You are on page 1of 98

หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม

คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1

ตามผลการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผู้เรียบเรียง ดร.สุนทรีย์ ปาลวัฒน์ชัย


ผู้ตรวจ รศ.นงนุช สุขวารี
ผศ. ดร.สุชัย ตนัยอัชฌาวุฒ
ยุพดี มงคลจินดาวงศ์
บรรณาธิการ ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1
ตามผลการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สุนทรีย์ ปาลวัฒน์ชัย.
หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม คณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5
เล่ม 1.--กรุงเทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคชัน่ , 2562.
ผู้เรียบเรียง ดร.สุนทรีย์ ปาลวัฒน์ชัย 232 หน้า.
ผู้ตรวจ รศ.นงนุช สุขวารี 1. คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา). I. ชือ่ เรือ่ ง.
ผศ. ดร.สุชัย ตนัยอัชฌาวุฒ 510.7
ยุพดี มงคลจินดาวงศ์
ISBN 978-616-274-974-2
บรรณาธิการ ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา

พิมพ์ครั้งที่ : 1
จำ�นวนเล่ม : 22,000 เล่ม
สงวนลิขสิทธิ์ : มกราคม 2562
สงวนลิขสิทธิต์ ามกฎหมาย ห้ามลอกเลียน ไม่วา่ จะเป็นส่วนหนึง่ ส่วนใด
ของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร

จัดทำ�โดย

ส่งธนาณัติสั่งจ่าย ไปรษณีย์ลาดพร้าว
ในนาม บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด
9/99 อาคารแม็ค ซอยลาดพร้าว 38 ถนนลาดพร้าว
แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
โทร. 0-2512-0661, 0-2938-2022-7 แฟกซ์ 0-2938-2028
www.MACeducation.com

พิมพ์ที่ : บริษัท พี อาร์ คัลเลอร์พริ้นท์ จำ�กัด


คำ�ชี้แจง
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการโดยสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดำ�เนินการ
ทบทวนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยในระยะแรกให้ปรับปรุง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำ�หรับใช้ในปีการศึกษา 2561 ในชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 และ 4 และชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ปีการศึกษา 2562 ให้ใช้ในชัน้ ประถมศึกษา
ปีที่ 1, 2, 4 และ 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2, 4 และ 5 และตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไปให้ใช้
ในทุกชัน้ เรียน ซึง่ การปรับหลักสูตรครัง้ นีม้ เี ป้าหมายสำ�คัญเพือ่ ให้โรงเรียนสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้
ที่จะช่วยให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ
สามารถใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการบูรณาการกับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาด้านกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่นำ�ไปสู่การคิดค้นสิ่งประดิษฐ์หรือ
สร้างสรรค์นวัตกรรม นอกจากนี้ยังให้เกิดการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ (Geo-literacy) ทั้งด้านความสามารถ
ทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ และทักษะทางภูมศิ าสตร์ เพือ่ ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจได้อย่าง
ถูกต้องและนำ�ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำ�เนินชีวิต
ด้วยตระหนักถึงความสำ�คัญของการปรับเปลี่ยนข้างต้น บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด จึงได้
มอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร ด้านการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และด้านการวัดและประเมินผล
ได้ปรับปรุงพัฒนาหนังสือเรียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรในกลุ่มสาระ
การเรียนรูท้ มี่ กี ารเปลีย่ นแปลง และให้สอดคล้องกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทกี่ �ำ หนดไว้ในแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 และยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี
โดยหนังสือเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะให้ผู้ใช้หนังสือเรียนได้ทราบเป้าหมายการเรียนรู้
ในตอนต้นหน่วยการเรียนรู้ จากสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ และทุกหัวข้อหลักจะนำ�เสนอแนวคิด
สำ�คัญเพื่อให้ทราบถึงสิ่งที่เป็นความรู้ ความคิดที่เป็นแก่นสำ�คัญที่ต้องเรียนรู้ให้ลึกซึ้ง และการเรียนรู้ที่ดี
ผูเ้ รียนควรได้ตรวจสอบความรูค้ วามเข้าใจเป็นระยะๆ ก่อนเรียนเรือ่ งใหม่ ดังนัน้ ในหนังสือเรียนจะมีการ
สอดแทรกกิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ได้เรียนผ่านมา เพื่อให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบ
ตนเอง หรื อ บางหั ว ข้ อ อาจเป็ น การฝึ ก ทั ก ษะให้ ชำ � นาญก่ อ น สิ่ ง ที่ เ พิ่ ม เติ ม ในหนั ง สื อ เรี ย นเล่ ม นี้
คือ กิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (STEM) ตามเป้าหมาย
สำ�คัญของการปรับหลักสูตรครั้งนี้ ซึ่งผู้เรียนและผู้สอนสามารถนำ�ไปประยุกต์หรือดัดแปลงให้เหมาะสม
กับบริบทของโรงเรียนและผูเ้ รียน การศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติมโดยใช้เทคโนโลยีการสือ่ สารและสารสนเทศ (ICT)
เป็นสิ่งจำ�เป็นที่ต้องค้นคว้าเพิ่มเติม ดังนั้นในหนังสือเรียนเล่มนี้จึงได้มีการเสริมเนื้อหาเพิ่มเติมที่ได้
ผ่านการคัดกรองมาแล้วว่าเหมาะสมกับการเรียนรู้ แทรกไว้ในเนือ้ หาบางหน่วย โดยใช้สญ
ั ลักษณ์
ผู้เรียนสามารถใช้สมาร์ตโฟนสแกน QR Code หรือเปิดเว็บไซต์ MACeducation.com เพื่อเข้าเมนู
การศึกษาขั้นพื้นฐาน MAC ILink และเลือกเปิดดูส่วนเสริมของบทเรียนในหนังสือแต่ละเล่มได้
ท้ายหน่วยการเรียนรูท้ กุ หน่วยจะมีการสรุปบทเรียนสำ�หรับให้ผเู้ รียนได้ใช้เป็นข้อมูลสำ�คัญในการตรวจสอบ
องค์ความรูท้ คี่ วรได้รบั การพัฒนาหลังจากเสร็จสิน้ การเรียน หรือเป็นสาระสำ�คัญทีค่ วรจดจำ�และทำ�ความ
เข้าใจให้ถ่องแท้ ซึ่งนับว่าเป็นส่วนสำ�คัญอีกส่วนหนึ่งในการปรับปรุงหนังสือเรียนครั้งนี้ที่ได้พัฒนาให้
ชัดเจนยิ่งขึ้น
บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จำ�กัด หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนเล่มนี้จะมีคุณค่า มีประโยชน์
และช่วยส่งเสริมการปฏิรปู การศึกษา เพือ่ เป็นรากฐานสำ�คัญทีจ่ ะช่วยทำ�ให้ประเทศไทยก้าวสูป่ ระเทศทีม่ ี
การพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการมีพลเมืองที่มีคุณภาพ มีความคิดสร้างสรรค์ ตามเจตนารมณ์ของ
การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้และนโยบายประเทศไทย 4.0

บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จ�ำกัด


คำ�นำ�
หนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม คณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 1 ได้เรียบเรียงขึ้นใหม่
ตามผลการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมการเรียนการสอนในหนังสือเล่มนีไ้ ด้บรู ณาการสาระต่างๆ
เข้าด้วยกันไว้ในหน่วยการเรียนรู้ซึ่งสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตร
วัตถุประสงค์ของการเขียนหนังสือเล่มนี้ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ตามผลการเรียนรู้ เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ฝึกทักษะ
ตามสาระเพื่อวัดผลประเมินผลตนเอง มีกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิ ต ศาสตร์
การนำ�เสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กบั ศาสตร์อน่ื ๆ ให้เกิด
ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์และมีความเชือ่ มัน่ ในตนเอง และมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ลอดจน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
หนังสือเรียนเล่มนี้ประกอบด้วย 3 หน่วยการเรียนรู้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้ได้มีสาระการเรียนรู้
ระบุผลการเรียนรู้ มีภาพและคำ�ถามเข้าสู่บทเรียน แนวคิดสำ�คัญของแต่ละเรื่อง กิจกรรมตรวจสอบ
การเรียนรู้ กิจกรรมสะเต็มศึกษา/กิจกรรมบูรณาการ บทสรุปเนื้อหาและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เพื่อ
เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ผูเ้ รียบเรียงขอขอบคุณเป็นอย่างสูงทีท่ า่ นได้เลือกใช้หนังสือเรียนเล่มนีเ้ ป็นสือ่ การเรียนรู้ ผูเ้ รียบเรียง
หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า หนังสือเรียนเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ ครู นักเรียน และผูส้ นใจโดยส่งผลต่อการพัฒนา
ทั้งด้านความรู้ ทักษะ ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามเจตนารมณ์ที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตร

ดร.สุนทรีย์ ปาลวัฒน์ชัย
สารบัญ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ตรีโกณมิติ 1
1. ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
1.1 วงกลมหนึ่งหน่วย 3
1.2 ฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ 6
1.3 ค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ 8
1.4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ 20
1.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 26
1.6 การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ 34
1.7 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 37
1.8 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำ�นวนจริงหรือมุม 50
2. ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 63
2.1 ตัวผกผันของฟังก์ชันไซน์ 63
2.2 ตัวผกผันของฟังก์ชันโคไซน์ 65
2.3 ตัวผกผันของฟังก์ชันแทนเจนต์ 66
3. เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ 72
3.1 เอกลักษณ์ 72
3.2 สมการตรีโกณมิติ 76
4. กฎของโคไซน์และกฎของไซน์ 79
4.1 กฎของโคไซน์ 79
4.2 กฎของไซน์ 81
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ 89
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 จำ�นวนเชิงซ้อน 90
1. จำ�นวนเชิงซ้อนและสมบัติของจำ�นวนเชิงซ้อน 92
1.1 จำ�นวนจินตภาพ 92
1.2 จำ�นวนเชิงซ้อน 93
1.3 สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณของจำ�นวนเชิงซ้อน 95
1.4 สังยุคของจำ�นวนเชิงซ้อนและการหารจำ�นวนเชิงซ้อน 100
1.5 รากที่สองของจำ�นวนเชิงซ้อน 102
1.6 กราฟและค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนเชิงซ้อน 105
2. จำ�นวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว 111
3. รากที่ n ของจำ�นวนเชิงซ้อน เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับที่มากกว่า 1 118
4. สมการพหุนามตัวแปรเดียว 122
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 131
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เมทริกซ์ 132
1. เมทริกซ์และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน 134
1.1 เมทริกซ์ 134
1.2 เมทริกซ์สลับเปลี่ยน 140
1.3 การเท่ากันของเมทริกซ์ 141
2. การบวกเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์กับจำ�นวนจริง การคูณระหว่างเมทริกซ์ 146
2.1 การบวกเมทริกซ์ 146
2.2 การคูณเมทริกซ์กับจำ�นวนจริง 152
2.3 การคูณระหว่างเมทริกซ์ 155
3. ดีเทอร์มิแนนต์ 171
3.1 ดีเทอร์มิแนนต์ของ 11 เมทริกซ์ 171
3.2 ดีเทอร์มิแนนต์ของ 22 เมทริกซ์ 171
3.3 ดีเทอร์มิแนนต์ของ nn เมทริกซ์ เมื่อ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกที่มากกว่า 2 172
4. เมทริกซ์ผกผัน 187
4.1 การหาเมทริกซ์ผกผันของ 22 เมทริกซ์ 187
4.2 การหาเมทริกซ์ผกผันของ nn เมทริกซ์ 189
เมื่อ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกที่มากกว่า 2
5. การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ 200
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ 213
ภาคผนวก 214
บรรณานุกรม 220
อภิธานศัพท์ 221
1
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
สาระการเรียนรู้
1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
3 เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
4 กฎของโคไซน์และกฎของไซน์

ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจฟังก์ชันตรีโกณมิติและลักษณะกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา
2. แก้สมการตรีโกณมิติ
และนำ�ไปใช้ในการแก้ปัญหา
3. ใช้กฎของโคไซน์และกฎของไซน์ในการแก้ปัญหา
พลอยยืนอยูบนหอคอยสูง 60 เมตร ใชกลองสองทางไกล
สองไปยังจุด ก ทํามุมกม 30 องศากับเสนแนวระดับสายตา
พลอยจะหาระยะทางจากฐานของหอคอยไปยังจุด ก ไดหรือไม
อยางไร
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3

1. ฟงกชันตรีโกณมิติ

แนวคิดสําคัญ
การกําหนดคาของฟงกชนั ตรีโกณมิตทําไดโดยใช
วงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติประกอบดวย ฟงกชนั ตรีโกณมิตถิ กู นำ�ไปใช้อย่�งกว้�งขว�ง
ฟงกชันไซน ฟงกชันโคไซน ฟงกชันแทนเจนต ฟงกชัน ในคณิตศ�สตรขั้นสูง วิศวกรรมศ�สตรและ
โคแทนเจนต ฟงกชันเซแคนต และฟงกชันโคเซแคนต
วิทย�ศ�สตรแขนงต่�งๆ
ซึ่งกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติมีลักษณะเปนคาบ

1.1 วงกลมหนึ่งหนวย
วงกลมหนึ่งหน่วย หม�ยถึง วงกลมที่มีจุดศูนยกล�งที่จุด (0, 0) และรัศมีย�ว 1 หน่วย ซึ่ง
วงกลมนี้เป็นกร�ฟของคว�มสัมพันธ {(x, y)  RR|x2y2 5 1}
เมื่อกำ�หนดจำ�นวนจริง u (ทีต�) ให้นักเรียนสังเกตผลที่ได้จ�กก�รปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้

กิจกรรม ผลที่ไดจากการปฏิบัติกิจกรรม
Y

(x, y)
u
จ�กจุด (1, 0) วัดระยะไปต�มส่วนโค้งของวงกลม
หนึ่งหน่วยให้ย�ว |u| หน่วย ในทิศทวนเข็มน�ิก� O
X
(1, 0)
จะถึงจุด (x, y) ซึ่งอยู่บนวงกลมหนึ่งหน่วย

ถ้� u 5 0 จุดปล�ยส่วนโค้งคือจุด (1, 0)


Y
จ�กจุด (1, 0) วัดระยะไปต�มส่วนโค้งของวงกลม
หนึ่งหน่วยให้ย�ว |u| หน่วย ในทิศต�มเข็มน�ิก�
จะถึงจุด (x, y) ซึ่งอยู่บนวงกลมหนึ่งหน่วย
X
O (1, 0)
(x, y) u
4 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

รูปต่อไปนีแ้ สดงตำ�แหน่งของจุดปลายส่วนโค้งของวงกลมหนึง่ หน่วยเมือ่ กำ�หนดให้ u มีคา่ ต่างกัน


Y Y

(x, y)
p
u 5
2

X X
O O
(1, 0)
p
u 52
2
(x, y)

Y Y

u 5 p

(x, y) (x, y)
X X
O O
(1, 0)

u 5 2p

Y Y

3p (x, y)
u 5
2

X X
O O
(1, 0)
3p
u52
(x, y) 2

Y Y

u 5 22p
(x, y) (x, y)
X X
O (1, 0) O

u 5 2π
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 5

หมายเหตุ
เมื่อกำ�หนดจำ�นวนจริง u ให้ จะส�ม�รถห�จุด (x, y) ซึ่งเป็นจุดปล�ยส่วนโค้งที่ย�ว
|u| หน่วย ได้เสมอ (ไม่ว�่ u จะเป็นจำ�นวนเท่�ไร) ได้เพียงจุดเดียวเท่�นัน้ และถ้� |u|  2p แสดงว่�
วัดส่วนโค้งเกิน 1 รอบ เพร�ะเส้นรอบวงของวงกลมหนึ่งหน่วยย�ว 2p เรเดียน

มุมที่จุดศูนยกล�งของวงกลมซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลมที่ย�วเท่�กับรัศมีของวงกลมนั้น
เป็นมุมที่มีขน�ดเท่�กับ 1 เรเดียน ดังรูป
Y

(x, y)
u 5 1 5 r
u X
O r 5 1 (1, 0)

จ�กรูป วงกลมมีรัศมีย�ว r หน่วย คว�มย�วส่วนโค้งย�ว r หน่วย จะเรียก u ว่�มุมที่มีขน�ด


1 เรเดียน

หมายเหตุ
ถ้�ให้จุด (x, y) ใดๆ ในวงกลมหนึ่งหน่วยแทนด้วย P(u) แล้ว P(u) 5 P(u2np) สำ�หรับ
ทุกจำ�นวนเต็ม n

แบบฝกหัดที่ 1
จงเขียนวงกลมหนึ่งหน่วยและเขียนจุดปล�ยส่วนโค้งที่ย�ว u หน่วย พร้อมทั้งบอกว่�จุดปล�ย
ส่วนโค้งในแต่ละข้ออยู่ในจตุภ�คใด
π π 2π 7π
1. u 5 2. u 5 3. u 5 4. u 5
6 4 3 6
7π 17π 2π 9π
5. u 5 6. u 5 7. u 5 2 8. u 5 2
4 6 3 4
6 คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.5 เลม 1

1.2 ฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซน
ให้นักเรียนพิจ�รณ�วงกลมหนึ่งหน่วย โดยที่ให้ P(x, y) เป็นจุดใดๆ บนเส้นรอบวงของวงกลม
หนึ่งหน่วย ล�ก PA ตั้งฉ�กกับแกน X ที่จุด A ดังรูป
Y

P(x, y)

y u
u X
O x A (1, 0)

จ�กรูป จะได้รูปส�มเหลี่ยมมุมฉ�ก OAP ซึ่งเมื่อนำ�ม�เขียนเป็นอัตร�ส่วนตรีโกณมิติจะได้ดังนี้


PA y
sin u 5 5 5 y
OP 1
OA x
cos u 5 5 5 x
OP 1
sin u อ่�นว่� ไซนทีต�
cos u อ่�นว่� คอสทีต�
นั่นคือ x 5 cos u และ y 5 sin u

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่�
ตัวหน้�ของคู่อันดับ (x) คือ ค่� cos u
ตัวหลังของคู่อันดับ (y) คือ ค่� sin u
กล่�วคือ จุดบนเส้นรอบวงของวงกลมหนึ่งหน่วยเป็นค่�ของ cos u กับ sin u ดังรูป

Y
cos u sin u
P(x, y)
u
u X
O (1, 0)
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 7

จ�กลักษณะก�รกำ�หนดจุดบนเส้นรอบวงของวงกลมหนึ่งหน่วย พบว่�ทุกครั้งที่มีก�รกำ�หนด
ค่� u จะห�จุด (x, y) ซึ่งเป็นจุดปล�ยของส่วนโค้งที่วัดต�มแนวเส้นรอบวงโดยมีจุดเริ่มต้นที่จุด (1, 0)
ให้ย�ว u หน่วย ได้เพียงจุดเดียวเสมอ กล่�วคือ แต่ละค่�ของ u จะทำ�ให้เกิดค่� x เพียง 1 ค่� และค่� y
เพียง 1 ค่� จ�กคว�มรูด้ งั กล่�วส�ม�รถนำ�ม�สร้�งฟงกชนั โคไซนและฟงกชนั ไซนได้ต�มบทนิย�มต่อไปนี้

บทนิยาม ฟงกชนั ไซน หม�ยถึง ฟงกชนั f : R → R ซึง่ นิย�มว่�


sine 5 {(u, y)  RR|f(u) 5 y}

ถ้� (u, y)  sine แล้วจะเขียนว่� y 5 sine(u) หรือ y 5 sin u

จ�กบทนิย�มอ�จกล่�วได้ว่� ถ้� f(u) 5 (x, y) แล้ว sin u 5 y เนื่องจ�ก f(u) 5 (x, y)


เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ดังนั้น 21  y  1 นั่นคือ ถ้� u  R แล้ว 21  sin u  1
ดังนั้น โดเมนของฟงกชันไซน คือ R
เรนจของฟงกชันไซน คือ [21, 1]

บทนิยาม ฟงกชันโคไซน หม�ยถึง ฟงกชัน g : R → R


ซึ่งนิย�มว่� cosine 5 {(u, x)  RR|g(u) 5 x }

ถ้� (u, x)  cosine แล้วจะเขียนว่� x 5 cosine(u) หรือ y 5 cos u

จ�กบทนิย�มอ�จกล่�วได้ว่� ถ้� g(u) 5 (x, y) แล้ว cos u 5 x เนื่องจ�ก g(u) 5 (x, y)


เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ดังนั้น 21  x  1 นั่นคือ ถ้� u  R แล้ว 21  cos u  1
ดังนั้น โดเมนของฟงกชันโคไซน คือ R
เรนจของฟงกชันโคไซน คือ [21, 1]
เนื่องจ�ก P(u) 5 P(u2np) เมื่อ n เป็นจำ�นวนเต็ม แสดงว่�มีจำ�นวนจริงม�กม�ยที่ไม่เท่�กัน
แต่ให้จดุ ปล�ยส่วนโค้งเป็นจุดเดียวกัน ดังนัน้ ฟงกชนั ไซนและฟงกชนั โคไซนจงึ ไม่เป็นฟงกชนั หนึง่ ต่อหนึง่
π 5π
เช่น ให้ u1 5
2
และ
u2 5
2
จะได้ว่� P(u1) 5 P(u2) 5 (0, 1)
8 คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.5 เลม 1

ดังนั้น และ sin u2 5 1


sin u1 5 1
cos u1 5 0 และ cos u2 5 0
และจ�กสมก�รของวงกลมหนึ่งหน่วย x2y2 5 1, y 5 sin u, x 5 cos u จะได้คว�มสัมพันธ
ของ sin u และ cos u ดังนี้
2 2
(cos u) (sin u) 5 1
2 2
ดังนั้น cos usin u 5 1 เมื่อ u เป็นจำ�นวนจริง

