You are on page 1of 32

1

โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวน
จากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยที่ผลรวมได้ kn
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จัดทำโดย
1. นายกนธี เนติวงศานนท์ เลขที่ 1
2. นายนฤสรณ์ ปราบพล เลขที่ 12
3. เด็กชายอินทเศรษฐ์ อุปทินเกตุ เลขที่ 21
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1

รายวิชา ว20285 การสร้างผลงานคอมพิวเตอร์ 2 ปีการศึกษา 2563

โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อ.เมือง จ.ภูเก็ต


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14
2

โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวน
จากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยที่ผลรวมได้ kn
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

จัดทำโดย
1. นายกนธี เนติวงศานนท์ เลขที่ 1
2. นายนฤสรณ์ ปราบพล เลขที่ 12
3. เด็กชายอินทเศรษฐ์ อุปทินเกตุ เลขที่ 21
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1

รายวิชา ว20285 การสร้างผลงานคอมพิวเตอร์ 2 ปีการศึกษา 2563


โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย อ.เมือง จ.ภูเก็ต
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14
3

ครูที่ปรึกษา
ว่าที่ รต.ชนะภัย ชลธาร

กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาโครงงานคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง การหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็ม
บวก k จำนวนจากเซต {1, 2, 3,..., kn - 1, kn} โดยที ่ ผ ลรวมได้ kn ฉบั บ นี ้ ส ำเร็ จ ลุ ล ่ ว งโดยได้ ร ั บ ความ
อนุเคราะห์อย่างดีจาก คุณครู ณัฐวุฒิ ดุมลักษณ์ และคุณครู ภูเบศ พนานุรักษ์ ได้กรุณารับเป็นที่ปรึกษาให้
คำแนะนำ แนวคิด วิธีการ และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จึงทำให้โครงงานชิ้นนี้เสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยดี คณะผู้จัดทำจึง
ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้
ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารโรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัยทุกท่าน คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ให้
การสนับสนุนการดำเนินการศึกษาโครงงานฉบับนี้จนสำเร็จด้วยดี
ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ตลอดจนครูอาจารย์ทุกท่าน ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก้คณะผู้จัดทำ
และเป็นผู้อยู่เบื้องหลังในความสำเร็จที่ได้ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและให้กำลังใจตลอดมา

คณะผูจ้ ัดทำ

ชื่อเรื่อง การหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวนจากเซต


{1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยทีผ
่ ลรวมได้ kn
คณะผู้จัดทำ 1. นายกนธี เนติวงศานนท์
2. เด็กชายนฤสรณ์ ปราบพล

3. เด็กชายอินทเศรษฐ์ อุปทินเกตุ
ครูที่ปรึกษา นายภูเบศ พนานุรักษ์
สถานทีศ่ ึกษา โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
โทรศัพท์ 0866862760
โทรสาร 0866862760
E-mail popkik69@hotmail.com
ปีการศึกษา 2563

บทคัดย่อ
การหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยที่ผลรวมได้ kn
ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับปัญหาอื่น ๆ โดยที่ผลคูณดังกล่าวคือ N = n สำหรับ n , k เป็นจำนวนเต็มบวก
k
k

โดยใช้อสมการ A.M-G.M มาช่วยพร้อมทั้งการจัดรูปทางพีชคณิตและเมื่อเพิ่มเงื่อนไขว่า k จำนวนที่เลือกมา


แตกต่างกันจะได้รูปแบบผลคูณดังนี้
k
k
Õ (n - 2
+ l)
Mk = l= 0
เมื่อ k Î {2}
n
êk ú
2 êê úú
ë2 û êk ú
และ Mk = Õ (n - ê ú+ l)
ê2 ú
เมื่อ k Î {1, 3}
l= 0 ë û
ทั้งนี้สามารถหา M เมื่อ k เป็นจำนวนเต็มได้โดยกำหนด f(x) ฟังก์ชันของผลคูณที่คาดว่าเป็น M กับ
k k

g(x) ฟังก์ชันใดๆที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ได้กำหนดโดยจะพิสูจน์ว่าความชันของ f(x) มากกว่า g(x) ด้วยการหา


อนุพันธ์แล้วใช้อสมการบางประการมาช่วยและพิสูจน์ว่าค่าเริ่มต้นของ f(x) มากกว่า g(x) สุดท้ายต้องสามารถ
บอกได้ว่าทั้ง f(x) และ g(x) เป็นฟังก์ชันเพิ่มจึงเพียงพอที่จะสรุปได้ว่า f(x) > g(x)
ได้ตรวจสอบความถูกต้องของค่าที่มานั้นโดยใช้โปรแกรม DEV-C++ จากการตรวจสอบพบว่าค่า M กับ k

การใช้โปรแกรมตรวจสอบได้คำตอบซึ่งมีค่าเท่ากันเสมอ

สารบัญ
เรื่อง หน้าที่
กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อ ข

สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ที่มาและความสำคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2
2.1 ระบบสมการเชิงเส้น 2
2.2 สมบัติของจำนวนนับ 2
2.3 อสมการ 3
2.4 แคลคูลส ั 3
2.5 ฟังก์ชัน 4
บทที่ 3 วิธีการดำเนินโครงงาน 5
3.1 วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ดำเนินการศึกษาโครงงาน 5
3.2 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน 5
3.3 ระยะเวลาการดำเนินการ 5
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 6
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 16
5.1 สรุปผลการดำเนินงานโครงงาน 16
5.2 อภิปรายผลการดำเนินการ 16
5.3 ข้อเสนอแนะ 16
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก 18
1

บทที่ 1
บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
มีแรงบัลดาลใจมาจาก Suppose 3 numbers are chosen from {1, 2, 3, ..., 3n - 1, 3n} with their sum
equal to 3n what is the largest possible product of those 3 numbers ซึ่งมีผลเฉลยก็คือ (n - 1)(n)(n + 1)
ถ้าพิจารณาอยู่ในรูป {1, 2, 3, ..., 2n - 1, 2n} , {1, 2, 3,2,...,
, {1, 3n 4n
3, ..., - 1,- 3n}
1, 4n} , ... ,
{1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} เมื่อสมาชิกในเซตนั้นเป็นจำนวนเต็มบวกและ k, n Î ¥ ถ้าเลือกสมาชิกมา k จำนวนซึ่ง
ผลรวมของ k จำนวนนั้นคือ kn เราจะหาผลคูณ k จำนวนที่มากที่สุด แล้วเพิ่มเงื่อนไขให้ k จำนวนที่เลือกมาแตกต่าง
กัน

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
เพื่อหา N ในรูป k, n สำหรับ k, n เป็นจำนวนเต็มบวก เมื่อ N คือ ผลคูณที่มากที่สุดของจำนวน k จำนวนที่
k k

เลือกมาจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn}โดยที่ผลรวมได้ kn และเพื่อหา M k ในรูป k, n โดยที่ k Î {1, 2, 3}เมื่อ


