร็จสิ ้นไปโดยเร็ว และเมื่อผู้นนั ้ ยอมรับการตรวจสอบแล้ ว หากผลการตรวจสอบในเบื ้องต้ นปรากฏวาไม่
ได้ เสพ ก็ให้ ปล่อยตัวไป ทันที การตรวจสอบตามมาตรานี ้ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่ก าหนดใน กฎกระทรวง
มาตรา 43 ตรี ในกรณีที่มีเหตุอนั ควรเชื่อว่าผู้ขบั ขี่ผ้ ใู ดฝ่ าฝื นมาตรา 43(1) หรื อ (2) ผู้ตรวจการมีอำนาจสัง่ ให้ ผ้ นู นหยุ
ั ้ ดการและ
สัง่ การให้ มีการทดสอบตามมาตรา 142 ด้ วย มาตรา 43 จัตวา ในกรณีที่ผ้ ตู รวจการพบว่า ผู้ขบั ขี่ผ้ ใู ดฝ่ าฝื นมาตรา 43(1) หรื อ
(2) ตามมาตรา 43 ทวิ วรรคหนึง่ ให้ ผ้ ต ู รวจการส่งตัวผู้นนพร้
ั ้ อมพยานหลักฐานในเบื ้องต้ นแก่พนักงาน สอบสวนผู้มีอ านาจโดย
เร็ว แต่ต้องไม่เกินหกชัว่ โมงนับแต่เวลาที่พบการกระจายท าความผิด ดังกล่าว เพื่อดำเนินคดีตอ่ ไป 16 3. พระราชบัญญัติ
จราจรทางบก (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ โดยที่ในปั จจุบนั การโดยสาร รถ
จักรยานยนต์เป็ นที่นิยมกนอย่างแพร่หลาย และจำนวนอุบตั ิเหตุอนั เนื่องมาจากรถจักรยานยนต์ ได้ เพิ่มมากขึ ้น ประกอบกบ
การเกิดอุบตั ิเหตุทางถนนอันเนื่องมาจากการขับขี่รถในขณะเมาสุราหรื อ เมาอยางอื่น หรื อเสพยาเสพติดให้ โทษ หรื อวัตถุที่ออก
ฤทธิ์ตอ่ จิตประสาทได้ เพิ่มสูงขึ ้นด้ วยสมควร กาหนดให้ คนโดยสารรถจักรยานยนต์ต้องสวมหมวกที่จดั ท าขึ ้น โดยเฉพาะเพื่อ
ป้องกนอันตรายและกาหนดให้ ความผิดของผู้ขบั ขี่ได้ ได้ ขบั รถในขณะเมาสุราหรื อของเมาอย่างอื่นเป็ นความผิดที่ไม่ อาจว่า
กล่าวตักเตือนหรื อท าการเปรี ยบเทียบได้ รวมทังปรั ้ บปรุงบทกาหนดโทษสหรับความผิด ฐานขับรถในขณะเมาสุราหรื อของเมา
อยางอื่น หรื อ เสพยาเสพติดให้ โทษหรื อวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอ่ จิต ประสาท ตลอดจนปรับปรุงประเภทของรถที่ใช้ บรรทุกคน สัตว์
หรื อสิ่งของให้ ครอบคลุมถึงการ บรรทุกของรถทุกประเภทด้ วย จึงจำเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตินี ้ (ศูนย์วิจยั ปั ญหาสุรา,
2552) มาตรา 9 ให้ ยกเลิกความในมาตรา 157 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ซึง่ แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระ
ราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2542 และให้ ใช้ ความ ต่อไปนี ้แทน มาตรา 157/1 ผู้ขบั ขี่ผ้ ใู ดฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิบตั ิ
ตามค าสัง่ ของเจ้ าพนักงานจราจร พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้ าหน้ าที่หรื อผู้ตรวจการที่ให้ มีการตรวจสอบผู้ขบั ขี่ตามมาตรา
43 ทวิ หรื อฝ่ าฝื น หรื อไม่ปฏิบต ั ิตามค าสัง่ ของผู้ตรวจการที่ให้ มีการทดสอบผู้ขบั ขี่ตามมาตรา 43 ตรี ต้ อง ระวางโทษ ปรับไม่
เกินหนึง่ พันบาท ผู้ขบั ขี่ใดฝ่ าฝื นมาตรา 43 ทวิ วรรคหนึง่ ต้ องระวางโทษสูงกว่าที่กาหนดไว้ ใน กฎหมายว่าด้ วยยาเสพติดให้
โทษหรื อกฎหมายว่าด้ วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอ่ จิตและประสาทอีกหนึง่ ในสาม และให้ ศาลสัง่ พักใช้ ใบอนุญาตขับขี่ของผู้นนั มี