2
cos u หม�ยถึง (cos u)(cos u)
2
cos u หม�ยถึง cos ของจำ�นวนจริง u2
ซึ่ง cos2u  cos u2
คว�มหม�ยของ sin2u และ sin u2
มีคว�มหม�ยในทำ�นองเดียวกัน

1.3 คาของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซน
คาของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซนของจํานวนจริงบางจํานวน
Y
π
2 (0, 1)
จ�กวงกลมหนึ่งหน่วย
p 0
X
นำ�ม�เขียนในรูปต�ร�งได้ดังนี้
(21, 0) O (1, 0)

3p (0, 21)
2

ตำาแหน่งจุดปลายส่วนโคง
จำานวนจริง ()
x y

0 1 0

π
0 1
2

p 21 0


0 21
2
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 9

จ�กบทนิย�มของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซนจึงห�ค่�ของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซนของ
จำ�นวนจริงในต�ร�งได้ดังนี้
sin 0 5 0 cos 0 5 1
π π
sin 5 1 cos 5 0
2 2
sin p 5 0 cos p 5 21
3π 3π
sin 5 21 cos 5 0
2 2

ในทำ�นองเดียวกันจะห�ค่�ของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซนของ 2 π2 , 2p และ 2 3π2 ได้ดังนี้


⎛ π⎞ ⎛ π⎞
sin ⎜ − ⎟ 5 21 cos ⎜ − ⎟ 5 0
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠

sin(2p) 5 0 cos(2p) 5 21

⎛ 3π⎞ ⎛ 3π⎞
sin ⎜ − ⎟ 5 1 cos ⎜ − ⎟ 5 0
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠

สังเกตได้วπ่� ค่�ของ sin u และ cos u เมื่อ u 5
2
โดยที่ n เป็นจำ�นวนเต็ม ห�ได้จ�ก
2

พิกัดของจุดปล�ยส่วนโค้งที่ย�ว 2
หน่วย โดยก�รวัดในทิศท�งที่สอดคล้องกับ u ดังกล่�ว จุดปล�ย
จะเป็นจุดใดจุดหนึ่งในสี่จุดได้แก่ (1, 0), (0, 1), (21, 0) และ (0, 21)
ต่อไปจะพิจ�รณ�ค่�ของ sin u และ cos u โดยแบ่งเป็นกรณีดังนี้
กรณีที่ 1 ค่าของ sin p4 และ cos p4
ให้ P(x, y) เป็นจุดปล�ยส่วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วย ซึ่งมี O เป็นจุดกำ�เนิด
สร้�งรูปส�มเหลี่ยมมุมฉ�ก PAO โดยมี A^ เป็นมุมฉ�ก และ m(AOP
^
) 5
π
4
แสดงว่� PAO เป็นรูปส�มเหลี่ยมหน้�จั่ว
ดังนั้น OA 5 PA Y

นั่นคือ x 5 y (0, 1)
2 2 2 P(x, y)
จ�ก OA PA 5 OP
2 2 2
x y 5 1 X
O A (1, 0)
2 2 (21, 0)
x x 5 1
2
2x 5 1 (0, 21)

2 1
x 5
2
1
x 5 
2
10 คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.5 เลม 1

1
แต่ (x, y) เป็นจุดในจตุภ�คที่ 1 จะได้ x 5
2
1 2
ดังนั้น x 5 y 5 5
2
2
⎛ 2 2⎞
จะได้ว่� จุดปล�ยส่วนโค้งที่ย�ว π4 หน่วย คือ ⎜⎝ 2
, ⎟
2⎠

2
นั่นคือ sin π4 5 cos
π
4
5
2
 0.7071

หมายเหตุ
5π , 7π ..., (2n + 1)π
ค่�ของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซนของจำ�นวนจริง 3π4 , 4 4 4
เมื่อ n
เป็นจำ�นวนเต็ม จะห�ได้โดยอ�ศัยวงกลมหนึ่งหน่วยเช่นกัน

กรณีที่ 2 ค่าของ sin p6 และ cos p6


ให้ P(x, y) เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ซึ่งมี O เป็นจุดกำ�เนิด และ A(1, 0) เป็นจุดบนเส้น
^ π
รอบวงที่อยู่บนแกน X โดย AOP 5
6
และให้ B(0, 1) เป็นจุดบนเส้นรอบวงที่อยู่บนแกน Y
Y

B(0, 1)
P(x, y)
A(1, 0)
X
(21, 0) O
Q(x, 2y)

^ π
เนื่องจ�ก AOB 5
2
^ π π π
จะได้ POB 5 5
3
2
2 6
ให้ Q เป็นจุดในจตุภ�คที่ 4 โดยที่จุด Q สมม�ตรกับจุด P เมื่อมีแกน X เป็นแกนสมม�ตร
^ ^ π
ดังนั้น จุด Q คือ (x, 2y) และ AOQ 5 AOP 5
6
ล�กเส้น PB และ PQ จะพบว่� POB  POQ
ดังนั้น PB 5 PQ
2 2 2 2
นั่นคือ (x − 0) + (y − 1) 5 (x − x) + (y + y)
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 11

2 2 2
x (y21) 5 (2y)
2 2 2
x y 22y1 5 4y .....(1)
2 2
เนื่องจ�ก P(x, y) เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ดังนั้น x y 5 1 นำ�ไปแทนค่�ใน (1) จะได้
2
122y1 5 4y
2
4y 2y22 5 0
2
2y y21 5 0
(2y21)(y1) 5 0
1
y 5 , 21
2
1
แต่ (x, y) เป็นจุดในจตุภ�คที่ 1 จะได้ y 5
2
2 2
จ�กสมก�ร x y 5 1
2
2 ⎛ 1⎞
x ⎜ ⎟ 5 1
⎝ 2⎠
2 1
x 5 1
4
2 3
x 5
4
3
x 5 
2
3
แต่ (x, y) เป็นจุดในจตุภ�คที่ 1 จะได้ x 5
2
⎛ 1⎞
ดังนั้น จุดปล�ยส่วนโค้งที่ย�ว π6 หน่วย คือ ⎜⎝ 23 , ⎟
2⎠
π 1
นั่นคือ sin
6
5
2
5 0.5

π 3
cos 5  0.8660
6 2

หมายเหตุ
ค่�ของฟงกชนั ไซนและฟงกชนั โคไซนของจำ�นวนจริงในรูป 2np π6 , 2np 5π6 , 2np 7π6
และ 2np 11π
6
เมื่อ n เป็นจำ�นวนเต็ม จะห�ได้โดยอ�ศัยวงกลมหนึ่งหน่วยเช่นกัน
12 คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.5 เลม 1

กรณีที่ 3 ค่าของ sin p3 และ cos p3


ให้จุด P(x, y) เป็นจุดบนส่วนโค้ง AB ที่ทำ�ให้ส่วนโค้ง AP ย�ว π3 หน่วย ให้จุด Q เป็นภ�พ
สะท้อนของจุด P(x, y) โดยมีแกน Y เป็นเส้นสะท้อน ดังรูป
Y

B(0, 1)
P(x, y)
Q(2x, y)

X
C O A(1, 0)

จ�กรูปจะได้ว่� พิกัดของจุด Q คือ (2x, y) และส่วนโค้ง CQ ย�ว π3 หน่วย


เนื่องจ�กส่วนโค้งของครึ่งวงกลมนี้ย�ว p หน่วย
ดังนั้นส่วนโค้ง PQ ย�ว π3 หน่วยด้วย
จะได้ว่� ระยะท�งระหว่�งจุด PQ ย�วเท่�กับระยะท�งระหว่�งจุด PA
นั่นคือ PQ 5 PA
2 2 2 2
(x + x) + (y − y) 5 (x − 1) +(y − 0)

2 2 2
(x + x) 5 (x − 1) + y
2 2 2
4x 5 x 22x1y
2
4x 2x22 5 0 ( เนื่องจ�ก x2y2 5 1)
2(2x21)(x1) 5 0
1
x 5 , 21
2
1
แต่ (x, y) เป็นจุดในจตุภ�คที่ 1 จะได้ x 5 2
2 2
จ�กสมก�ร x y 5 1
2
⎛ 1⎞ 2
⎜⎝ ⎟⎠ y 5 1
2
1 2
y 5 1
4
2 3
y 5
4

3
y 5 
2
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 13

3
แต่ (x, y) เป็นจุดในจตุภ�คที่ 1 จะได้ y 5
2
⎛ 3⎞
ดังนั้น จุดปล�ยส่วนโค้งที่ย�ว π3 หน่วย คือ ⎜⎝ 12 , ⎟
2⎠
π 3
นั่นคือ sin
3
5
2
 0.8660

π 1
cos 5 5 0.5
3 2

หมายเหตุ
ค่�ของฟงกชนั ไซนและฟงกชนั โคไซนของจำ�นวนจริงในรูป 2np π3 , 2np 2π3 , 2np 4π3
และ 2np 5π3 เมื่อ n เป็นจำ�นวนเต็ม จะห�ได้โดยอ�ศัยวงกลมหนึ่งหน่วยเช่นกัน

คาของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซนของจํานวนจริงใดๆ
พิจ�รณ�ค่�ของ sin u และ cos u เมื่อ u เป็นจำ�นวนจริงใดๆ โดยแบ่งเป็นกรณีดังนี้
กรณีที่ 1 การหาค่าของ sin() และ cos() เมื่อ  เปนจำานวนจริงบวก
ถ้�กำ�หนดให้ u เป็นจำ�นวนจริงบวกแล้ว 2u จะเป็นจำ�นวนจริงลบ ก�รห�ค่�ของ sin(2u) และ
cos(2u) ห�ได้จ�ก sin u และ cos u ซึ่งมีคว�มสัมพันธกันด้วยคว�มสัมพันธที่จะกล่�วต่อไปนี้
สมมุติให้จุด P(u) 5 (x, y)
เนื่องจ�ก P(u) เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ซึ่งวัดจ�กจุด A(1, 0) ไปในทิศทวนเข็มน�ิก�ด้วย
คว�มย�ว |u| หน่วย
และ P(2u) เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ซึ่งวัดจ�กจุด A(1, 0) ไปในทิศต�มเข็มน�ิก�ด้วย
คว�มย�ว |u| หน่วย เช่นกัน
ดังนั้น จุด P(u) และจุด P(2u) จะสมม�ตรกันโดยมีแกน X เป็นแกนสมม�ตร แสดงว่�
จุด P(2u) 5 (x, 2y) ดังรูป
Y

P(u) 5 (x, y)

X
u
O 2u
A(1, 0)

P(2u) 5 (x, 2y)