M คือ ผลคูณทีม
k
่ ากที่สุดของจำนวน k จำนวนที่แตกต่างกันที่เลือกมาจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1,โดยที
kn} ่ผลรวมได้
kn
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
การหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยที่ผลรวมได้ kn
สามารถใช้ได้กับขอบเขตของ k , n เป็นจำนวนเต็มบวกเท่านั้น

1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้สูตรสำเร็จในการหาค่าของผลคูณมากทีส่ ุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn}
โดยที่ผลรวมได้ kn ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาให้มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น หรือการนำไป
ปรับใช้เป็นสูตรอื่น ๆ ได้อีก รวมถึงการนำไปต่อยอดในการทำโครงงานในระดับต่อ ๆ ไปได้อีกด้วย

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
- M คือ ผลคูณทีม่ ากที่สุดของจำนวน k จำนวนที่แตกต่างกันที่เลือกมาจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดย
k

ที่ผลรวมได้ kn
- N คือ ผลคูณทีม่ ากที่สุดของจำนวน k จำนวนที่เลือกมาจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn}โดยที่ผลรวมได้ kn
k

- กำหนดให้ S =i å l l K l สำหรับ i, k Î ¥ และ i £ k


x1 x 2 xi
1£ x 1 < x 2 < K < x i £ k
2

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาโครงงานเรื่องการหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn}
โดยที่ผลรวมได้ kn ผู้จัดทำได้รวบรวมแนวคิดต่าง ๆ จากเอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

2.1 ระบบสมการเชิงเส้น
ในวิชาคณิตศาสตร์ ระบบสมการเชิงเส้นเป็นหมู่สมการเชิงเส้นที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรชุดเดียวกัน ตัวอย่างเช่น
3x + 2y - z = 1
2x - 2y + 4z = - 2
y
- x+ - z= 0
2
เป็นระบบสามสมการที่มสี ามตัวแปร x , y , z ผลเฉลยของระบบสมการเชิงเส้นเป็นการแทนค่าจำนวนในตัวแปรซึ่งทำ
ให้สมการทั้งหมดสอดคล้องกันพร้อมกัน ผลเฉลยของระบบสมการเชิงเส้นข้างต้น คือ
x= 1
y= - 2
z= - 2
เพราะทำให้ทั้งสามสมการสมเหตุสมผล คำว่า "ระบบ" เป็นการชี้ว่าต้องพิจารณาสมการทั้งหมดร่วมกัน ไม่ใช่แยกกัน
ในวิชาคณิตศาสตร์ ทฤษฎีระบบสมการเชิงเส้นเป็นพื้นฐานและส่วนหลักมูลของพีชคณิตเชิงเส้น หัวข้อซึ่งใช้ใน
คณิตศาสตร์สมัยใหม่ส่วนมาก ขั้นตอนวิธีการคำนวณสำหรับการหาผลเฉลยเป็นส่วนสำคัญของพีชคณิตเชิงเส้น ระบบ
สมการไม่เชิงเส้นมักประมาณโดยใช้ระบบสมการเชิงเส้นได้ ซึ่งเป็นเทคนิคที่ช่วยได้มากเมื่อสร้างแบบจำลองทาง
คณิตศาสตร์หรือการจำลองระบบที่ค่อนข้างซับซ้อนทางคอมพิวเตอร์ บ่อยครั้ง สัมประสิทธิ์ของสมการเป็นจำนวนจริง
หรือจำนวนเชิงซ้อน และผลเฉลยหาได้โดยชุดจำนวนเดียวกัน แต่ทฤษฎีและขั้นตอนวิธีนี้ใช้ได้กับสัมประสิทธิ์และผล
เฉลยในทุกสาขา

2.2 สมบัติของจำนวนนับ
จำนวนคู่ คือ จำนวนนับที่สามารถหารด้วย 2 ได้ลงตัวซึ่งสามารถเขียนแทนจำนวนคู่เป็น 2n เมื่อ n เป็นจำนวน
เต็มใด ๆ
จำนวนคี่ คือ จำนวนนับที่ไม่ใช่จำนวนคู่ หรือ จำนวนนับที่ไม่สามารถหารด้วย 2 ได้ลงตัวซึ่งสามารถเขียนแทน
จำนวนคี่ได้เป็น 2n + 1 เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มใด ๆ
การหารลงตัว ตัวอย่างเช่น
การหารด้วย 2 ลงตัวจำนวนนับที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 0, 2, 4 หรือ 8 จะหารด้วย 2 ลงตัว
การหารด้วย 5 ลงตัวจำนวนนับที่มีหลักหน่วยเป็น 0 หรือ 5 จะหารด้วย 5 ลงตัว
การแยกตัวประกอบ คือ การคูณของตัวประกอบเฉพาะวิธีในการแยกตัวประกอบมี 2 วิธี คือ
1. วิธีการตั้งหารสั้น
3

2. วิธีแยกตัวประกอบทีละ 2 ตัว
2.3อสมการ
อสมการ เป็นประโยคที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของจำนวนโดยมีสัญลักษณ์ £ , ³ , < , > , หรือ ¹ แสดง
ความสัมพันธ์ ในแต่ละอสมการอาจมีตัวแปรหรือไม่มีตัวแปรก็ได้ ถ้าอสมการมีตัวแปร ตัวแปรนั้นจะแทนจำนวน ใน
กรณีที่ไม่ระบุเงื่อนไขของตัวแปร ให้ถือว่าตัวแปรนั้นแทนจำนวนจริงใด ๆ เช่น
4+5>8 เป็นอสมการที่ไม่มตี ัวแปร
3x + 10 ≥ 19 เป็นอสมการที่มีตัวแปร (มีตัวแปรเป็น x)
การแก้อสมการและสมบัติของอสมการ คือ การหาคำตอบของอสมการโดยใช้สมบัติต่าง ๆ ได้แก่ สมบัติ
การบวกของการไม่เท่ากัน เมื่อ a, b และ c แทนจำนวนจริงใด ๆ
1.ถ้า a < b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac < bc
2.ถ้า a ≤ b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac ≤ bc
3.ถ้า a < b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว ac > bc
4.ถ้า a ≤ b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว ac ≥ bc
5.ถ้า a > b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac > bc
6.ถ้า a ≥ b และ c เป็นจำนวนจริงบวก แล้ว ac ≥ bc
7.ถ้า a > b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว ac < bc
8.ถ้า a ≥ b และ c เป็นจำนวนจริงลบ แล้ว ac ≤ bc
และอีกสมบัตทิ ี่ควรจะรู้ได้แก่ กำหนด a, b, c และ d เป็นจำนวนจริงใด ๆ โดยที่ d ≠ 0 จะได้
1. ถ้า a < b แล้ว a + c < b + c
2. ถ้า a < b และ d > 0 แล้ว ad < bd
3. ถ้า a < b และ d < 0 แล้ว ad > bd
4. ถ้า a < b และ b < c แล้ว a < c
อสมการค่าเฉลี่ยเลขคณิต-เรขาคณิต (A.M.-G.M.)
x 1 + x 2 + ... + x n
³ n x 1x 2 K x n
n
สำหรับ x i เป็นจำนวนจริงบวก เมื่อ i Î {1, 2, 3, ..., n}