กำหนดไม่น้อยกวาหกเดือนหรื อเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ มาตรา 11 ให้ เพิ่มความต่อไปนี ้เป็ นมาตรา 160 ตรี แห่งพระราช
บัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 160 ตรี ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 43(2) ต้ องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรื อปรับตังแต่ ้
ห้ าพันบาทถึงสองหมื่นบาทหรื อทังจ ้ าทังปรั
้ บ และศาลสัง่ พักใช้ ในอนุญาตขับขี่ของผู้นนมีั ้ กาหนด ไม่น้อยกวาหกเดือน หรื อเพิก
ถอนใบอนุญาตขับขี่ ถ้ าการกระท าความผิดตามวรรคหนึง่ เป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นได้ รับอันตรายแก่กาย หรื อจิตใจ ผู้กระท าต้ องระวาง
โทษจำคุกตังแต่ ้ หนึง่ ปี ถึงห้ าปี และปรับตังแต่
้ หกหมื่นบาทถึงสองแสนบาท และ ให้ ศาลสัง่ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ถ้ าการก
ระท าความผิดตามวรรคหนึง่ เป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นได้ รับอันตรายสาหัส ผู้กระท า ต้ องระวางโทษจ าคุกตังแต่ ้ สองปี ถึงหกปี และปรับ
ตังแต่
้ สี่หมื่นบารทถึงหนึง่ แสนบาท และให้ ศาล สัง่ พักใช้ ในอนุญาตขับขี่ของผู้นนั ้ มีกาหนดไม่น้อยกวาสองปี หรื อเพิกถอนใบ
อนุญาตขับขี่ 17 ถ้ าการกระทำความผิดตามวรรคหนึง่ เป็ นเหตุให้ ผ้ อู ื่นถึงแก่ความตาย ผู้กระทำ ต้ อง ระวางโทษจ าคุกตังแต่ ้
สามปี ถึงสิบปี และปรับตังแต่ ้ หกหมื่นบาทถึงสองแสนบาท และให้ ศาลสัง่ เพิกถอนใบอนุญาตขับขี่ ดังนันจึ ้ งสรุปได้ ว่า
มาตรการควบคุมการบริ โภคเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในประเทศไทย ท าให้ เห็นวารัฐบาลตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญ
ของปั ญหาที่มีสาเหตุมาจากการดื่มเครื่ องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ จึงได้ กาหนดมาตรการในการควบคุมและแก ไขปั ญหาต่าง ๆ
เหล่านี ้ ไม่วา่ จะเป็ น พระราชบัญญัติควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 และ
พระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 เพื่อใช้ ป้องกันปั ญหาที่จะเกิดขึ ้นกับ สุขภาพ ครอบครัว อุบตั ิเหตุ
อาชญากรรม ซึง่ ปั ญหาเหล่านี ้จะส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศ อีกทังยั ้ งเป็ นการส่งเสริ มให้ เกิดการ
มีสขุ ภาพที่ดีขึ ้นกบประชาชน และให้ ประชาชนตระหนักถึงพิษภัยของการดื่มเครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ตลอดจนช่วยป้องกน
เด็กและ เยาวชน ไม่ให้ เข้ าถึงเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ได้ โดยง่าย พระราชบัญญัติสรุ า พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2534 เหตุผล
ในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติสรุ า (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2534 ได้ ปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการจัด
เก็บภาษีสุ ราใหม่เพื่อให้ สอดคล้ องกับการจัดเก็บ ภาษีมลู ค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากร แต่เนื่องจากอัตราภาษีสรุ าตามบัญชี