14 คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.5 เลม 1

จ�กบทนิย�มของฟงกชันไซนและฟงกชันโคไซน จะได้ว่�
sin u 5 y และ sin(2u) 5 2y
cos u 5 x และ cos(2u) 5 x
ดังนั้น จึงสรุปคว�มสัมพันธระหว่�ง sin u กับ sin(2u) และ cos u กับ cos(2u) ได้ดังนี้
sin(2u) 5 2sin u
cos(2u) 5 cos u

ตัวอย่างที่ 1
จงห�ค่�ของ sin ⎛⎜⎝ − π3⎞⎟⎠ และ cos ⎛⎜⎝ − π3⎞⎟⎠
π 3 π 1
วิธีทำา เนื่องจ�ก sin
3
5
2
และ cos
3
5
2
⎛ π⎞ π 3
ดังนั้น sin ⎜ − ⎟
⎝ 3⎠
5 2sin
3
5 2
2
⎛ π⎞ π 1
และ cos ⎜ − ⎟
⎝ 3⎠
5 cos
3
5
2
ตอบ

กรณีที่ 2 การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ   2p

ถ้� u  2p และห�ร u ด้วย 2p แล้วได้ n เหลือเศษ  (แอลฟ�) นั่นคือ u เมื่อ


5 2np
n เป็นจำ�นวนเต็มบวก และ 0   , 2p
เนื่องจ�ก P(2np) 5 P()
ดังนั้น P(u) 5 P()
จึงสรุปคว�มสัมพันธในก�รห� sin u และ cos u เมื่อ u  2p ได้ดังนี้

sin u 5 sin(2np) 5 sin 


cos u 5 cos(2np) 5 cos 

สังเกตได้ว่� ถ้�ห�ค่�ของฟงกชันไซนและฟงกชัน
โคไซนของจำ�นวนจริงที่มีค่�ตั้งแต่ 0 ถึง 2p ได้แล้ว
จะห�ค่ � ของฟ ง ก ชั น ไซน แ ละฟ ง ก ชั น โคไซน ข อง
จำ�นวนจริงบวกทุกจำ�นวนได้ด้วย ซึ่งจะทำ�ให้ห�ค่�
ของฟงกชนั ไซนและฟงกชนั โคไซนของจำ�นวนจริงลบ
ทุกจำ�นวนได้เสมอ
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 15

ตัวอย่างที่ 2
⎛ − 13π⎞
จงห�ค่�ของ sin 37π
6
และ cos ⎜
⎝ 4 ⎟⎠

วิธีทำา เนื่องจ�ก 37π


6
5 6p
π
6
5 (32p)
π
6

37π ⎛ π⎞ π 1
ดังนั้น sin 5 sin ⎜ (3 × 2π) + ⎟ 5 sin 5
6 ⎝ 6⎠ 6 2
⎛ − 13π⎞ 13π ⎛ 5π⎞ 5π 2
และ cos ⎜
⎝ 4 ⎟⎠
5 cos
4
5 cos ⎜ 2π + ⎟
⎝ 4⎠
5 cos
4
5 2
2
ตอบ

กรณีที่ 3 การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ p2 ,  , p


ให้ P(x, y) เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ซึ่งมี O เป็นจุดกำ�เนิด และ A(1, 0) เป็นจุดบน
เส้นรอบวงที่อยู่บนแกน X ท�งด้�นบวก พิจ�รณ�รูปของมุม u ต่อไปนี้
Y

(0, 1)
P(x, y)

u X
(21, 0) O A(1, 0)

(0, 21)

จ�กรูป ถ้�ให้แกน Y เป็นแกนสมม�ตร จะได้ว่� จุด Q(2x, y) จะเป็นจุดที่สมม�ตรกับ


จุด P(x, y) ดังรูป Y

(0, 1)
Q(2x, y) P(x, y)

u u X
(21, 0) O A(1, 0)

(0, 21)

เนื่องจ�กต้องก�รห�มุมที่มี OA เป็นด้�นเริ่มต้น และ OQ เป็นด้�นสิ้นสุด ดังนั้นขน�ดของมุม


ดังกล่�วเท่�กับ p2u เรเดียน ดังรูป Y

(0, 1)
Q(2x, y) P(x, y)
p2u
u X
(21, 0) O A(1, 0)

(0, 21)
16 คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.5 เลม 1

เพร�ะว่� Q เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีพิกัดตัวหน้�เป็น 2x และพิกัดตัวหลังเป็น y


จะได้ว่� cos(p2u) 5 2x
sin(p2u) 5 y
แต่ x 5 cos u และ y 5 sin u

π
ดังนั้น sin(p2u) 5 sin u เมื่อ 0 , u ,
2
π
cos(p2u) 5 2cos u เมื่อ 0 , u ,
2

ตัวอย่างที่ 3

กำ�หนดให้ sin π9 5 0.34 และ cos π9 5 0.94

จงห�ค่�ของ sin 8π9 และ cos 8π9


8π ⎛ π⎞ π
วิธีทำา sin
9
5 sin ⎜ π − ⎟
⎝ 9⎠
5 sin
9
5 0.34

8π ⎛ π⎞ π
cos
9
5 cos ⎜ π − ⎟
⎝ 9⎠
5 2cos
9
5 20.94 ตอบ

3p
กรณีที่ 4 การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ p ,  ,
2
ให้ P(x, y) และ Q(2x, y) เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย ซึ่งมี O เป็นจุดกำ�เนิด และ A(1, 0) เป็น
จุดบนเส้นรอบวงที่อยู่บนแกน X ท�งด้�นบวก โดยที่จุด Q(2x, y) เป็นจุดที่สมม�ตรกับจุด P(x, y) จ�ก
รูปข้�งล่�ง ถ้�ใช้แกน X เป็นแกนสมม�ตร และห�จุดที่สมม�ตรกับจุด Q จะได้ R(2x, 2y) เป็นจุดที่
สมม�ตรกับจุด Q ดังรูป
Y

(0, 1)
Q(2x, y) P(x, y)

u u X
u O
(21, 0) A(1, 0)
R(2x, 2y)
(0, 21)

จ�กรูป พบว่�จุด P และจุด R อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน


หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 17

แต่เนื่องจ�กต้องก�รห�มุมที่มี OA เป็นด้�นเริ่มต้น และ OR เป็นด้�นสิ้นสุด ดังนั้นขน�ดของ


มุมดังกล่�วเท่�กับ pu เรเดียน ดังรูป
Y

(0, 1)

pu
u O X
(21, 0) A(1, 0)
R(2x, 2y)
(0, 21)

เพร�ะว่� R เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีพิกัดตัวหน้�เป็น 2x และพิกัดตัวหลังเป็น 2y


จะได้ว่� cos(pu) 5 2x
sin(pu) 5 2y
แต่ x 5 cos u และ y 5 sin u
π
ดังนั้น sin(pu) 5 2sin u เมื่อ 0 , u ,
2
π
cos(pu) 5 2cos u เมื่อ 0 , u ,
2

ตัวอย่างที่ 4
กำ�หนดให้ sin π9 5 0.34 และ cos π9 5 0.94

จงห�ค่�ของ sin 10π


9
และ cos 10π
9

10π ⎛ π⎞ π
วิธีทำา sin
9
5 sin ⎜ π +
⎝ ⎟
9⎠
5 2sin
9
5 20.34

10π ⎛ π⎞ π
cos
9
5 cos ⎜ π + ⎟
⎝ 9⎠
5 2cos
9
5 20.94 ตอบ

3p
กรณีที่ 5 การหาค่าของ sin  และ cos  เมื่อ 2
,  , 2p

ในทำ�นองเดียวกัน ส�ม�รถทำ�ต่อเนื่องจ�กกรณีที่ 4 โดยใช้แกน Y เป็นแกนสมม�ตร ห�จุดที่


สมม�ตรกับจุด R จะได้จุด S(x, 2y) เป็นจุดที่สมม�ตรกับจุด R ดังรูป
Y

(0, 1)
Q(2x, y) P(x, y)

O u X
u u
(21, 0) A(1, 0)
R(2x, 2y) S(x, 2y)
(0, 21)
18 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

เนื่องจากต้องการหามุมที่มี OA เป็นด้านเริ่มต้น และ OS เป็นด้านสิ้นสุด ดังนั้นขนาดของมุม


ดังกล่าวเท่ากับ 2p2u เรเดียน ดังรูป
Y

(0, 1)

2p2u
X
O u A(1, 0)
(21, 0)
S(x, 2y)
(0, 21)

เพราะว่า S เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีพิกัดตัวหน้าเป็น x และพิกัดตัวหลังเป็น 2y


จะได้ว่า cos(2p2u) 5 x
sin(2p2u) 5 2y
แต่ x 5 cos u และ y 5 sin u
π
ดังนั้น
sin(2p2u) 5 2sin u เมื่อ 0 , u ,
2
π

cos(2p2u) 5 cos u เมื่อ 0 , u ,
2

ตัวอย่างที่ 5
กำ�หนดให้ sin π9 5 0.34 และ cos π9 5 0.94

จงหาค่าของ sin 17π


9
และ cos
17π
9

17π ⎛ π⎞ π
วิธีทำ� sin
9
 5 sin ⎜ 2π − ⎟
⎝ 9⎠
5 2sin
9
5 20.34

17π ⎛ π⎞ π
cos
9
5 cos ⎜ 2π − ⎟
⎝ 9⎠
5 cos
9
5 0.94 ตอบ
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 19

แบบฝกหัดที่ 2
1. จงพิจ�รณ�ว่�จุดปล�ยส่วนโค้งที่ย�ว u หน่วย อยู่ในจตุภ�คใด
(1) sin u  0 (2) sin u  0 และ cos u , 0
(3) sin u , 0 และ cos u  0 (4) sin u , 0 และ cos u , 0
(5) cos u  0 (6) sin u cos u  0
(7) cos u , 0 (8) sin u cos u , 0
2. จงห�พิกัดของจุดปล�ยของส่วนโค้งแต่ละจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วยต่อไปนี้
Y
2p
3p 3 p
4 3
5p C p
D
6 E B 4 p
F A 6
X
7p O (1, 0)
6 G
H L
5p I K 11p
4 4p J 6
5p 7p
3
3 4

3. จงห�ค่�ของ sin u และ cos u เมื่อ u เป็นจำ�นวนจริงต่อไปนี้


9π 7π
(1) 5p (2) 23p (3) (4) 2 (5) 64p
2 2
27π 13π
(6) 247p (7) (8) 2 (9) 31p (10) 266p
2 2
9π 13π 19π 21π 23π
(11) (12) (13) (14) (15) 2
4 3 6 4 6
29π 17π 100π 201p 95π
(16) 2 (17) 2 (18) (19) 2 (20) 2
3 6 3 4 6

4. ถ้� cos2u2sin2u 5
1
2
เมื่อ 3π2  u  2p จงห�ค่�ของ sin u
5. จงพิจ�รณ�แต่ละข้อต่อไปนี้ว่�เป็นจริงหรือเป็นเท็จ
(1) ค่�ของ sin ⎛⎜⎝ − 3π2 ⎞⎟⎠ มีค่�เท่�กับ sin π2
(2) ถ้� π2  u  p แล้ว cos u  sin u
20 คณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.5 เลม 1