2.4แคลคูลสั
แคลคูลัส เป็นสาขาหลักของคณิตศาสตร์ และสังคมศาสตร์ แคลคูลสั มีตน้ กำเนิดจากสองแนวคิดหลัก คือ
แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ (Differential Calculus) และแคลคูลัสเชิงปริพันธ์ (Integral Calculus)
4

แคลคูลัสเชิงอนุพนั ธ์ (Differential Calculus) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยอัตราการเปลี่ยนแปลง และเกี่ยวข้อง


กับการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การหา ความเร็ว, ความเร่ง หรือความชันของเส้นโค้ง บน
จุดที่กำหนดให้ ทฤษฎีของอนุพันธ์หลายส่วนได้แรงบันดาลใจจากปัญหาทางฟิสิกส์

d
1. (c) = 0
dx
d
2. (cx) = c
dx
d
3. (cx n ) = ncx n - 1
dx
d du dv dw
4. (u ± v ± w± ...) = ± ± ± ...
dx dx dx dx
d du
5. (cu) = c
dx dx
d dw dv du
6. (uvw) = uv + uw + vw
dx dx dx dx

2.5 ฟังก์ชั่น
ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จากเซตหนึ่งที่เรียกว่าโดเมน ไปยังอีกเซตหนึ่งที่เรียกว่าโคโดเมน (บางครั้งคำว่า
เรนจ์อาจถูกใช้แทน แต่เรนจ์นั้นมีความหมายอื่นด้วย "โคโดเมน" จึงเป็นที่นิยมมากกว่า เพราะไม่กำกวม) โดยที่สมาชิก
ตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ
ฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลด
f จะเป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง A ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก x และ x ใดๆ ใน A ถ้า x < แล้
1
2
1
x ว 2 f( x ) < f(x )
1 2

f จะเป็นฟังก์ชันลดบนช่วง A ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก x และ x ใดๆ ใน A ถ้า x > แล้


1 2 1
xว 2 f( x ) > f(x )
1 2

เราอาจกล่าวง่ายๆ ได้ว่า ฟังก์ชันเพิ่มบนช่วงใดๆ คือ ฟังก์ชันที่เมื่อค่า x เพิ่มขึ้นบนช่วงนั้น ค่า y จะเพิ่มขึ้น


ตามด้วย ส่วนฟังก์ชันลดบนช่วงใดๆ คือ ฟังก์ชันทีเมื่อค่า x เพิ่มขึ้นบนช่วงนั้น ค่า y จะลดลงสวนทางกัน
5

บทที่ 3
วิธีการดำเนินโครงงาน
3.1 วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินการศึกษาโครงงาน
3.1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
3.1.2 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร www.facebook.com , www.gmail.com
3.1.3 โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้อง DEV-C++
3.1.4 ดินสอ / ปากกา / ไม้บรรทัด
3.1.5 กระดาษทด / กระดาษ A4
3.1.6 โปรแกรมที่ใช้ในการพิมพ์รูปเล่ม Microsoft Office Word

3.2 ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
ขั้นตอนที่ 1. ค้นหาปัญหาที่สนใจ
- ศึกษาจากหนังสือ ใบงาน แบบฝึกหัด และ อินเทอร์เน็ต
- กำหนดปัญหาที่สนใจศึกษาให้ชัดเจน พร้อมปรึกษาครูที่ปรึกษา
ขั้นตอนที 2. ศึกษาความรู้พื้นฐานในการแก้ปัญหาดังกล่าว
- ศึกษาจากหนังสือ ใบงาน แบบฝึกหัด และ อินเทอร์เน็ต ที่สอดคล้องกับปัญหาที่สนใจ
ขั้นตอนที่ 3. นำความรู้พื้นฐานไปใช้ในการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 4. จัดทำรายงาน
- เริ่มเขียนเรียบเรียงการแก้ปัญหาให้เป็นลำดับขั้นตอน พร้อมปรึกษาครูที่ปรึกษา
- เมื่อเขียนเรียบเรียงเรียบร้อยแล้ว นำมาพิมพ์รายงาน เพื่อเสนอครูที่ปรึกษา
- นำข้อเสนอแนะมาปรับปรุง แล้วนำไปเสนอ เพื่อพิมพ์รูปเล่มจริง

3.3 ระยะเวลาการดำเนินการ
ขั้นตอนที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 31 มิถุนายน พ.ศ. 2563
ขั้นตอนที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 31 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
ขั้นตอนที่ 3 ตั้งแต่วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2563
ขั้นตอนที่ 4 ตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2563
6

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน
1. กรณีที่แต่ละจำนวนทีเ่ ลือกมาซ้ำกันได้
จากโจทย์ปญ ั หาทางคณิตศาสตร์ข้อหนึ่งซึ่งมีความว่า Suppose 3 numbers are chosen from {1, 2, 3, ..., 3 n- 1, 3n}
with their sum equal to 3n what is the largest possible product of those 3 numbers. จึงคาดการณ์ว่า
คำตอบคือ n จึงนำคำตอบไปตรวจสอบว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดด้วยโปรแกรม DEV-C++
3

ตัวอย่างที่ 1 : แทน (k, n) = (3, 5) จากการคาดการณ์ n = 5 = 125 3 3

ตัวอย่างที่ 2 : แทน (k, n) = (3, 29) จากการคาดการณ์ n 3


= 293 = 24389

เลือก 3 จำนวนจากเซตเป็น n- l , n- 1
l2 , n - l 3 โดยที่ - n < li < 2n เมื่อ i Î {1, 2, 3} และ l1 + l2 + l3 = 0
จากอสมการ A.M.-G.M. ได้ว่า
3

å (n - l i ) 3
i= 1

3
³ 3
Õ (n-
i= 1
li )
3
n³ 3
Õ (n-
i= 1
li )
3
n3 ³ Õ (n-
i= 1
li )
3
ค่ามากสุดของ Õ (n- li ) คือ n 3 เกิดเมื่อ n- l1 = n- l2 = n- l 3 นั่นคือ l1 = l2 = l3 = 0
i= 1

ดังนั้น N3 = n 3

กรณีที่ k=4 เลือกจำนวน 4 จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., 4 n- 1, 4 n} โดยที่ผลบวกของทั้ง 4 จำนวน


7

มีค่าเท่ากับ 4n จงหาค่าของผลคูณที่มากทีส่ ุดของจำนวน 4 จำนวนนั้น


เลือก 4 จำนวนจากเซตเป็น n- l , n- l , n- l , n- l โดยที่ - n <
1 2 3 4
li < 2n
เมื่อ iÎ {1, 2, 3, 4} และ l + l + l + l = 0
1 2 3 4