อัตราภาษีสรุ า และ ค่าธรรมเนียมท้ ายพระราชบัญญัติสรุ า พ.ศ. 2493 ซึง่ แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนด แก้ ไข เพิ่มเติมพระ
ราชบัญญัติสรุ า พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2558 ยังไม่สอดคล้ องกบหลักเกณฑ์ในการ จัดเก็บภาษีสรุ าที่ได้ ปรับปรุงแล้ ว
สมควรแก้ ไขเพิม่ เติมอัตราภาษีสรุ าเสียใหม่ สำหรับสุราที่ใน ราชอาณาจักรและนำเข้ ามาในราชอาณาจักรให้ เป็ นอัตราเดียวกัน
จึงจำเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตินี ้ (ศูนย์วิจยั ปั ญหาสุรา, 2552) มาตรา 3 ให้ ยกเลิกความในช่องรายการและช่องอัตราของ
หมายเลข 1 หมายเลข 2 และ หมายเลข 3 ในบัญชีอตั ราภาษีสรุ าและค่าธรรมเนียมท้ าย พระราชบัญญัติสรุ า พ.ศ. 2493 ซึง่
แกไข้ เพิม่ เติมโดยพระราชกาหนดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติสรุ า พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2528 และ ให้ ใช้ ความต่อไป
นี ้แทนหมายเลข รายการ อัตรา 1. ภาษีสรุ า สำหรับสุราที่ทำในราชอาณาจักรและสุราที่นำเข้ ามา ในราชอาณาจักร (ก) สุราแช่
ตามมูลค่าร้ อยละ 60 หรื อ 100 บาทต่อปริ มาณหนึง่ ลิตร แห่งแอลกอฮอล์ บริ สทุ ธิ์ ซึง่ ชันสูตรด้ วยเครื่ องวัด ของกรมสรรพสามิต
หรื อ ที่กรมสรรพสามิตรับรอง (ข) สุรากลัน่ ตามมูลค่าร้ อยละ 50 หรื อ 400 บาท ต่อปริ มาณ หนึง่ ลิตร แห่ง แอลกอฮอล์
บริ สทุ ธิ์ ซึง่ ชันสูตรด้ วยเครื่ องวัด ของกรมสรรพสามิตหรื อ ที่กรมสรรพสามิตรับรอง 18 ดังนันจึ ้ งสรุปได้ ว่า พระราชบัญญัติสรุ า
พ.ศ. 2493 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2534 นันให้ ้ มีการ แกไข ปรับปรุงเกณฑ์การจัดเก็บภาษีสรุ าใหม่ เพื่อให้ สอดคล้ องกบการจัดเก็บ
ภาษีมลู ค่าเพิ่มตาม ประมวลรัษฎากร โดยสุราแช่ ตามมูลค่าร้ อยละ 60 หรื อ 100 บาทต่อปริ มาณหนึง่ ลิตรแห่ง แอลกอฮอล์
บริ สทุ ธิ์ ซึง่ ชันสูตรด้ วยเครื่ องวัดของกรมสรรพสามิต หรื อที่กรมสรรพสามิตรับรอง และ สุรากลันตามมูลค่าร้ อยละ 50 หรื อ 400
บาท ต่อปริ มาณหนึง่ ลิตร แห่งแอลกอฮอล์บริ สทุ ธิ์ ซึง่ ชันสูตรด้ วยเครื่ องวัดของกรมสรรพสามิต หรื อที่กรมสรรพสามิตรับรอง
แนวคิดเกี่ยวกับวัยรุ่น ความหมายของวัยรุ่น นารี จิตรรักษา (2549) กล่าววา วัยรุ ่ ่นเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงจากวัยเด็กไป
สูว่ ยั ผู้ใหญ่ ที่มีการเจริ ญเติบโตทางร่ างกายอยางรวดเร็ว และเปลี่ยนแปลงไปสูค่ วามสมบูรณ์ทางเพศที่พร้ อมใน การสืบพันธุ์
จึงเป็ นวัยหัวเลี ้ยวหัวต่อ (Turning Point) ที่สำคัญของชีวิตที่ต้องมีการปรับตัวอยางมาก พึง่ พิศจักปิ ง (2549) ให้ ความหมาย
ของวัยรุ่นไว้ คือ วัยรุ่นเป็ นวัยที่คนั กลางระหว่าง ความเป็ นเด็กกับความเป็ นผู้ใหญ่อนั เป็ นระยะที่มีการเจริ ญเติบโตไปสูว่ ฒ ุ ิ
ภาวะทังด้ ้ านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ศรี เรื อน แกวก้ งวาล (2549) กล่าวว่า วัยรุ่นเป็ นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วใน ทุก ๆ ด้ าน ทังทางด้ ้ านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาวัยรุ่นเป็ นช่วงเปลี่ยนวัย เป็ นหัวเลี ้ยว หัวต่อที่