(3) ค่� cos u เพิ่มขึ้นเมื่อ 0  u  p

(4) ถ้� 3π2  u  2p แล้ว 21  cos u  1 และ 21  sin u  0

(5) มีจำ�นวนจริง u ที่ทำ�ให้สมก�ร cos u 5 3 เป็นจริง


6. กำ�หนดให้ sin 12π 5 0.26 และ cos 12π 5 0.97 จงห�ค่�ของ
⎛ π⎞ ⎛ π⎞
(1) sin ⎜ − ⎟ (2) cos ⎜ − ⎟
⎝ 12⎠ ⎝ 12⎠
11π 13π
(3) cos (4) sin
12 12
23π 25π
(5) sin (6) cos
12 12
π
7. กำ�หนดให้ 0  u 
2
และ sin u 5 0.42 จงห�ค่�ของ
(1) cos u (2) sin(p2u)
(3) cos(p2u) (4) cos(u22p)
(5) sin(2p2u) (6) cos(pu)

1.4 ฟงกชันตรีโกณมิติอื่นๆ
นอกจ�กฟงกชนั ไซนและฟงกชนั โคไซนทกี่ ล่�วม�แล้ว ยังมีฟง กชนั ตรีโกณมิตทิ สี่ �ำ คัญอีก 4 ฟงกชนั
ต่อไปนี้

บทนิยาม กำ�หนดให้ u เป็นจำ�นวนจริง


1. ฟงกชันแทนเจนต คือฟงกชันที่นิย�มว่�
sin θ
tangent u 5
cos θ
เมื่อ cos u  0

2. ฟงกชันโคแทนเจนต คือฟงกชันที่นิย�มว่�
cos θ
cotangent u 5
sin θ
เมื่อ sin u  0

3. ฟงกชันเซแคนต คือฟงกชันที่นิย�มว่�
1
secant u 5
cos θ
เมื่อ cos u  0

4. ฟงกชันโคเซแคนต คือฟงกชันที่นิย�มว่�
1
cosecant u 5
sin θ
เมื่อ sin u  0
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 21

จากบทนิยามจะพบว่า ฟังก์ชันทั้งสี่ฟังก์ชัน นิยามในรูปของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์


กล่าวคือถ้าทราบค่าของ sin u และ cos u แล้วจะทราบค่าของฟังก์ชนั ตรีโกณมิตอิ นื่ ๆ ทีเ่ หลือของจำานวนจริง
u ได้

หมายเหตุ
เพื่อความสะดวก จะใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้แทนฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
tangent u จะเขียนแทนด้วย tan u อ่านว่า แทนทีตา
cotangent u จะเขียนแทนด้วย cot u อ่านว่า คอตทีตา
secant u จะเขียนแทนด้วย sec u อ่านว่า เซกทีตา
cosecant u จะเขียนแทนด้วย cosec u หรือ csc u อ่านว่า โคเซกทีตา

นอกจากนี้ถ้าพิจารณาถึงโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันทั้งสี่จะพบว่า
(2n − 1)π
1. โดเมนของฟังก์ชัน tan และ sec คือ R2{x  R|x 5
2
;nI }
2. โดเมนของฟังก์ชัน cot และ cosec คือ R2{x  R|x 5 np ; n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชัน tan และ cot คือ R
และ 4. เรนจ์ของฟังก์ชัน sec และ cosec คือ R2{x  R|21 , x , 1 }
cos θ
เนื่องจาก cot u 5
sin θ
เมื่อ sin u  0

1 1
จะได้ว่า cot u 5
sin θ
5
tan θ
cos θ

1
ดังนั้น cot u 5
tan θ
เมื่อ tan u  0 หรือ sin u  0

sin θ
และเนื่องจาก tan u 5
cos θ
เมื่อ cos u  0

2
2 ⎛ sin θ ⎞
จะได้ว่า 11tan u 5 11 ⎜
⎝ cos θ ⎟⎠
2
sin θ
5 11 2
cos θ
2 2
cos θ + sin θ
5 2
cos θ
1
5 2
cos θ
2
5 sec u
22 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

2 2
ดังนั้น 11tan u 5 sec u เมื่อ cos u  0

นอกจากความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติข้างต้น อาจหาความสัมพันธ์ระหว่าง cot u กับ


cosec u ได้ในทำานองเดียวกัน ซึ่งจะได้ความสัมพันธ์ดังนี้

2 2
11cot u 5 cosec u เมื่อ sin u  0

เมื่อฟังก์ชันตรีโกณมิติที่กำาหนดใหม่ทั้งหมดมีค่าขึ้นอยู่กับค่าของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์
ดังนั้น จึงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติเมื่อกำาหนด u ตั้งแต่ 0 ถึง π2 ได้ดังตารางต่อไปนี้

p p p p
 0
ฟังก์ชัน 6 4 3 2

1 2 3
sine 0 1
2 2 2

3 2 1
cosine 1 0
2 2 2

3
tangent 0
3
1 3 ไม่นิยาม

cosecant ไม่นิยาม 2 2 2 3 1
3

2 3
secant 1
3
2 2 ไม่นิยาม
3
cotangent ไม่นิยาม 3 1
3
0
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 23

ตัวอย่างที่ 6
π
จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันของ 6
1 3
วิธีทำ� เนื่องจาก sin π6 5
2
และ cos π6 5
2
โดยบทนิยามจะได้
π 1
sin
π 6 2 1 3
tan
6
5 π
5 5 5
3
cos 3 3
6 2
π 1 1
cosec
6
5 π
5
1
5 2
sin
6 2
π 1 1 2 2 3
sec
6
5 π
5 5 5
3
cos 3 3
6 2
π 1 1
cot
6
5 π
5
1
5 3 ตอบ
tan
6 3

ตัวอย่างที่ 7
จงหาค่าของ cosec 9π2 และ cot 9π2

cos
9π 1 9π 2
วิธีทำ� cosec
2
5 9π
cot
2
5 9π
sin sin
2 2
⎛ π⎞
cos⎜ 4π + ⎟
1 ⎝ 2⎠

5
5
⎛ π⎞
⎛ π⎞
sin ⎜ 4π + ⎟ sin ⎜ 4π + ⎟
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠
π
cos
1 2

5
π

5
π
sin sin
2 2
1 0

5 5
1 1

5 1
5 0 ตอบ
24 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

ตัวอย่างที่ 8
จงหาค่าของ cosec 5p และ cot 5p
1 cos 5π
วิธีทำ� cosec 5p 5 sin 5π
cot 5p 5 sin 5π
1 cos(4π + π)

5
sin(4π + π)

5
sin(4π + π)
1 cos π

5
sin π

5
sin π
1 −1

5
0
5
0
ดังนั้น ไม่นิยาม cosec 5p ดังนั้น ไม่นิยาม cot 5p ตอบ

ตัวอย่างที่ 9
จงหาค่าของ sin 4π3 cos π6 2sin π3 cos 5π6
4π 5π
วิธีทำ� sin
3
π π
cos 2sin cos
6 3 6
5 sin ⎛⎜⎝ π + π3⎞⎟⎠ cos π6 2sin π3 cos ⎛⎜⎝ π − π6⎞⎟⎠
π π π⎛ π⎞
5 2sin cos 2sin ⎜ − cos ⎟
3 6 3 ⎝ 6⎠
π π π π
5 2sin cos 1sin cos
3 6 3 6

5 0 ตอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 25

แบบฝกหัดที่ 3

1. จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันของจำานวนต่อไปนี้ (ถ้าหาค่าได้)
π
(1) (2) p
2
π 2π
(3) (4)
4 3
7π 7π
(5) (6) 2
6 4

(7) (8) 27p
3
2 π
2. กำาหนดให้ sin A 5
3
และ 2
, A , p จงหาค่าของ
(1) cos A (2) tan A
(3) sec A (4) cosec A
(5) cot A
5 π
3. กำาหนดให้ sec2u1tan2u 5
2
และ 0 , u ,
2
จงหาค่าของ cos u
4. กำาหนดให้ tan u 5 3 และ cos u , 0 จงหาค่าของ cosec u1sec u
5. จงหาค่าของ
2 3π 4π π
(1) cos 3p tan 2 3 tan cosec
4 3 6
5π 2 7π 3π 4π
(2) sin 1tan 1 6 cos sin
6 6 4 3

4π ⎛ 7π⎞ π 2 3π
(3) 5 sec cos ⎜ − ⎟ cosec 1cos(2p)tan
3 ⎝ 4⎠ 4 4
3π 3π 2 5π 7π
(4) sin 1tan p cos 2cot 1sin
2 2 6 6
2 π 2π 2 11π 2π
(5) cos 1sin 1sin 1cos
3 3 6 6
26 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

1.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
มุมและการวัดมุม
^
กำาหนดส่วนของเส้นตรง OP ต้องการสร้าง POQ ให้มีขนาด 608 โดยใช้โพรแทรกเตอร์วัดขนาด
ของมุม ทำาได้โดยวางโพรแทรกเตอร์ทบั ส่วนของเส้นตรง OP ซึง่ วัดขนาดของมุมทีต่ อ้ งการสร้างได้ 2 แบบ
คือ วัดในทิศทวนเข็มนาิกา และวัดในทิศตามเข็มนาิกา ดังรูป
Q

608
O P
608

Q9

เรียกจุด O ว่าจุดยอดของมุม
เรียก OP ว่าด้านเริ่มต้นของมุม
เรียก OQ หรือ OQ9 ว่าด้านสิ้นสุดของมุม
การวัดขนาดของมุมทำาได้โดยวัดจากด้านเริ่มต้นไปยังด้านสิ้นสุด โดยการบอกขนาดของมุม
มีข้อตกลงดังนี้
ถ้าวัดมุมในทิศทวนเข็มนาิกา ขนาดของมุมจะเป็นจำานวนบวก
ถ้าวัดมุมในทิศตามเข็มนาิกา ขนาดของมุมจะเป็นจำานวนลบ
หน่วยในการวัดมุมทีน่ ยิ มใช้ คือ องศา เขียนแทนด้วย 8 โดยถือว่ามุมทีเ่ กิดจากการหมุนส่วนของ
เส้นตรงไปครบหนึ่งรอบมีขนาด 360 องศา และแบ่งหน่วยองศาออกเป็นหน่วยย่อยคือ ลิปดา (9) และ
พิลิปดา ()
18 5 60
1 5 60

หน่วยวัดมุมที่สำาคัญอีกหน่วยหนึ่งคือ เรเดียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 27

ให้นักเรียนพิจารณารูปต่อไปนี้

O
r

จากรูปข้างต้นพบว่าวงกลมนีม้ รี ศั มียาว r หน่วย ซึง่ รองรับด้วยส่วนโค้งของวงกลมทีย่ าว a หน่วย