จากอสมการ A.M.-G.M. ได้ว่า


4

å (n - l i ) 4
i= 1

4
³ 4
Õ (n-
i= 1
li )
4
n³ 4
Õ (n-
i= 1
li )
4
n4 ³ Õ (n-
i= 1
li )
4
ค่ามากสุดของ Õ (n- li ) คือ n 4 เกิดเมื่อ n- l1 = n- l2 = n- l3 = n- l4 นั่นคือ
i= 1

l1 = l2 = l3 = l4 = 0
ดังนั้น N4 = n 4

กรณีที่ k=5 เลือกจำนวน 5 จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., 5 n- 1, 5 n} โดยที่ผลบวกของทั้ง 5 จำนวน


มีค่าเท่ากับ 5n จงหาค่าของผลคูณที่มากทีส่ ุดของจำนวน 5 จำนวนนั้น
เลือก 5 จำนวนจากเซตเป็น n- l , n- l , n- l , n- l , n- l โดยที่ - n < li < 2n เมื่อ
1 2 3 4 5

i Î {1, 2, 3, 4, 5} และ l + l + l + l + l = 0
1 2 3 4 5

จากอสมการ A.M.-G.M. ได้ว่า


5

å (n - l i ) 5
i= 1

5
³ 5
Õ (n-
i= 1
li )
5
n³ 5
Õ (n-
i= 1
li )
5
n5 ³ Õ (n-
i= 1
li )
5
ค่ามากสุดของ Õ (n- li ) คือ n เกิดเมื่อ
5
n- l1 = n- l2 = n- l3 = n- l4 = n- l5 นั่นคือ
i= 1

l1 = l2 = l3 = l4 = l5 = 0
ดังนั้น N5 = n 5

เราสามารถหาค่าดังกล่าวในกรณีทั่วไป นั่นคือ เลือกจำนวน k จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., kn- 1, kn} โดยที่


ผลบวกของทั้ง k จำนวนมีค่าเท่ากับ kn จงหาค่าของผลคูณที่มากที่สุดของจำนวน k จำนวนนั้น โดยมีวิธีและ
กระบวนการดังนี้
เลือก k จำนวนจากเซตเป็น n- l , n- l , n- l , ... , n- l โดยที่ l + l + l + ... + l = 0
1 2 3 k 1 2 3 k
8

จากอสมการ A.M.-G.M. ได้ว่า


k

å (n - l i ) k
i= 1

k
³ k
Õ (n-
i= 1
li )
k
n³ k
Õ (n-
i= 1
li )
k
nk ³ Õ (n-
i= 1
li )
k
ค่ามากทีส่ ุดของ Õ (n- li ) คือ n k เกิดเมื่อ n- l1 = n- l2 = n- l3 = ... = n - l k นั่นคือ
i= 1

l1 = l2 = l3 = ... = l k = 0
ดังนั้น Nk = n k

ทฤษฎีบทที่ 1 กำหนดให้ n , k เป็นจำนวนเต็มบวก จะได้ Nk = n k

2. กรณีที่แต่ละจำนวนทีเ่ ลือกมาแตกต่างกันทั้งหมด
Suppose 3 distinct numbers are chosen from {1, 2, 3, ..., 3n - 1, 3n} with their sum equal to 3n
what is the largest possible product of those 3 numbers. จึงคาดการณ์ว่าคำตอบคือ (n - 1)(n)(n + 1)
จึงนำคำตอบไปตรวจสอบว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดด้วยโปรแกรม DEV-C++

ตัวอย่างที่ 3 : แทน (k, n) = (3, 10) จากการคาดการณ์ (n - 1)(n)(n + 1) = (10 - 1)(10)(10 + 1) = 990

ตัวอย่างที่ 4 : แทน
(n - 1)(n)(n + 1) = (15 - 1)(15)(15 + 1) = 3360
(k, n) = (3, 15) จากการคาดการณ์
9

ทำการเอากราฟตัวอย่างกับกราฟที่คาดว่าเป็น M มาเปรียบเทียบด้วยโปรแกรม GSP5


3

กราฟ M 3
เปรียบเทียบกับกราฟ
ตัวอย่างที่มีเงื่อนไขแบบ เดียวกันแต่รูปแบบของ
ผลคูณต่างกันเห็นว่ากราฟ M มีลักษณะที่สูงกว่ากราฟตัวอย่างและสังเกตว่าความชันของกราฟ M มีค่ามากกว่า
3 3

กราฟตัวอย่างทำให้ค่อนข้างมั่นใจว่าผลคูณที่คาดว่าเป็น M เป็นผลคูณที่มากที่สุด เมื่อทำการหาค่า M3 พบว่ามี


3

อสมการที่ค่อนข้างสำคัญในการหาค่า M3 คือ l + l + l จึงพยายามพิสูจน์ในรูปทัว่ ไปคือ


2
1
2
2
2
3

k
k
l12 + l22 + l23 + ... + l2k- 1 + l2k ³ å ( - m)2 เมื่อ k เป็นจำนวนคู่
m= 0 2
êk ú
2 êê úú
ë2 ûêk ú
l12 + l22 + l23 + ... + l2k- 1 + l2k ³ å ( ê ú- m)2
ê ú เมื่อ k เป็นจำนวนคี่
m = 0 ë2 û

สำหรับ k, n Î ¥ และ n - l Î {1, 2, 3, ..., kn- 1, kn} สาหรับ i Î {1, 2, 3, ..., k} โดยที่
i
l1 + l2 + l3 + ... + l k = 0
จึงนำอสมการไปตรวจสอบว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดด้วยโปรแกรม DEV-C++
ตัวอย่างที่ 5 ถ้าแทน k = 3 และ n = 5 จะได้
l12 + l22 + l23 ³ (1)2 + (0)2 + (- 1)2
= 2
โดยทดสอบค่าโดยโปรแกรมได้ดังนี้

ตัวอย่างที่ 6 ถ้าแทน k = 4 และ n = 6 จะได้


l12 + l22 + l23 + l24 ³ (2)2 + (1)2 + (0)2 + (- 1)2 + (- 2)2
= 10
โดยทดสอบค่าโดยโปรแกรมได้ดังนี้

ตัวอย่างที่ 7 ถ้าแทน k = 5 และ n = 5 จะได้


10

l12 + l22 + l23 + l24 + l25 ³ (2)2 + (1)2 + (0)2 + (- 1)2 + (- 2)2
= 10
โดยทดสอบค่าโดยโปรแกรมได้ดังนี้

จะพิสูจน์อสมการดังกล่าว ดังนี้ 2q 1
2
ให้ P(q1 ) แทนประโยค l + l + l + ... + l + l ³ å (q - m ) เมื่อ q 1 Î ¥
2 2 2 2 2
1 2 3 2q 1 - 1 2q 1 1
m= 0

ขั้นฐาน P(1) แทนข้อความ l + l ³ 2 ถ้ามี li > 2 เห็นว่า P(1) เป็นจริง


2 2
1 2
æ3÷ ö
พิจารณา l Î {- 1, 0, 1} สาหรับ i Î {1, 2} สามารถเลือก (l , l ) ได้ çççç2÷÷÷÷ แบบ
i
è ø 1 2