เปลี่ยนจากความเป็ นเด็กไปสูค่ วามเป็ นผู้ใหญ่ มีความอ่อนไหว จึงท าให้ เกิดปั ญหาต่าง ๆ ได้ ง่าย สมพร สิ ทธิสงคราม (2549)
กล่าวว่า คำว่า “วัยรุ่น” ตรงกับค าในภาษาอังกฤษที่วา่ “Adolescent” เป็ นคำที่มาจากภาษาลาติน มีความหมายวา เจริ ญ
เติบโต ( To Grow) หรื อเจริ ญเติบโต ไปสูว่ ฒ ุ ภิ าวะ (to Grow to Maturity)ถือได้ วา่ เป็ นระยะวิกฤตของชีวิต เพราะเป็ นช่วง
เวลาแห่งการ เปลี่ยนแปลงจากวัยเด็กไปสูว่ ยั ผู้ใหญ่ ทังด้ ้ านร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรมต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลง เหล่านี ้จะมี
ผลต่อการก้ าวไป สูว่ ยั ผู้ใหญ่ในอนาคต องค์การอนามัยโลก (WHO, 2007) ได้ ให้ ความหมายค าวา วัยรุ่น เอาไว้ วา วัยรุ่นเป็ น
วัยที่ มีการเปลี่ยนแปลงทางร่ างกายในลักษณะที่พร้ อมจะมีเพศสัมพันธ์ได้ เป็ นช่วงที่มีการพัฒนา ทางด้ านจิตใจจากเด็กไปสู่
ความเป็ นผู้ใหญ่ มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาพที่ต้องพึง่ พาพ่อแม่และ ผู้ปกครองไปสูส่ ภาวะที่ต้องรับผิดชอบพึง่ พาตนเอง ดัง
นัน้ จึงสรุปได้ ว่า วัยรุ่น หมายถึง วัยที่อยู่ในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้ านจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีการเจริ ญ
เติบโตจากเด็กไปสูก่ ารเป็ นผู้ใหญ่ มีความอ่อนไหว เนื่องจากอยูในช่วงวัยหัวเลี ้ยวหัวต่อ เป็ นระยะวิกฤตของชีวิต มีความรับผิด
ชอบในการพึง่ พาตนเอง มากขึ ้น และมีความพร้ อมทางด้ านการสืบพันธุ์ 19 พัฒนาการของวัยรุ่นเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์
(2549) ได้ แบ่งวัยรุ่ นออกเป็ น 3 ระยะ คือ วัยรุ่ นตอนต้ น อายุ 11-14 ปี เป็ นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากาทังทาง ้
ร่างกาย ทางสรี รวิทยา และทางปั ญญา ต่อมาเป็ นวัยรุ่นตอนกลาง อายุ 14-15 ปี เป็ นระยะที่มีการปรับตัวให้ เข้ าความ
เปลี่ยนแปลงใหม่นี ้ และวัยรุ่นตอนปลาย อายุ 18-21 ปี เป็ นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงจากการเป็ นเด็กสูก่ ารเป็ นผู้ใหญ่
พัฒนาการของวัยรุ่นมีความสัมพันธ์และมีอิทธิพลซึง่ กนและกัน ในแต่ละพัฒนาการจะมี การเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ซึง่
พัฒนาการที่สำคัญของวัยรุ่น มีดงั นี ้ 1. พัฒนาการทางด้ านร่างกาย พัฒนาการทางกายจะเปนไปในแง่ของความงอกงาม
เจริ ญเติบโตถึงขีดสมบูรณ์ เพื่อทำหน้ าที่อยางเต็มที่ ความเจริ ญเติบโตมีทงส่ ั ้ วนภายนอกที่มองเห็น ได้ ง่าย เช่น ส่วนสูง น้ำหนัก
รูปร่าง ส่วนสัดของร่ างกาย และความเจริ ญส่วนภายใน เช่น โครง กระดูกแข็งแรงขึ ้น (ศรี เรื อน แกวก้ งวาล, 2549) ต่อมพิทอู ิ
ทารี (Pituitary Gland)และไฮโปธาลามิก (Hypothalamic Region) เจริ ญขึ ้น หลัง่ ฮอร์ โมนต่าง ๆ เพิ่มขึ ้น เช่น โกรทฮอร์
โมน (Growth Hormone)โกนาโดโทรปิ กฮอร์ โมน (Gonadotropic Hormone)อะดรี โนคอร์ ติโคโทรปิ กฮอร์ โมน
(Adrenocorticotrophic Hormone) ท าให้ กระตุ้นต่อมอวัยวะเพศให้ หลังฮอร์ โมน เป็ นผลให้ อวัยวะ เพศเติบโตและมีก าร