จะมีขนาด ar เรเดียน และถ้าให้ขนาดของมุมดังกล่าวเป็น u เรเดียน
a
จะได้ u 5
r
เนือ่ งจากมุมทีจ่ ดุ ศูนย์กลางของวงกลมทีม่ รี ศั มียาว r หน่วย ทีไ่ ด้จากการหมุนรัศมีไปครบ 1 รอบ
มีขนาด 2p เรเดียน แต่มุมดังกล่าวเมื่อวัดเป็นองศาวัดได้ 360 องศา
ดังนั้น 360 องศา เท่ากับ 2p เรเดียน
หรือ 180 องศา เท่ากับ p เรเดียน
π
กล่าวคือ 1 องศา 5 180 เรเดียน  0.01745 เรเดียน
180
และ 1 เรเดียน 5
π
องศา  578 18

หมายเหตุ
การเขียนขนาดของมุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียนมักจะไม่เขียนหน่วยกำากับไว้ ดังนั้น ถ้า
กล่าวถึงขนาดของมุมโดยไม่มีหน่วยกำากับ ให้ถือว่ามุมนั้นมีหน่วยเป็นเรเดียน

ตัวอย่างที่ 10
จงเขียนมุม 2 เรเดียน ให้มีหน่วยเป็นองศา
วิธีทำา เนื่องจาก p เรเดียน เท่ากับ 180 องศา
2 × 180
ดังนั้น 2 เรเดียน เท่ากับ π
องศา
 2(578 18)
 1148 36
ดังนั้น มุม 2 เรเดียน มีค่าประมาณ 1148 36 ตอบ
28 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

ตัวอย่างที่ 11
จงเขียนมุม 65 องศา ให้มีหน่วยเป็นเรเดียน
วิธีทำ� เนื่องจาก 180 องศา เท่ากับ p เรเดียน
65 × π
ดังนั้น 65 องศา เท่ากับ 180
เรเดียน
5 13π
36
เรเดียน
13π
ดังนั้น มุม 65 องศา เท่ากับ 36
เรเดียน ตอบ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
เมื่อจุดยอดของมุมๆ หนึ่งอยู่ที่จุด (0, 0) และด้านเริ่มต้นของมุมนั้นทาบไปตามแกน X ทางบวก
จะกล่าวว่ามุมนั้นอยู่ในตำ�แหน่งมาตรฐาน
Y Y

u X X
O O u

u  0 u,0

จากรูป กำ�หนดให้มุม u อยู่ในตำ�แหน่งมาตรฐาน แต่เนื่องจากส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่


รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางขนาด 1 เรเดียนนั้นจะต้องยาว 1 หน่วย ดังนั้น ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย
ที่รองรับมุมที่จุดศูนย์กลางขนาด u เรเดียน จึงยาว u หน่วย
และจากรูปสังเกตได้ว่า จุดที่ด้านสิ้นสุดของมุมขนาด u เรเดียน ตัดกับวงกลมหนึ่งหน่วยนั้นมี
เพียงจุดเดียวและเป็นจุดเดียวกันกับจุดปลายส่วนโค้งที่วัดจากจุด (1, 0) ยาว |u| หน่วย ในทิศทางที่
สอดคล้องกับ u
กล่าวคือ เมือ่ กำ�หนดมุมขนาด u เรเดียนให้หนึง่ มุม จะหาจุดทีด่ า้ นสิน้ สุดของมุมนัน้ ตัดกับวงกลม
หนึ่งหน่วยได้เพียงจุดเดียว และจุดนั้นจะเป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว |u| หน่วยด้วย หรือส่วนโค้งของ
วงกลมหนึ่งหน่วยที่รองรับมุม u เรเดียน จะยาว |u| หน่วย จะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะใช้วิธีวัดมุมหรือ
วัดความยาวส่วนโค้งของวงกลม จุดที่ด้านสิ้นสุดของมุมตัดกับวงกลมหนึ่งหน่วยจะเป็นจุดเดียวกับ
จุดปลายของส่วนโค้ง จึงสรุปได้ว่า ไม่ว่าจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติในแง่ของมุมหรือในแง่ของความยาว
ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่รองรับมุม ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำ�นวนจริงนั้นๆ จะมีค่าเท่ากัน
เช่น sin u อาจหมายถึง sin ของมุมที่มีขนาด u เรเดียน หรือ sin ของจำ�นวนจริง u ก็ได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 29

ตัวอย่างที่ 12
จงหาค่าของ cos 608 sin 608
π
วิธีทำ� เนื่องจาก
608 5
3
เรเดียน
π π
ดังนั้น
cos 608 sin 608 5 cos
3
sin
3
1 3
5 ?
2 2
3
5 4
ตอบ

ตัวอย่างที่ 13
จงหาค่าของ cosec(23908)
1
วิธีทำ� เนื่องจาก cosec(23908) 5 sin(− 390°)
และ sin(23908) 5 2sin 3908
5 2sin(36081308)
5 2sin 308
5 2sin π6
5 2 12
1
ดังนั้น cosec(23908) 5 1
5 22 ตอบ

2

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
พิจารณาฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากต่อไปนี้
Y
C

A
X
O D F B
(21, 0)
30 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

^ ^
ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมี ABC เป็นมุมฉาก ดังนั้น BAC , 908 ให้ a, b
^
และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ของรูปสามเหลี่ยม ABC ตามลำาดับ ให้ BAC อยู่
ในตำาแหน่งมาตรฐาน ส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่รองรับมุม A คือ ส่วนโค้ง FE
ดังนั้น sin A 5 sin (ความยาวส่วนโค้ง FE) 5 DE
cos A 5 cos (ความยาวส่วนโค้ง FE) 5 AD
เนื่องจาก ADE  ABC
DE BC AD AB
ดังนั้น AE
5
AC
และ AE
5
AC
แต่ AE 5 1
BC a AB c
ดังนั้น DE 5
AC
5
b
และ AD 5
AC
5
b
a c
นั่นคือ sin A 5
b
, cos 5
b
a
sin A b a
และจะได้ tan A 5
cos A
5
c
5
c
b
จากที่กล่าวมานี้ สรุปได้ว่า
ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A
sin A 5
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านประชิดมุม A
cos A 5
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A
tan A 5
ความยาวของด้านประชิดมุม A

ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ของมุม A หาได้จากส่วนกลับของค่าของฟังก์ชันทั้งสามนี้


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 31

ตัวอย่างที่ 14
กำ�หนดให้มุม A เป็นมุมแหลม และ cos A 5 23 จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เหลือทั้งหมดของ
มุม A
วิธีทำ� ให้ a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ของรูปสามเหลี่ยม ABC ตาม
ลำ�ดับ ซึ่งมี b 5 2 และ c 5 3
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัสจะได้ว่า a 5 32 − 22 5 5 หน่วย จึงสร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ABC ได้ดังนี้

3 5

A C
2

5
ดังนั้น sin A 5
3
3 3 5
cosec A 5 5
5 5
5
tan A 5
2
2 2 5
cot A 5 5
5 5
3
และ sec A 5
2
ตอบ

ตัวอย่างที่ 15
กำ�หนดให้มุม A เป็นมุมแหลม และ cot A 5 5 x จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เหลือทั้งหมดของ
มุม A
วิธีทำ� โจทย์ก�ำ หนดให้ cot A 5 5 x สามารถสร้างรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ABC ทีม่ มี มุ C เป็นมุมฉาก
โดยสร้างให้ด้านประชิดมุม A ยาว 5 x หน่วย และด้านตรงข้ามมุม​A ยาว 1 หน่วย
นั่นคือ ถ้าให้ a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ของรูปสามเหลี่ยม
ABC ตามลำ�ดับ
จะได้ว่า a 5 1 และ b 5 5 x
32 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

2
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัสจะได้ว่า C 5 1 + 5x จึงสร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ได้ดังนี้
B

2
C 5 1+ 5x
a 5 1

A C
b 5 5x

1
ดังนั้น sin A 5
2
1 + 5x

2
cosec A 5 1 + 5x

5x
cos A 5
2
1 + 5x

2
1 + 5x
sec A 5
5x
1
และ tan A 5 ตอบ
5x

แบบฝกหัดที่ 4
1. จงเขียนมุมหน่วยเรเดียนในแต่ละข้อให้เป็นหน่วยองศา
2π 5π
(1) (2) 2
3 3

(3) (4) 3p
9
11π
(5) 2
18
2. จงเขียนมุมหน่วยองศาในแต่ละข้อให้เป็นหน่วยเรเดียน
(1) 758 (2) 188
(3) 1058 (4) 22408
(5) 28808
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 33

3. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีมุมสองมุมที่มีขนาด 458 และ 2π3 เรเดียน จงหาขนาดของมุมที่เหลือ


ในหน่วยเรเดียน
4. จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันของมุมต่อไปนี้
(1) 1208 (2) 1358
(3) 22408 (4) 6908
5. จงหาค่าของ
2 2 2
(1) sin 12081sin 15081tan 458 [
(2) 2 cos(22258)1sin(608) ]
2 2
tan(− 480°) + sin 840° 3 tan 225° − cosec 330°
(3) (4)
cos(− 390°) cot 135°

6. กำาหนดให้ cot u 5 3 และ sin u , 0 จงหาค่าของ cos u


tan 145° − tan 125°
7. ถ้า tan 358 5 x จงหาค่าของ 1 + tan 145° tan 125°

8. กำาหนดให้มุม A เป็นมุมแหลม และ sin A 5 27 จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เหลือ


ทั้งหมดของมุม A
9. กำาหนดให้มมุ A เป็นมุมแหลม และ cos A 5 p จงหาค่าของฟังก์ชนั ตรีโกณมิตทิ เี่ หลือทัง้ หมด
ของมุม A
34 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

1.6 การใช้ตารางค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
นักคณิตศาสตร์ได้สร้างตารางแสดงค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำ�นวนจริงบางจำ�นวนในช่วง
⎡ π⎤
⎢0, 2 ⎥ หรือของมุมบางมุมที่มีขนาดตั้งแต่ 08 ถึง 908 ดังแสดงในตารางภาคผนวก
⎣ ⎦

หลักการอ่านค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ของจำ�นวนจริงหรือมุมจากตาราง

π
ถ้าอ่านค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำ�นวนจริงหรือมุมตั้งแต่ 0 ถึง 4
ให้ดูทางด้านซ้ายของตาราง โดยอ่านจากบนลงล่าง

π π
ถ้าอ่านค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำ�นวนจริงหรือมุมตั้งแต่ 4
ถึง 2
ให้ดูทางด้านขวาของตาราง โดยอ่านจากล่างขึ้นบน