ชัดว่ามี (l , l ) เพียงคู่เดียวที่สอดคล้องกับเงื่อนไข l + l = 0 และ l ¹ l คือ l


1 2 1 2 1 2 1
= 1, l2 = - 1
ดังนั้น P(1) เป็นจริง
ขั้นอุปนัย สมมติให้ P( q1 ) เป็นจริง เมื่อ q 1 Î ¥
2q 1
ได้ว่า l + l + l + ... + l
2
1
2
2
+ l ³ å (q - m)
2
3
2
2q 1 - 1
2
2q 1 1
2

q1 = 0
2q 1

l12 + l22 + l23 + ... + l2q


2
-1
+ l2q
2
+ l2q
2
+1
+ l2q
2
+2
³ å (q 1 - m)2 + l22q +1
+ l22q +2
จาก l1 > l2 > K > l2q > l2q + 1 > l2q + 2
1 1 1

1
1

1 1
q1 = 0
1 1

นั่นคือ l > (q + 1) และ l


2
2q 1 + 1 1
2 2
2q 1 + 2
> (q 1 + 1)2

เพราะฉะนั้น l + l + l + ... + l
2q 1
2
1
2 2
2
2
3
2
2q 1 - 1
+ l2q
2
+ l2q
2
1 1
+1
+ l2q
2
1
+2
³ å (q 1
- m ) + l2q
2
1
+1
+ l2q
2
1
+2
m= 0
2q 1
2
³ å (q 1
- m ) + (q 1 + 1)2 + (q 1 + 1)2
m= 0
2q 1 + 2
2

ดังนั้น P(q1 + 1) เป็นจริง


³ å (q 1
+ 1 - m)
m= 0
2q 1

โดยหลักการอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์สรุปได้ว่า
2
l + l + l + ... + l
1
2 2
2
2
3
2
2q 1 - 1
+ l2q
2
³
1
å (q 1
- m)
m= 0
สำหรับ k เป็นจำนวนคู่
2 q2

ให้ P( q 2 ) แทนประโยค เมื่อ q 2 Î ¥


2
l12 + l22 + l23 + ... + l22 q + l22 q
2 2
+1
³ å (q - 2
m)
m= 0

ขั้นฐาน P(1) แทนข้อความ l + l + l ³ 2 ถ้ามี li > 2 เห็นว่า P(3) เป็นจริง


1
2 2
2
2
3

พิจารณา l Î {- 1, 0, 1} สาหรับ i Î {1, 2, 3} เนื่องจาก n - l > n - l > n -


i 1 2
l3
ดังนัน้ l1 < l2 < l3
เห็นชัดว่า l = 1, l = 0, l
1 2 3
= - 1 ได้วา่ l12 + l22 + l23 ³ 2
ดังนั้น P(1) เป็นจริง
ขั้นอุปนัย สมมติให้ P( q 2 ) เป็น เมื่อ qÎ ¥
2q 2

l12 + l22 + l23 + ... + l2q


2
+ l2q
2
2 2
+1
³ å (q 2 - m)2
m= 0
2q 2

l12 + l22 + l23 + ... + l2q


2
+ l2q
2
2 2
+1
+ l2q
2
2
+2
+ l22q
2
+3
³ å (q 2 - m)2 + l22q
2
+2
+ l22q
2
+3
m= 0
11

จาก l1 > l2 > K > l2q + 1 > l2q + 2 > 2 2


l2q
2
+3

นั่นคือ l > (q + 1) และ l


2
2q 2 + 2 2
2 2
2q 2 + 3
> (q 2 + 1)2
2q 2
เพราะฉะนั้น l + l + l + ... + l
1
2 2
2
2
3
2
2q 2 + 1
+ l 2
2q 2 + 2
+ l 2
2q 2 + 3
³ å (q 2
2
- m ) + l22q
2
+2
+ l2q
2
2
+3
m= 0
2q 2
2
³ å (q 2
- m ) + (q 2 + 1)2 + (q 2 + 1)2
m= 0
2q 2 + 2
2
³ å (q + 1 - m)
ดังนั้น P( q 2 +1) เป็นจริง
2
m= 0
2 q2
2
โดยหลักการอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์สรุปได้ว่า l 1
2
+ l + l + ... + l
2
2
2
3
2
2 q2
+ l 2
2 q2 + 1
³ å (q - 2
m)
m= 0

สำหรับ k เป็นจำนวนคี่

บทตั้งที่ 2
2
æk ö k
l + l + l + ... + l
2 2 2 2
+ l ³ å ççç - m ÷
2
÷
÷ สำหรับ k เป็นจำนวนคุ่
ø÷
1 2 3 k- 1 k
m = 0 è2

êk ú
2 êê úú 2
æêk ú ö
÷ ë2 û
l + l + l + ... + l
2 2 2 2
+ l ³ å çççê ú- m ÷
2
÷ สำหรับ k เป็นจำนวนคี่
1 2 3 k- 1 k
çê ú
m = 0 èë2 û
÷
ø

สำหรับ k, n Î ¥ และ n - li Î {1, 2, 3, ..., kn- 1, kn} สาหรับ i Î {1, 2, 3, ..., k} โดยที่ l1 + l2 + l3 + ... + lk = 0

จะเริม่ พิสูจน์ว่า M3 = (n- 1)(n)(n + 1) เลือก 3 จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., 3 n} เป็น n - l1 , n - l2


และ n - l โดยที่ (n - l1 ) + (n - l2 ) + (n - l3 ) = 3n ดังนั้น l + l + l = 0
3 1 2 3

จากบทตั้งที่ 2 ได้ว่า l + l + l = 2 1
2
2
2
3
2

นั่นคือ l + l + l ³ 2 สำหรับ - n < l < 2n , i Î {1, 2, 3}


1
2
2
2
3
2
i

1 2 1
- (l1 + l22 + l 32 ) £ - (2)
2 2
l1l2 + l2 l3 + l3 l1 £ - 1
กำหนดให้ f(x) = (x- 1)(x)(x + 1) และ g(x) = (x- l )(x- 1
l2 )(x- l 3 )
พิจารณา f '(x) = x(x + 1) + (x- 1)(x + 1) + (x- 1)(x)
= 3x 2 - 1

และ g'(x) = (x- l1 )(x- l2 ) + (x- l1 )(x- l 3 ) + (x- l2 )(x- l 3 )


= 3x 2 - 2(l1 + l2 + l 3 ) x + l1l2 + l1l 3 + l2 l 3
= 3x 2 + l1l2 + l1l 3 + l2 l 3
< 3x 2 - 1
12

ดังนั้น f '(x) > g'(x)


เมื่อ x = l ได้ f(l ) = (l - 1)(l )(l + 1) =และl - l
1 1 1
g(l ) = 0 1 1
3
1 1 1

เนื่องจาก l1 > l2 >และ l3 l + l + l = 0 เห็นว่า l เป็นจำนวนเต็มบวกดังนั้น l


1 2 3 1 1
> 1
นั่นคือ f(l ) > 0 ได้ว่า f(l ) > g(l )
1 1 1

จึงสรุปได้ว่า f(x) > g(x) สำหรับทุก x > l > 1 1

ทำให้ (n- 1)(n)(n + 1) ³ (n- l )(n- l )(n- l ) สำหรับ n Î ¥ และ n > 1 1 2 3

ดังนั้น M3 = (n - 1)(n)(n + 1)