เปลี่ยนแปลงในรูปร่ าง เช่น เด็กหญิงเต้ านมเริ่ มขยายโตขึ ้น มีขนรักแร้ มีขนที่ อวัยวะเพศ และมีประจำเดือน ในเด็กชายจะมี
อวัยวะเพศขยายใหญ่ขึ ้น มีการฝั นเปี ยก (Seminal Emission) มีขนที่รักแร้ และอวัยวะเพศ เสียงจะใหญ่ ห้ าวขึ ้น มีหนวดและ
ขนตามตัว (วินดั ดา ปิ ยะ ศิลป์ และพนม เกตุมาน, 2545) การที่เด็กมีการเปลี่ยนแปลงของร่ างกายอยางมาก ทำให้ เด็กบางคน
วิตกกังวลกับรู ปลักษณ์ของตน นอกจากนี ้แล้ วการที่เด็กเติบโตเข้ าวัยรุ่นเร็วหรื อช้ านัน้ จะมี ผลกระทบต่อจิตใจ ในเด็กหญิงที่
เติบโตเป็ นสาวเร็ว จะรู้สกึ อาย กังวล และอึดอัด ประหม่าต่อการ ถูกล้ อเลียน หรื อต่อสายตาผู้ชาย เพราะสภาพจิตใจยังเป็ น
เด็ก ยังไม่พร้ อมรับสภาพความเป็ นสาว เด็กหญิงจึงมักขี ้อาย สมยอม มักเป็ นผู้ตาม ไม่เหมือนเด็กหญิงที่เติบโตช้ ากวาที่มีเวลา
ในการเตรี ยมตัว เตรี ยมใจปรับเข้ าสูว่ ยั รุ่น สำหรับเด็กชายที่เติบโตเข้ าสูว่ ยั รุ่นเร็ว จะมีความสามารถในการกีฬา พึง่ ตนเอง เป็ น
ผู้นำได้ ดีกวากลุม่ เพื่อนชายที่โตช้ ากวาในกลุม่ ที่เข้ าวัยรุ่นล้ าหลังผู้อื่นจะล้ อเลียน กลัน่ แกล้ ง มีความภูมิใจต่ำ (ดวงใจ กสานติ
กุล อ้ างใน วินดั ดา ปิ ยะศิลป์ และพนม เกตุมาน, 2545) การ เปลี่ยนแปลงเหล่านี ้อาจส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็กวัยรุ่นได้ ดัง
นันผู
้ ้ ใหญ่จงึ ควรมีความเข้ าใจ และ รับรู้ถึงความหมายของการเปลี่ยนแปลงของเด็กวัยรุ่น เพื่อจะได้ ให้ คำแนะนำที่เหมาะสมกบ
เด็กวัยรุ่น ซึง่ จะทำให้ เด็กวัยรุ่นเข้ าใจและยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกบตนเองได้ 2. พัฒนาการทางด้ านจิตใจ เด็กวัยรุ่น
จะหันมาสนใจรูปร่ างหน้ าของตนเองมากขึ ้น มีความกังวลกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย กลัวว่าจะแตกต่างไปจากคนอื่น
เด็กวัยนี่จะไวต่อ ค าวิจารณ์ ต่อสายตา ท่าทางของผู้อื่น กลัวการถูกตำหนิ การค่อนขอด เปรี ยบเทียบ ไม่ชอบให้ ใคร 20 มาพูด
ถึงเด็กจึงจำเป็ นต้ องท าตามเพื่อน และปฏิบตั ิคล้ าย ๆ หมู่เพื่อน วัยนี ้เป็ นระยะที่ต้องการเป็ นตัว ของตัวเอง และแยกเป็ นอิสระ
พึง่ ตนเอง (Secondary Separation Individuation)ไม่ชอบให้ ผ้ ใู หญ่มา จัดหาหรื อออกค าสัง่ ควบคุม เด็กจะวางตัวห่างจาก
พ่อแม่ ไม่คอ่ ยอยากไปไหนมาไหนด้ วย มักจะแยกตัวอยู่ตามลำพัง เริ่ มวิพากษ์วิจารณ์ มีความคิดเห็นไม่ตรงกบพ่อแม่ จึงเป็ น
สาเหตุให้ เกิดความ ขัดแย้ งกันได้ บอ่ ย ๆ เด็กจะหันเข้ าหาเพื่อนมากขึ ้น สนใจรับฟั งคนนอกครอบครัว นับถือความคิด ของครู
และญาติผ้ ใู หญ่ ตลอดจนเริ่ มสนใจบุคคลที่มีชื่อเสียงในสังคม (วินดั ดา ปิ ยะศิลป์ และพนม เกตุมาน, 2545) ดังนันในวั ้ ยนี ้จึงมี
แนวโน้ มในการที่จะเลียนที่จะเลียนแบบพฤติกรรมของบุคคลอื่น ไม่วาจะเป็ นเพื่อนหรื อบุคคลที่มีชื่อเสียงที่มีความน่าสนใจ
และจากการที่เด็กวัยรุ่นจะเริ่ มมีความคิด อ่านที่ลกึ ซึ ้งมากขึ ้น เริ่ มแยกแยะความดี ความชัว่ ข้ อดี ข้ อเสียของบุคคล และเรื่ อง
ราวต่าง ๆ ได้ ดี มีมโนธรรมที่ถกู ต้ อง (พนม เกตุมาน, 2542) จะช่วยท าให้ เด็กวัยรุ่นสามารถตัดสินใจในการที่จะ เลือกหรื อไม่