Degrees Radians Sine Tangent Cotangent Cosine

34° 00́ 5934 5592 .6745 1.4826 .8290 .9774 56° 00


10́ 5963 .5616 .6787 1.4733 .8274 .9745 50́
20́ .5992 .5640 .6830 1.4641 .8258 .9716 40́
เช่น 30́
40́
.6021 .5664 .6876 1.4550 .8241 .9687 30́
.6050 .5688 .6916 1.4460 .8225 .9657 20́
50́ .6080 .5712 .6959 1.4370 .8208 .9628 10́
35° 00́ .6109 .5736 .7002 1.4281 .8192 .9599 55° 00́
10́ .6138 .5760 .7046 1.4193 .8175 .9570 50́
20́ .6167 .5783 .7089 1.4106 .8158 .9541 40́
30́ .6196 .5807 .7133 1.4019 .8141 .9512 30́
40́ .6225 .5831 .7177 1.3634 .8124 .9483 20́
50́ .6254 .5854 .7221 1.3848 .8107 .9454 10́
Cosine Cotangent Tangent Sine Radians Degrees


sin 348 309 5 0.5664
cos 0.6138 5 0.8175
tan 558 409 5 1.4641
cot 0.9628 5 0.6959
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 35

หมายเหตุ
ในตารางแสดงเฉพาะค่าของฟังก์ชันไซน์ (sine) ฟังก์ชันแทนเจนต์ (tangent) ฟังก์ชัน
โคแทนเจนต์ (cotangent) และฟังก์ชนั โคไซน์ (cosine) ส่วนค่าของฟังก์ชนั โคเซแคนต์ (cosecant) และ
ฟังก์ชันเซแคนต์ (secant) หาได้โดยอาศัยฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ ดังนี้
1 1
cosec u 5
sin θ
และ sec u 5
cos θ

ตัวอย่างที่ 16
จงหาค่าของ
(1) sin 408 179 (2) cos 408 179
วิธีทำา เนื่องจาก 408 109 , 408 179 , 408 209
(1) จากตารางจะได้ว่า
sin 408 109 5 0.6450
7 x
มุมเพิ่มขึ้น 10 sin 408 179 5 ? ค่าฟังก์ชันเพิ่มขึ้น 0.0022
sin 408 209 5 0.6472
7 x
จะได้ 5
0.0022
10
7 × 0.0022
x 5 5 0.00154
10
ดังนั้น sin 408 179 5 0.645010.00154
5 0.64654 ตอบ
(2) จากตารางจะได้ว่า
cos 408 109 5 0.7642
7 y
มุมเพิ่มขึ้น 10 cos 408 179 5 ? ค่าฟังก์ชันลดลง 0.0019
cos 408 209 5 0.7623

7 y
จะได้ 5
0.0019
10
7 × 0.0019
y 5 5 0.00133
10
ดังนั้น cos 408 179 5 0.764220.00133
5 0.76287 ตอบ
36 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

แบบฝกหัดที่ 5
1. จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติจากตาราง
(1) sin 248 409 (2) cos 728

(3) tan 558 209 (4) cot 418 509

(5) sin 688 209 (6) cos 358 309

2. จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำานวนจริงจากตาราง
(1) sin 0.3142 (2) cos 1.2566

(3) tan 0.3985 (4) cot 1.1723

(5) sin 0.9657 (6) cos 0.6050

3. กำาหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มี B เป็นมุมฉาก มุม A มีขนาด 25 องศา และ


มีด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 15 เซนติเมตร จงหาความยาวด้าน AB และ BC (ตอบเป็นทศนิยม
2 ตำาแหน่ง)

4. PQR เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มุม P มีขนาด 70 องศา มุม R มีขนาด 50 องศา ด้าน PQ ยาว 10

เซนติเมตร จาก Q ลากส่วนของเส้นตรงลงมาตั้งฉากกับด้าน PR ที่จุด O จงหาความยาวของ


ด้านต่อไปนี้ (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำาแหน่ง)
(1) QO (2) OP

(3) QR (4) OR

5. จงหาความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วซึ่งมีความสูง 10 นิ้ว และมีมุมยอด


ขนาด 140 องศา (ตอบเป็นทศนิยม 2 ตำาแหน่ง)
6. นายธนายืนสังเกตการณ์อาคารหลังหนึ่งโดยยืนห่างออกไปในแนวราบ 40 เมตร เขามองเห็น
ยอดอาคารและเสาอากาศซึ่งอยู่บนยอดอาคารเป็นมุมเงย 34 องศา และ 42 องศา ตามลำาดับ
จงหาความสูงโดยประมาณของเสาอากาศบนยอดของอาคารหลังนี้ (ตอบเป็นทศนิยม 2
ตำาแหน่ง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 37

1.7 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ในการแก้ปัญหาไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางคณิตศาสตร์ ปัญหาเกี่ยวกับแสงและเสียงในวิชาฟสิกส์
ปัญหาทางดาราศาสตร์และปัญหาด้านภูมิศาสตร์ บางครั้งจำาเป็นต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับกราฟของ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ดังนั้นจึงควรศึกษาลักษณะและการเขียนกราฟของฟังก์ชันไซน์ ฟังก์ชันโคไซน์และ
ฟังก์ชันอื่นๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

กชัน ไซน
กราฟของฟง
ให้ (x, y)  sine
จะได้ y 5 sine x หรือเขียนสั้นๆ ว่า y 5 sin x

เพื่อความสะดวก จะหากราฟของฟังก์ชันไซน์ในช่วง [0, 2p] ก่อน โดยหาค่าของฟังก์ชันไซน์จาก


แต่ละค่าของ x ที่กำาหนดให้ โดยพิจารณาเป็น 2 ช่วง ดังนี้
ช่วงที่ 1 กราฟของ y  sin x เมื่อ 0 < x < p โดยที่ x แทนความยาวส่วนโค้งเป็น
เรเดียน
π π π π 2π 3π 5π
x 0 p
6 4 3 2 3 4 6

1 2 3 3 2 1
sin x 0 1 0
2 2 2 2 2 2

เมื่อหาค่าได้ครบทั้งหมด จะได้ว่ากราฟของ y 5 sin x เมื่อ 0 < x < p มีลักษณะดังนี้


Y

1
3
2
2
2
1
2

X
0 p p p p 2p 3p 5p p
6 4 3 2 3 4 6
38 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

ช่วงที่ 2 กราฟของ y  sin x เมื่อ p < x < 2p โดยที่ x แทนความยาวส่วนโค้ง


เป็นเรเดียน
7π 5π 4π 3π 5π 7π 11π
x p 2p
6 4 3 2 3 4 6

1 2 3 3 2 1
sin x 0 2 2 2 21 2 2 2 0
2 2 2 2 2 2

เมื่อหาค่าได้ครบทั้งหมด จะได้ว่ากราฟของ y 5 sin x เมื่อ p < x < 2p มีลักษณะดังนี้


Y

7π 5π 4π 3π 5π 7π 11π
6 4 3 2 3 4 6
X
0 p 2p

1
2
2
2
2
2
3
2
2
21

จากนั้นนำ�กราฟทั้ง 2 ช่วงมารวมกัน จะได้กราฟของ y 5 sin x เมื่อ 0 < x < 2p มีลักษณะ


ดังนี้
Y

X
0 π π π π 2π 3π 5π p 7π 5π 4π 3π 5π 7π 11π 2p
6 4 3 2 3 4 6 6 4 3 2 3 4 6

21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 39

สังเกตได้ว่า
π
 ขณะที่ u เพิ่มจาก 0 ถึง กราฟของ y 5 sin u จะเริ่มจาก 0 และสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึง 1
2
π
 ขณะที่ u เพิ่มจาก 2
ถึง p กราฟของ y 5 sin u จะเริ่มจาก 1 และลดลงไปเรื่อยๆ จนถึง 0

 ขณะที่ u เพิ่มจาก p ถึง 2
กราฟของ y 5 sin u จะเริ่มจาก 0 และลดลงไปเรื่อยๆ จนถึง 21

 ขณะที่ u เพิ่มจาก 2
ถึง 2p กราฟของ y 5 sin u จะเริ่มจาก 21 และสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึง 0

พิจารณากราฟของ y 5 sin x ต่อไปนี้


Y

1 y 5 sin x

X
22p 2p 0 p 2p 3p 4p

21

จากกราฟดังกล่าว เนื่องจาก sin(2np1u) 5 sin u เมื่อ n เป็นจำานวนเต็มใดๆ จะพบว่าในช่วง


[2p, 4p] หรือในช่วง [22p, 0] ลักษณะของกราฟจะเหมือนกับกราฟในช่วง [0, 2p] และจะมีลักษณะเช่นนี้
ไปเรื่อย ๆ ฟังก์ชันที่มีลักษณะเช่นนี้เรียกว่า ฟังก์ชันที่เป็นคาบ และคาบของฟังก์ชันดังกล่าวเท่ากับ 2p
ซึ่งก็คือความยาวของช่วงจาก 0 ถึง 2p นั่นเอง
ในกรณีที่ฟังก์ชันที่เป็นคาบมีค่าตำ่าสุดและค่าสูงสุด จะเรียกค่าที่เท่ากับครึ่งหนึ่งของผลต่างของ
ค่าสูงสุดกับค่าต่ำาสุดของฟังก์ชันนั้นว่า แอมพลิจูด
นั่นคือ ถ้า a และ b เป็นค่าสูงสุดและค่าตำำ่าสุดของฟังก์ชันที่เป็นคาบตามลำาดับ จะได้ว่า
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน เท่ากับ 12 (a2b)
เช่น ฟังก์ชัน y 5 sin x
ค่าสูงสุดของฟังก์ชัน y 5 sin x เท่ากับ 1
ค่าตำ่าสุดของฟังก์ชัน y 5 sin x เท่ากับ 21
1
ดังนั้น แอมพลิจูดของฟังก์ชันเท่ากับ 2
(12(21)) 5 1
40 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1


 ก ช
 ันโคไซ น
กรา ฟ ข อ ง ฟ
ให้ (x, y)  cosine
จะได้ y 5 cosine x หรือเขียนสั้นๆ ว่า y 5 cos x

ในทำานองเดียวกันกับการเขียนกราฟของ y 5 sin x จะเขียนกราฟของ y 5 cos x ได้ดังนี้


π π π π 2π 3π 5π 7π 5π 4π 3π 5π 7π 11π
x 0 p 2p
6 4 3 2 3 4 6 6 4 3 2 3 4 6

3 2 1 1 2 3 3 2 1 1 2 3
cos x 1 0 2 2 2 21 2 2 2 0 1
2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2

X
0 p p p p 2p 3p 5p p 7p 5p 4p 3p 5p 7p 11p 2p
6 4 3 2 3 4 6 2
6 4 3 3 4 6

21

สังเกตได้ว่า
π
 ขณะที่ u เพิ่มจาก 0 ถึง กราฟของ y 5 cos u จะเริ่มจาก 1 และลดลงไปเรื่อยๆ จนถึง 0
2
π
 ขณะที่ u เพิ่มจาก 2
ถึง p กราฟของ y 5 cos u จะเริ่มจาก 0 และลดลงไปเรื่อยๆ จนถึง 21