เริ่มพิจารณา M k จากค่า k ในกรณีต่าง ๆ โดยพยายามใช้ความรูท้ างอสมการ เอกลักษณ์ทางพีชคณิต


ซึ่งค่า k ที่จะพิจารณาจะเริ่มจากค่าน้อย ๆ เสียก่อน เพื่อหากระบวนการที่ใช้ได้ในกรณีที่ค่า k มีค่ามากขึ้นไปได้
โดยไม่เสียนัยทั่วไป กำหนดให้ n - l < n - l < n - l < K < n - l
1 2 3 k

กรณีที่ k = 1 เลือก 1 จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., n} เป็น n - l 1

โดยที่ n - l = n ดังนั้น l = 0 , M จึงเป็นได้แต่แบบเดียวนั่นคือ


1 1 1
M1 = n - 0 = n
ดังนั้น M = n
1

กรณีที่ k = 2 เลือก 2 จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., 2 n} เป็น n - l และ n - l 1 2

โดยที่ (n - l ) + (n - l ) = 2n ดังนั้น l + l = 0 เพราะฉะนั้น l1 = - l2


1 2 1 2

และ (n - l )(n- l ) = n - (l + l ) n + l l
1 2
2
1 2 1 2
2 2
= n - l 1
ซึ่งค่า M จะเกิดขึ้นเมื่อ
2
l12 มีค่าน้อยที่สุด ซึ่งนั่นคือ l1 = 1 ทำให้ l2 = - 1
ดังนั้น M2 = (n- 1)(n + 1)

กรณีที่ k = 3 เลือก 3 จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., 3 n} เป็น n - l , n - l และ 1 2


n - l3
โดยที่ (n - l ) + (n - l ) + (n - l ) = 3n ดังนั้น l + l + l = 0
1 2 3 1 2 3

จะพิสูจน์ว่า (n - 1)(n)(n + 1) ³ (n - l1)(n - l2 )(n - l3 )


ถ้ามี l โดยที่ | l |³ 2 จะเห็นได้ว่า l + l + l ³ 2
i i 1
2
2
2
3
2

พิจารณา l Î {- 1, 0, 1}
i

จาก n - l < n - l < n - l ได้ว่า l1 > l2 > l3


1 2 3

เห็นชัดว่า l = 1 , l = 0 , l = - 1
1 2 3
13

เพราะฉะนั้น l 1
2
+ l22 + l 32 = 2
นั่นคือ l + l
1
2
2
2
+ l 32 ³ 2 สำหรับ - n < li < 2n , i Î {1, 2, 3}
1 2 1
- (l1 + l22 + l 32 ) £ - (2)
2 2
l1l2 + l2 l3 + l3 l1 £ - 1
กำหนดให้ f(x) = (x- 1)(x)(x + 1) และ g(x) = (x- l )(x- 1
l2 )(x- l 3 )
พิจารณา f '(x) = x(x + 1) + (x- 1)(x + 1) + (x- 1)(x)
= 3x 2 - 1

และ g'(x) = (x- l1 )(x- l2 ) + (x- l1 )(x- l 3 ) + (x- l2 )(x- l 3 )


= 3x 2 - 2(l1 + l2 + l 3 ) x + l1l2 + l1l 3 + l2 l 3
= 3x 2 + l1l2 + l1l 3 + l2 l 3
< 3x 2 - 1

ดังนั้น f '(x) > g'(x)


เมื่อ x = l ได้ f(l ) = (l - 1)(l )(l + 1) =และl - l
1 1 1 1
g(l ) = 0
1
3
1 1 1

เนื่องจาก l1 > l2 >และ l3 l + l + l = 0 เห็นว่า l เป็นจำนวนเต็มบวกดังนั้น l


1 2 3 1 1
> 1
นั่นคือ f(l ) > 0 ได้ว่า f(l ) > g(l )
1 1 1

พิจารณา f '(x) สำหรับทุก x > l > 1 เห็นว่า f '(x) > 0


1

และ g'(x) สำหรับทุก x > l > 1 เห็นว่า g'(x) > 0 1

ได้ว่าทั้ง f '(x) และ g'(x) เป็นฟังก์ชันเพิ่ม


จึงสรุปได้ว่า f(x) > g(x) สำหรับทุก x > l > 1 1

ทำให้ (n- 1)(n)(n + 1) ³ (n- l )(n- l )(n- l ) สำหรับ n Î ¥ และ n > 1


1 2 3

ดังนั้น M3 = (n - 1)(n)(n + 1)

ทฤษฎีบทที่ 3 M3 = (n - 1)(n)(n + 1) สำหรับ สำหรับ nÎ ¥ และ n> 1

กรณีที่ k = 4 คาดการณ์ว่า M = (n- 2)(n- 4


1)(n + 1)(n + 2)
ตรวจสอบค่าจากโปรแกรมได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ 8 (k,n)=(4,6)

ตัวอย่างที่
9 (k,n)=(4,23)
14

การ

เปรียบเทียบกราฟในกรณีที่ k=4
กราฟ M เปรียบเทียบกับกราฟตัวอย่างที่มีเงื่อนไขแบบเดียวกันแต่รูปแบบของผลคูณต่างกันเห็นว่า
4

กราฟ M มีลักษณะที่สูงกว่ากราฟตัวอย่างและสังเกตว่าความชันของกราฟ M มีค่ามากกว่ากราฟตัวอย่าง


4 4

ทำให้ค่อนข้างมั่นใจว่าผลคูณที่คาดว่าเป็น M เป็นผลคูณที่มากที่สุด
4

กรณีที่ k = 5 คาดการณ์ว่า M = (n- 2)(n- 1)(n)(n + 1)(n + 2)


5

ตรวจสอบค่าจากโปรแกรมได้ดังนี้
ตัวอย่างที่ 10 (k,n)=(5,9)

ตัวอย่างที่ 11 (k,n)=(5,17)
15

การ
เปรียบเทียบกราฟ
ในกรณีที่ k=5

กราฟ M เปรียบเทียบกับกราฟตัวอย่าง
5

ที่มีเงื่อนไขแบบเดียวกันแต่รูปแบบของผลคูณต่างกันเห็นว่า กราฟ M มีลักษณะที่สูงกว่ากราฟตัวอย่างและสังเกตว่า


5

ความชันของกราฟ M มีค่ามากกว่ากราฟตัวอย่าง ทำให้ค่อนข้างมั่นใจว่าผลคูณที่คาดว่าเป็น M เป็นผลคูณที่มาก