เลือกท าพฤติกรรมตามแบบพฤติกรรมของบุคคลอื่นได้ 3. พัฒนาการทางด้ านอารมณ์ การเปลี่ยนแปลงและการเจริ ญเติบโต
ทางร่ างกายทังภายใน
้ และภายนอก จะมีผลต่ออารมณ์ของเด็กวัยรุ่น ซึง่ อารมณ์ที่เกิดกบเด็กวัยรุ่นนันจะมี ้ ทกุ ประเภท เช่น รัก
ชอบ โกรธ เกลียด อิจฉา ริ ษยา อ่อนไหว สับสน หงุดหงิด ฯลฯ ไม่วาจะเป็ นอารมณ์ประเภทใด การแสดงออกของอารมณ์มกั มี
ความรุนแรง เปลี่ยนแปลงง่าย สับสน อ่อนไหว มีความเข้ มข้ นทาง อารมณ์สงู จึงเรี ยกลักษณะอารมณ์ของเด็กวัยรุ่นวา เป็ น
แบบพายุบแุ คม ( Storm and Stress) ซึง่ การ ควบคุมอารมณ์ของเด็กในวัยนี ้จะยังไม่ดีนกั (Hurlock, 1973 อ้ างใน ศรี เรื อน
แก้ วกงวาล, 2549) การแสดงความรู้สกึ จะเป็ นแบบเปิ ดเผย ตรงไปตรงมา ไม่สามารถเก็บความรู้สกึ ได้ ซึง่ นอกจากจะมี
สาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงของร่ างกายและฮอร์ โมนเพศแล้ ว ยังเกิดจากความวิตกกังวลต่อการ จะต้ องเติบโตเป็ นผู้ใหญ่
บางครัง้ ก็ไม่อยากเป็ นผู้ใหญ่ ท าให้ เป็ นสาเหตุของความไม่สงบทาง อารมณ์ (พรพิมล ไวทยางกูร, 2548) บุคคลต่าง ๆ จึงต้ อง
ใช้ ความอดทนอยางมาก เพื่อจะเข้ าใจ และ สร้ างสัมพันธภาพกบพวกเขา ซึง่ อาจท าให้ เกิดช่องวางระหว่างวัย (Generation
Gap) ของวัยรุ่ น จะ เป็ นวัยที่เข้ ากบบุคคลต่างวัยได้ ยาก เด็กวัยรุ่ นจึงเกาะกลุม่ กนได้ ดีมากเป็ นพิเศษกว่าวัยอื่น ๆ เพราะ เข้ าใจ
และยอมรับกนและกันได้ ง่าย (ศรี เรื อน แกวก้ งวาล, 2549) 4. พัฒนาการทางด้ านสังคม วัยนี ้จะเป็ นช่วงวัยแห่งการแสวงหา
เอกลักษณ์ของตนเอง (Identity)โดยจะพยายามค้ นหาความสามารถและความต้ องการที่แท้ จริ งของตนเอง (Erikson, 1968
อ้ างใน นิศากร โพธิมาศ, 2550) ต้ องการอิสรเสรี ภาพ อยากแสดงออกซึง่ ความเป็ นตัวของตัวเอง (สุพตั รา สุภาพ, 2540;
Cobb, 2001 อ้ างใน นิศากร โพธิมาศ, 2550) จะคิดและตัดสินใจด้ วยตนเอง มีความต้ องการพึง่ พิงครอบครัวน้ อยลง
(Huebner, 2000 อ้ างใน นิศากร โพธิมาศ, 2550) จะเริ่ มห่าง จากบิดามารดาและหันมาคบเพื่อน และไว้ วางใจเพื่อน (สมภพ
เรื องตระกูล, 2546) จะพยายามทำพฤติกรรมตามแบบเพื่อน เพื่อให้ เพื่อนยอมรับ แม้ บางครัง้ จะขัดกบความรู้สกึ ของตนเอง
ก็ตาม 21 (สุพตั รา สุภาพ, 2540) นอกจากนี ้การเปลี่ยนแปลงทางด้ านร่างกายอยางรวดเร็ว จะเป็ นแรงกระตุ้น ให้ เด็กต้ องการ
รวมกลุม่ เพราะสามารถร่วมสุขร่วมทุกข์ แกไขและเข้ าใจปั ญหาของก้ นและกันดีกว่า บุคคลต่างวัย (ศรี เรื อน แก้ วกงวาล,
2549) การมีเพื่อนจะส่งเสริ มให้ เด็กวัยรุ่ นมีความรู้ สกึ มันใจ เข้ มแข็ง มีพลังอ านาจ มีพวก การยอมรับของเพื่อน และคลุกคลี
ในหมู่เพื่อนจึงเสริ มความภาคภูมิใจ และเอกลักษณ์หรื อภาพพจน์ตอ่ ตนเองที่ดี วัยรุ่นจึงเลือกคบเพื่อนที่มีลกั ษณะคล้ ายกบ
ตนเอง มีอะไรทำด้ วยกันได้ วัยนี ้จึงมีเพื่อนสนิทที่สามารถปรึกษา และเลียนแบบพฤติกรรมซึง่ กันและกัน (Steinberg, 1999
อ้ างใน วินดั ดา ปิ ยะศิลป์ และพนม เกตุมาน, 2545) 5. พัฒนาทางด้ านสติปัญญา ในระยะวัยรุ่นเด็กมีการเจริ ญเติบโตทาง