5 5

ที่สุด

บทที่ 5
สรุป และอภิปรายผลการดำเนินการ
5.1 สรุปผลการดำเนินการ
16

ให้ N คือ ผลคูณที่มากที่สุดของจำนวน k จำนวนที่เลือกมาจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยที่ผลรวมได้


k

kn เมื่อมาพิจารณาในกรณีที่ k จำนวนที่แตกต่างกันให้ Mk คือ ผลคูณที่มากที่สุดของจำนวน k จำนวนที่แตกต่างกันที่


เลือกมาจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยที่ผลรวมของ k จำนวนนั้นได้ kn สามารถหาค่าของ N , Mk และได้ดังนี้ k

Nk = n k สำหรับ n , k เป็นจำนวนเต็มบวก
k
k
Õ (n - 2
+ f)
Mk =
f =0
เมื่อ k Î {2}
n
êk ú
2 êê úú
ë2 û êk ú
และ Mk = Õ (n - ê ú+ f )
ê2 ú
เมื่อ k Î {1, 3}
f =0 ë û

ได้ค่า Mk เป็นจริงสำหรับ k Î {1, 2, 3} และ n เป็นจำนวนเต็มบวก

5.2 อภิปรายผลการดำเนินการ
จากการศึกษา การหาผลคูณมากที่สุดของจำนวนเต็มบวก k จำนวนจากเซต {1, 2, 3, ..., kn - 1, kn} โดยที่
ผลรวมได้ kn ทั้งกรณีที่ k จำนวนที่เลือกมาแตกต่างกันทั้งหมดและสามารถเหมือนกันได้ เป็นการศึกษาเพื่อหาสูตรใน
การคำนวณเพื่อแก้ปัญหาข้างต้น ซึ่งสามารถนำผลจากการศึกษาครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ได้

5.3 ข้อเสนอแนะ
อาจทำเป็นวิธีการหา Mk ที่ k เป็น 3,4,5,… เพื่อให้สามารถสรุปได้ว่า สมมติฐานที่ว่า
k
k
Õ (n - 2
+ f)
Mk =
f =0
เมื่อ k เป็นจำนวนคู่
n
êk ú
2 êê úú
ë2 û êk ú
Mk = Õ (n - ê ú+ f )
ê2 ú
เมื่อ k เป็นจำนวนคี่
f =0 ë û

เป็นจริง สำหรับ k , n เป็นจำนวนเต็มบวก โดยวิธีการในรูปแบบเดิม

บรรณานุกรม
บุญรอด ยุทธานันท์. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง อสมการ ค่าย 2/2563. ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563.
17

สมพงษ์ ฉุยสุรฉิ าย. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง ตรรกศาสตร์กับการพิสูจน์ ค่าย 1/2562. ภาควิชาคณิตศาสตร์


และสถิติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563.

Amitabha Tripathi. (2563). What is the maximum product of any number of positive integers
that have a sum of k. สืบค้นเมื่อ 17/8/2563. จาก https://www.quora.com/What-is-the-maximum-
product-of-any-number-of-positive-integers-that-have-a-sum-of-k
18

ภาคผนวก

เมื่อแทนค่า k , n โดยใช้โปรมแกรม DEV-C++ ในการเขียนโปรแกรมเพื่อหาค่า N ในแบบที่ k , n เป็นค่า


k

ต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบว่าค่า N ที่ได้จากการใช้ความรู้เรื่องอสมการและเอกลักษณ์ทางพีชคณิตมีความถูกต้องและ


k

น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงได้ ส่วนวิธีและกระบวนการเขียนมีดังนี้
#include<iostream>
using namespace std;
bool CheckEnd(int bar[],int check[],int k){ // สร้างฟังก์ชั่นในการตรวจสอบว่าจะให้จบลูปได้หรือไม่
for(int i=0;i<k;i++){
if(bar[i+1]-bar[i]!=check[i]){
return false;
}
else if(i==k-1&&bar[i+1]-bar[i]==check[i]){
return true;
}
}
}
int main(){
int k,n;
cout<<"Input k : ";
cin>>k;
cout<<"Input n : ";
cin>>n;
int bar[k+1],temp=k*n,max=1,tempmul=0;
19

//เริ่มการสร้างบาร์เริ่มต้น
bar[0]=0;
bar[1]=1;
for(int i=2;i<k;i++){
bar[i]=i;
}
bar[k]=temp;
//จบการสร้างบาร์เริ่มต้น
int check[k];
//เริ่มการกำหนดตัวแปร (check[]) เอาไว้เก็บค่าว่าบาร์ในกรณีสุดท้ายจะทำให้ได้จำนวนใดบ้าง
for(int i=0;i<k;i++){
check[i]=n;
}

// จบการกำหนดตัวแปร
for(int i=0;i<k;i++){ // กำหนดค่าเริ่มต้นของตัวแปรที่ใช้เก็บผลคูณทีม
่ ากที่สุด
max*=check[i];
}
while(!CheckEnd(bar,check,k)){ // ลูปที่จะไล่ทุกกรณีที่เป็นไปได้ของการเลือก
// เริ่มการหาค่าผลคูณและเปรียบเทียบค่าว่ามีค่ามากที่สดุ แล้วหรือไม่ในแต่ละกรณี
tempmul=1;
for(int i=1;i<k;i++){
tempmul*=(bar[i]-bar[i-1]);
}
if(tempmul>max){
max=tempmul;
}
// จบการหาผลคูณและเปรียบเทียบในแต่ละกรณี
if(bar[k]-(bar[k-1]*2)+bar[k-2]<2){ // ถ้าค่าระหว่างบาร์หลักสุดท้ายมีค่าที่ไม่สามารถเลื่อน
บาร์ได้อีกให้ไล่หาว่าบาร์ก่อนหน้าที่ใกล้ที่สุดที่สามารถเลื่อนได้บ้าง จากนั้นก็เลื่อนบาร์และ
กำหนดค่าหลังบาร์นั้นให้เป็นค่าเริ่มต้น
for(int i=k;i>1;i--){
if(bar[i]-(bar[i-1]*2)+bar[i-2]<2){
if(bar[i-1]-(bar[i-2]*2)+bar[i-3]>=2){
if(i==2){
bar[1]++;
for(int i=2;i<k;i++){
bar[i]=((2*bar[i-1])-bar[i-2]);
}
}
else{
bar[i-2]++;
for(int j=i-1;j<k;j++){
bar[j]=((2*bar[j-1])-bar[j-2]);
}
20