สมองอย่างเต็มที่ จึงสามารถคิดได้ ในทุก ๆ แบบ มีความสามารถในการคิดวาอะไรคือความเป็ นไปได้ อะไรคือความ เป็ นจริ ง มี
กระบวนการในการคิด มีมมุ มองหลากหลาย และมีความสามารถในการคิดเชื่อมโยงได้ (Steinberg, 1999 อ้ างใน นิศากร
โพธิมาศ, 2550) เด็กวัยรุ่นจะมีความคิดเปลี่ยนจากรู ปธรรมเป็ น นามธรรมอย่างค่อยเป็ นค่อยไป สามารถคิดในเชิงทฤษฎี และ
เป็ นเหตุเป็ นผล สามารถวิจารณ์ เปรี ยบเทียบ รู้จกั คิดแก้ ปัญหาเองได้ (วินดั ดา ปิ ยะศิลป์ และพนม เกตุมาน, 2545 ้ ;
Huebner, 2000; Pierno, n.d.อ้ างใน นิศากร โพธิมาศ, 2550) นอกจากนี ้เด็กวัยรุ่ นจะมีความสามารถในการเข้ าใจ
สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ท าให้ เกิดความคิดรวบยอด มีความคิดกว้ างไกล มีความ สนใจอยากรู้อยากเห็นสิ่ง ใหม่ ๆ ชอบการ
เปลี่ยนแปลงและแสวงหาความแปลกใหม่ วัยรุ่นจึงเป็ นวัยที่ คิดค้ นหาเอกลักษณ์ ของตนเอง มีความเชื่อมันในสิ่งต่าง ๆ อยาง
รุนแรง (พรพิมล เจียมนาคริ นทร์ , 2539) นอกจากนี ้เด็ก วัยรุ่นจะมีความเชื่อมันว่า เหตุการณ์ที่ไม่ดีจะไม่สามารถเกิดขึ ้นกบ
ตนเองได้ ซึง่ ความ เชื่อมันนี ้จะมี ความเชื่อมันว่า เหตุการณ์ที่ไม่ดีจะไม่สามารถเกิดขึ ้นกบตนเองได้ ซึง่ ความเชื่อมันนี ้จะเป็ น
สาเหตุ น าไปสูก่ ารเกิดพฤติกรรมแบบเสี่ยง (Huebner, 2000 อ้ างใน นิศากร โพธิมาศ, 2550) จากข้ างต้ นจึงสรุปได้ ว่า
พัฒนาการวัยรุ่น เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางด้ านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ที่น าไปสูก่ ารเป็ นผู้ใหญ่ มีการ
เจริ ญเติบโตถึงขีดสมบูรณ์ การท างาน ของอวัยวะส่วนต่าง ๆ ของร่ างกายท างานได้ อยางเต็มที่ วัยรุ่นจะมีความคิดเป็ นของตัว
เอง ไม่ชอบ การควบคุม รักสันโดษ มีพฤติกรรมชอบเลียนแบบบุคคลที่ตวั เองให้ ความสนใจ เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางด้ าน
อารมณ์ที่มาจากเจริ ญเติบโตทางร่ างกายและฮอร์ โมนทางเพศ ซึง่ ทำให้ มี อารมณ์แปรปรวน มีลกั ษณะอารมณ์ที่เรี ยกว่า เป็ น
แบบพายุบแุ คม เข้ ากบบุคคลอื่นที่ต่างวัยได้ ยาก ชอบรวมกลุม่ กบคนในวัยเดียวกัน แยกตัวออกจากครอบครัวหันไปให้ ความ
สำคัญกับเพื่อนมากประพฤติตวั ตามแบบเพื่อน ท าตัวเองให้ เพื่อนยอมรับ มีการเลียนแบบพฤติกรรมซึง่ กันและกันในกลุม่
เพื่อนถือวามีอิทธิพลมากต่อวัยนี ้ มักให้ ความสนใจในสิ่งใหม่ ๆ มีความอยากรู้ อยากเห็นกับสิ่งที่เกิดขึ ้นรอบตัว สร้ างความโดด
เด่นที่มีลกั ษณะเฉพาะตัว มีความเชื่อมันในตัวเองสูง จนอาจทำให้ เกิดการมีพฤติกรรมเสี่ยงและเป็ นอันตรายกบตัว
เอง(https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2557/hp50457krp_ch2.pdf)
บทที่ 3

คนที่หงุดหงิดง่ายเมื่อเจอคนที่ใจเย็นหรื อเชื่องช้ ากว่าตน แต่ถ้าเจอคนที่ใจร้ อนแล้ วเร็วกว่าตนจะรู้สกึ แย่ คนใจร้ อนมัก


หงุดหงิดเวลาเจอคนที่ใจเย็น หรื อเชื่องช้ ากว่าตน แต่ลองได้ เจอคนที่ใจร้ อนและเร็วกว่าตน ก็จะรู้วา่ มันแย่กว่ามาก เวลาเราคาด
คันเร่
้ งรัดใคร เราไม่ร้ ูดอกว่าเราสร้ างความทุกข์แก่เขาแค่ไหน ต่อเมื่อถูกคนอื่นคาดคันเอากั
้ บเราบ้ าง จึงจะรู้ซึ ้งแก่ใจว่าคน