}
break;
}
}
}
}
else{
bar[k-1]++;
}
}
cout<<"Max = "<<max; // แสดงผลค่าผลคูณที่มากที่สุด
return 0;
}
k
เมื่อแทนค่า k , n โดยใช้โปรมแกรม DEV-C++ ในการเขียนโปรแกรมเพื่อหาค่า å ที่นl ้อยที่สุดในแบบที่ k ,
i
k
i= 1
n เป็นค่าต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบว่าค่า åที่ไlด้จากการใช้ความรู้เรื่องอสมการและเอกลักษณ์ทางพีชคณิตมีความ
i
i= 1
ถูกต้องและน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงได้ ส่วนวิธีและกระบวนการเขียนมีดังนี้
#include<iostream>
#include<math.h>
using namespace std;
bool CheckEnd(int bar[],int check[],int k){ // สร้างฟังก์ชั่นในการตรวจสอบว่าจะให้จบลูปได้หรือไม่
for(int i=0;i<k;i++){
if(bar[i+1]-bar[i]!=check[i]){
return false;
}
else if(i==k-1&&bar[i+1]-bar[i]==check[i]){
return true;
}
}
}
int main(){
int k,n;
cin>>k>>n;
int bar[k+1],temp=k*n,min=0,tempmul=0;
//เริ่มการสร้างบาร์เริ่มต้น
bar[0]=0;
for(int i=1;i<k;i++){
bar[i]=((2*bar[i-1])-bar[i-2])+1;
}
bar[k]=temp;
//จบการสร้างบาร์เริ่มต้น
int check[k];
//เริ่มการกำหนดตัวแปร (check[]) เอาไว้เก็บค่าว่าบาร์ในกรณีสุดท้ายจะทำให้ได้จำนวนใดบ้าง
for(int i=0;i<k;i++){
tempmul+=(i+1);
}
21

for(int i=0;i<k;i++){
check[i]=(i+1)+((temp-tempmul)/k);
}
tempmul%=k;
for(int i=k-1;i>=0;i--){
if(tempmul!=0){
check[i]++;
tempmul--;
}
else{
break;
}
}
// จบการกำหนดตัวแปร
for(int i=0;i<k;i++){ // กำหนดค่าเริ่มต้นของตัวแปรที่ใช้เก็บผลบวกที่น้อยที่สุด
min+=pow(check[i]-n,2);
}
while(!CheckEnd(bar,check,k)){ // ลูปที่จะไล่ทุกกรณีที่เป็นไปได้ของการเลือก
// เริ่มการหาค่าผลบวกและเปรียบเทียบค่าว่ามีค่าน้อยที่สุดแล้วหรือไม่ในแต่ละกรณี
tempmul=0;
for(int i=1;i<=k;i++){
tempmul+=pow((bar[i]-bar[i-1])-n,2);
}
if(tempmul<min){
min=tempmul;
}
// จบการหาผลบวกและเปรียบเทียบในแต่ละกรณี
if(bar[k]-(bar[k-1]*2)+bar[k-2]<3){
// ถ้าค่าระหว่างบาร์หลักสุดท้ายมีค่าที่ไม่สามารถเลื่อนบาร์ได้อีกให้ไล่หาว่าบาร์ก่อน
หน้าที่ใกล้ที่สุดที่สามารถเลื่อนได้บ้าง จากนั้นก็เลื่อนบาร์และกำหนดค่าหลังบาร์นั้นให้
เป็นค่าเริ่มต้น
for(int i=k;i>1;i--){
if(bar[i]-(bar[i-1]*2)+bar[i-2]<3){
if(bar[i-1]-(bar[i-2]*2)+bar[i-3]>=2){
bar[i-2]++;
for(int j=i-1;j<k;j++){
bar[j]=((2*bar[j-1])-bar[j-2])+1;
}
break;
}
}
}
}
else{
bar[k-1]++;
}
}
22

cout<<min; // แสดงผลค่าผลบวกน้อยทีส่ ุด
return 0;
}

เมื่อแทนค่า k , n โดยใช้โปรมแกรม DEV-C++ ในการเขียนโปรแกรมเพื่อหาค่า M ในแบบที่ k , n เป็นค่า


k

ต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบว่าค่า M ทีไ่ ด้จากการใช้ความรู้เรื่องอสมการและเอกลักษณ์ทางพีชคณิตมีความถูกต้องและ


k

น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงได้ ส่วนวิธีและกระบวนการเขียนมีดังนี้
#include<iostream>
using namespace std;
bool CheckEnd(int bar[],int check[],int k){ // สร้างฟังก์ชั่นในการตรวจสอบว่าจะให้จบลูปได้หรือไม่
for(int i=0;i<k;i++){
if(bar[i+1]-bar[i]!=check[i]){
return false;
}
else if(i==k-1&&bar[i+1]-bar[i]==check[i]){
return true;
}
}
}
int main(){
int k,n;
cin>>k>>n;
int bar[k+1],temp=k*n,max=1,tempmul=0;
//เริ่มการสร้างบาร์เริ่มต้น
bar[0]=0;
for(int i=1;i<k;i++){
bar[i]=((2*bar[i-1])-bar[i-2])+1;
}
bar[k]=temp;
//จบการสร้างบาร์เริ่มต้น
int check[k];
//เริ่มการกำหนดตัวแปร (check[]) เอาไว้เก็บค่าว่าบาร์ในกรณีสุดท้ายจะทำให้ได้จำนวนใดบ้าง
for(int i=0;i<k;i++){
tempmul+=(i+1);
}
for(int i=0;i<k;i++){
check[i]=(i+1)+((temp-tempmul)/k);
}
tempmul%=k;
for(int i=k-1;i>=0;i--){
if(tempmul!=0){
check[i]++;
tempmul--;
}
else{
break;
23

}
}
// จบการกำหนดตัวแปร
for(int i=0;i<k;i++){
max*=check[i];
}
while(!CheckEnd(bar,check,k)){ //ลูปที่จะไล่ทุกกรณีที่เป็นไปได้ของการเลือก
//เริ่มการหาผลคูณของแต่ละกรณีแล้วเปรียบเทียบว่ามีค่ามากที่สุดแล้วหรือไม่
tempmul=1;
for(int i=1;i<k;i++){
tempmul*=(bar[i]-bar[i-1]);
}
if(tempmul>max){
max=tempmul;
}
//จบการหาผลคูณและเปรียบเทียบ

if(bar[k]-(bar[k-1]*2)+bar[k-2]<3){
// ถ้าค่าระหว่างบาร์หลักสุดท้ายมีค่าที่ไม่สามารถเลื่อนบาร์ได้อีกให้ไล่หาว่าบาร์ก่อน
หน้าที่ใกล้ที่สุดที่สามารถเลื่อนได้บ้าง จากนั้นก็เลื่อนบาร์และกำหนดค่าหลังบาร์นั้นให้
เป็นค่าเริ่มต้น
for(int i=k;i>1;i--){
if(bar[i]-(bar[i-1]*2)+bar[i-2]<3){
if(bar[i-1]-(bar[i-2]*2)+bar[i-3]>=2){
bar[i-2]++;
for(int j=i-1;j<k;j++){
bar[j]=((2*bar[j-1])-bar[j-2])+1;
}
break;
}
}
}
}
else{
bar[k-1]++;
}
}
cout<<max; // แสดงผลค่าผลคูณที่มากทีส่ ุด
return 0;
}
24

ข้อมูลผู้จัดทำ

1.นายกนธี เนติวงศานนท์ ห้อง ม.3/1 เลขที่ 1 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย

2.นายนฤสรณ์ ปราบพล ห้อง ม.3/1 เลขที่ 12 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย

1.เด็กชายอินทเศรษฐ์ อุปทินเกตุ ห้อง ม.3/1 เลขที่ 21 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย


25
26

You might also like