ใจร้ อนนันน่
้ ารำคาญ  คนใจร้ อนมักหงุดหงิดเวลาเจอคนที่ใจเย็น หรื อเชื่องช้ ากว่าตน แต่ลองได้ เจอคนที่ใจร้ อนและเร็วกว่าตน ก็
จะรู้วา่ มันแย่กว่ามาก เวลาเราคาดคันเร่ ้ งรัดใคร เราไม่ร้ ูดอกว่าเราสร้ างความทุกข์แก่เขาแค่ไหน ต่อเมื่อถูกคนอื่นคาดคันเอากั ้ บ
เราบ้ าง จึงจะรู้ซึ ้งแก่ใจว่าคนใจร้ อนนันน่
้ ารำคาญเพียงใดทุกวันนี ้ใครต่อใครดูเร่งรี บกันไปหมด เพราะเราพากันเชิดชูบชู า
ความเร็ว จะทำอะไรต้ องให้ เสร็จไว ๆ ถ้ าจะเปิ ดปุ๊ บก็ต้องติดปั๊ บ ถ้ าจะกินกาแฟก็ต้องเป็ นอินแสตนต์คอฟฟี่ ส่วนก๋วยเตี๋ยวก็ต้อง
เป็ นมาม่าไวไวถึงจะถูกใจ แม้ กระทัง่ เวลาทำสมาธิ ก็อยากบรรลุในวันนี ้วันพรุ่ง  เราต่างถูกสอนว่าเวลานันเป็ ้ นเงินเป็ นทอง ดัง
นันจึ้ งพยายามใช้ เวลาอย่างประหยัดที่สดุ ทุกอย่างต้ องให้ เสร็จในเวลาน้ อยที่สดุ จะได้ มีเวลาไปทำอย่างอื่น แต่นา่ แปลกที่วา่ ยิ่ง
รี บเท่าไร ยิ่งประหยัดเวลามากเท่าไร เวลาว่างกลับเหลือน้ อยลง วันแล้ ววันเล่า ชีวิตก็ยงั ยุ่งเหยิงตังแต่
้ เช้ ามืดจรดดึกดื่นเป็ น
เพราะคอยไม่เป็ น เราจึงเย็นไม่ได้ เสียที นัน่ ยังไม่เท่าไรหากว่าคนอื่น ๆ ใจเย็นกว่าเรา แต่ถ้าคนรอบตัวล้ วนใจร้ อนพอ ๆ กัน โลก
นี ้ก็คือนรกดี ๆ นี่เอง ลองช้ าลงสักนิด เย็นลงสักหน่อย เราจะมีความสุขกว่านี ้มาก อย่างน้ อยตัวเราก็จะเป็ นผู้เป็ นคนมากขึ ้น ไม่
เหมือนกับผู้จดั การในเรื่ องข้ างล่า(คนใจร้ อน (srisangworn.go.th))
บทที่ 4

จากการทดลองปั ญหานี ้เกิดจากจิตใต้ สำนึกของคนทำให้ คนๆนันรู ้ ้ สกึ หงุดหงิดจนทำให้ ร้ ูสกึ หัวร้ อนสาเหตุสว่ นใหญ่ที่พบจะมา
จากเกมพวกเกมยิงปื น ตีป้อม ต่อสู้ เป็ นต้ น แต่บางประเภทเกิดจากอารมณ์ความรู้สกึ นึกคิด และการกระทำ เช่น เพื่อนเล่น
เกมแพ้ แต่คนไปยุ่ง ยัว่ โมโห ทำให้ เกิด อารมณ์และกระทำโดยไม่ร้ ูวา่ ทำอะไร เช่น เพื่อนคนนันโดนต่
้ อย เตะ จนทำให้ เข้ าโรง
พยาบาลเป็ นต้ น ปั ญหาพวกนี ้เจอได้ บ่อยและเป็ นปั ญหาร้ ายแรงด้ วย จึงอยากให้ ช่วยกันให้ ใช้ สติให้ การคิด นึก ทำ โดยที่สมอง
จะสัง่ การในขณะเวลาอันสันๆ ้

บทที่ 5
สรุปว่า ปั ญหาขอคนใจร้ อน จะเกิดจากเวลาสันๆที ้ ่ทำให้ จิตสำนึกกระทำต่อสิ่งนัน้ และต้ นเหตุคือสิ่งที่คนนันรู
้ ้ สกึ ไม่ดี
หรื อโกรธนันเอง
้ และสามารถช่วยกันได้ โดยการตังสติ ้ และคำนึงถึงปั ญหาที่จะเกิดต่อจากการที่เรากระทำสิ่งนันเสร็ ้ จ และคน
อารมณ์ร้อนก็มีข้อดี ข้ อเสีย ต่างกันด้ วย เช่น ข้ อดีคือ ตัดสินใจได้ เฉียบคม ทันใจ ข้ อเสือคือ ตัดสินใจอะไรพลาดได้ ง่ายและส่วน
ใหญ่เกิดจากการเล่นเกม ไม่เข้ าสังคม หรื อติดยา บุหรี่ เป็ นต้ น
นิสยั ไม่ดีทกุ อย่างที่ยงั คงอยู่กบั เรา เป็ นเพราะมีข้อดีบางอย่างอยู่ ตัวอย่าง เช่น
การแสดงอารมณ์โกรธ หรื อโมโห ทำให้ ร้ ูสกึ ว่ามีอำนาจ
การโวยวาย หรื อพูดเสียงดัง ทำให้ มีคนฟั ง และยอมทำตาม
การไม่รักษาเวลา ทำให้ ร้ ูสกึ ผ่อนคลาย ไม่เครี ยดมาก
การเป็ นคนขี ้งอน อาจทำให้ ได้ รับความสนใจ และมีคนเอาใจใส่มากขึ ้น เป็ นต้ น
จิตใต้ สำนึก จึงยังเก็บนิสยั เหล่านี ้ไว้ ไม่ยอมให้ จากไป

บรรณานุกรม

You might also like