 ขณะที่ u เพิ่มจาก p ถึง 2
กราฟของ y 5 cos u จะเริ่มจาก 21 และสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึง 0

 ขณะที่ u เพิ่มจาก 2
ถึง 2p กราฟของ y 5 cos u จะเริ่มจาก 0 และสูงขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึง 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 41

พิจารณากราฟของ y 5 cos x ต่อไปนี้


Y

X
0 2p 3p 4p
22p 2p p
1

จากกราฟดังกล่าว เนื่องจาก cos(2np1u) 5 cos u เมื่อ n เป็นจำ�นวนเต็มใดๆ จะพบว่าในช่วง


[2p, 4p] หรือในช่วง [22p, 0] ลักษณะของกราฟจะเหมือนกับกราฟในช่วง [0, 2p] และจะมีลักษณะเช่นนี้
ไปเรื่อยๆ ดังนั้น ฟังก์ชันโคไซน์เป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ และคาบของฟังก์ชันดังกล่าวเท่ากับ 2p ซึ่งก็คือ
ความยาวของช่วงจาก 0 ถึง 2p นั่นเอง
ทำ�นองเดียวกันกับกราฟของฟังก์ชันไซน์จะได้ว่าแอมพลิจูดของกราฟของ y 5 cos x เท่ากับ 1

สรุปลักษณะของฟังก์ชันไซน์
1. โดเมนของฟังก์ชัน คือ เซตของจำ�นวนจริง
นั่นคือ Dr 5 {x|x  R}
2. เรนจ์ของฟังก์ชัน คือ [21, 1]
นั่นคือ Rr 5 {y|21  y  1}
3. ฟังก์ชัน y 5 sin x ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
4. ฟังก์ชันไซน์มีคาบเท่ากับ 2π และมีแอมพลิจูดเท่ากับ 1
5. การบอกลักษณะของฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลดทำ�ได้โดยดูจาก
กราฟ เช่น ในช่วง ⎛⎜⎝ − π2 , π2 ⎞⎟⎠ ฟังก์ชันไซน์เป็นฟังก์ชันเพิ่ม

สรุปลักษณะของฟังก์ชันโคไซน์
1. โดเมนของฟังก์ชัน คือ เซตของจำ�นวนจริง
นั่นคือ Dr 5 {x|x  R}
2. เรนจ์ของฟังก์ชัน คือ [21, 1]
นั่นคือ Rr 5 {y|21  y  1}
3. ฟังก์ชัน y 5 cos x ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
4. ฟังก์ชันโคไซน์มีคาบเท่ากับ 2π และมีแอมพลิจูดเท่ากับ 1
5. การบอกลักษณะของฟังก์ชันเพิ่มและฟังก์ชันลดทำ�ได้โดยดูจาก
กราฟ เช่น ในช่วง (0, π) ฟังก์ชันโคไซน์เป็นฟังก์ชันลด
42 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

ตัวอย่างที่ 17
จงเขียนกราฟของ y 5 3 cos x พร้อมทั้งหาโดเมน เรนจ์ คาบและแอมพลิจูดของฟังก์ชัน
3π π π 3π
วิธีทำ� x 22p 2
2
2p 2
2
0
2
p
2
2p

cos x 1 0 21 0 1 0 21 0 1

3 cos x 3 0 23 0 3 0 23 0 3

จากตารางนำ�มาเขียนกราฟได้ดังนี้
Y

3 y 5 3 cos x

2
y 5 cos x
1

X
22p 2 3p 2p 2
p 0 p p 3p 2p
2 2 21 2 2

22
23

จากกราฟจะเห็นว่า กราฟของ y 5 cos x และ y 5 3 cos x ตัดแกน X ที่จุดเดียวกัน


โดเมนของฟังก์ชัน y 5 3 cos x คือ เซตของจำ�นวนจริง
เรนจ์ของฟังก์ชัน y 5 3 cos x คือ [23, 3]
คาบของฟังก์ชัน y 5 3 cos x เท่ากับ 2p
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน y 5 3 cos x เท่ากับ 3 − 2(− 3) 5 3 ตอบ

ตัวอย่างที่ 18
จงเขียนกราฟของ y 5 cos 3x พร้อมทั้งหาโดเมน เรนจ์ คาบ และแอมพลิจูดของฟังก์ชัน
11π 5π 3π 4π 7π 5π 2π π π π
วิธีทำ� x 22p 2
6
2
3
2
2
2
3
2
6
2p 2
6
2
3
2
2
2
3
2
6
0

cos 3x 1 0 21 0 1 0 21 0 1 0 21 0 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 43

π π π 2π 5π 7π 4π 3π 5π 11π
x p 2p
6 3 2 3 6 6 3 2 3 6

cos 3x 0 21 0 1 0 21 0 1 0 21 0 1

จากตารางนำ�มาเขียนกราฟได้ดังนี้
Y
1

X
3p 0 p 3p
22p 2p 2
p p 2p
2
2 2 2 2
21

จากกราฟจะเห็นว่า กราฟของ y 5 cos 3x ตัดแกน X ที่จุด (x, 0) เมื่อ x คือ


11π 3π 7π 5π π π π π 5π 7π 3π 11π
..., 2
6
, 2 ,2
2 6
,2
6
,2 ,2 , , ,
2 6 6 2 6
,
6
,
2
,
6
, ...

โดเมนของฟังก์ชัน y 5 cos 3x คือ เซตของจำ�นวนจริง


เรนจ์ของฟังก์ชัน y 5 cos 3x คือ [21, 1]

คาบของฟังก์ชัน y 5 cos 3x เท่ากับ
3
1 − (− 1)
แอมพลิจูดของฟังก์ชัน y 5 cos 3x เท่ากับ 2
5 1 ตอบ

จากตัวอย่างที่ 17 และ 18 สรุปเป็นกรณีทั่วไปได้ดังนี้

ฟังก์ชันไซน์ ฟังก์ชันโคไซน์
f : R → R, f(x) 5 sin(nx), n . 0 f : R → R, f(x) 5 cos(nx), n . 0

คาบเท่ากับ 2πn คาบเท่ากับ 2πn


แอมพลิจูดเท่ากับ 1 แอมพลิจูดเท่ากับ 1
เรนจ์คือ [21, 1] เรนจ์คือ [21, 1]
f : R → R, f(x) 5 a sin(nx), n . 0 f : R → R, f(x) 5 a cos(nx), n . 0

คาบเท่ากับ 2πn คาบเท่ากับ 2πn


แอมพลิจูดเท่ากับ |a| แอมพลิจูดเท่ากับ |a|
เรนจ์คือ [2a, a], a . 0 เรนจ์คือ [2a, a], a . 0
44 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

เมื่อทราบคาบและแอมพลิจูดของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่กำ�หนดให้แล้ว จะสามารถร่างกราฟของ
ฟังก์ชันดังกล่าวได้ง่ายขึ้นดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 19
จงเขียนกราฟของ y 5 3 sin 2x เมื่อ 2p < x < p
วิธีทำ� จาก y 5 3 sin 2x
จะได้ แอมพลิจูดเท่ากับ |3| 5 3
และคาบเท่ากับ 2π2 5 p

เขียนกราฟของ y 5 3 sin 2x เมื่อ 2p < x < p ได้ดังนี้


Y

X
2p 2
p 0 p p
2 2
21

22

23
ตอบ

การเขียนกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ มีข้อควรสังเกตเกี่ยวกับโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
ตรีโกณมิติ ดังตารางต่อไปนี้

ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์


⎧ (2n − 1)π ⎫
แทนเจนต์ R2 ⎨ x  R|x = ;n  I⎬ R
⎩ 2 ⎭

โคแทนเจนต์ { |
R2 x  R x 5 np ; n  I } R

⎧ (2n − 1)π ⎫
เซแคนต์ R2 ⎨ x  R|x = ;n  I⎬ { |
R2 x  R 21 , x , 1 }
⎩ 2 ⎭

โคเซแคนต์ { |
R2 x  R x 5 np ; n  I } { |
R2 x  R 21 , x , 1 }
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 45

เนื่องจากโดเมนของฟังก์ชันแทนเจนต์ ฟังก์ชันโคแทนเจนต์ ฟังก์ชันเซแคนต์ และฟังก์ชัน


โคเซแคนต์ ไม่ใช่เซตของจำ�นวนจริง จึงจะแสดงการเขียนกราฟของฟังก์ชันข้างต้นไว้เป็นตัวอย่างดังนี้

ตัวอย่างที่ 20
π
จงเขียนกราฟของ y 5 tan x เมื่อ 2 π , x ,
2
2

π π π π π π
วิธีทำ� x 2
3
2
4
2
6
0
6 4 3

3 3
tan x 2 3 21 2 0 1 3
3 3

y 5 tan x
3 ⎛π ⎞
⎜ , 3⎟
⎝ 3 ⎠
⎛ π ⎞
1 ⎜ , 1⎟
⎝ 4 ⎠
3 ⎛ ⎞
3 ⎜π , 3 ⎟
⎜ 6 3 ⎟
⎝ ⎠
X
p p p p 0 p p p p
2 2 2 2
2 3 4 6 6 4 3 2
3
⎛ ⎞
⎜− π , − 3 ⎟
2
3
⎜ 6 3 ⎟⎠
⎝
⎛ π ⎞ 21
⎜− , −1⎟
⎝ 4 ⎠
⎛ π ⎞
⎜− , − 3⎟ 2 3
⎝ 3 ⎠

จากกราฟจะเห็นว่า
เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นจาก 0 เข้าใกล้ π2
 ค่าของ tan x จะเป็นจำ�นวนบวกและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

π
 เส้นกราฟจะโค้งเข้าหาเส้นตรง x 5
2
π
 เมื่อ x 5
2
จะหาค่าของ tan x ไม่ได้
46 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

เมื่อ x มีค่าลดลงจาก 0 เข้าใกล้ 2 π2


 ค่าของ tan x จะเป็นจำ�นวนลบและลดลงเรื่อยๆ

π
 เส้นกราฟจะโค้งเข้าหาเส้นตรง x 5 2
2

 เมื่อ x 5 2 π2 จะหาค่าของ tan x ไม่ได้


ในทำ�นองเดียวกัน
เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นจาก p เข้าใกล้ 3π2
 ค่าของ tan x จะเป็นจำ�นวนบวกและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ


 เส้นกราฟจะโค้งเข้าหาเส้นตรง x 5
2

 เมื่อ x 5
2
จะหาค่าของ tan x ไม่ได้
เมื่อ x มีค่าลดลงจาก 2p เข้าใกล้ 2 3π2
 ค่าของ tan x จะเป็นจำ�นวนลบและลดลงเรื่อยๆ


 เส้นกราฟจะโค้งเข้าหาเส้นตรง x 5 2
2

 เมื่อ x 5 2
2
จะหาค่าของ tan x ไม่ได้
ดังนั้น ในการเขียนกราฟดังกล่าว ถ้าลากเส้นประ x 5 π2 หรือ x 5 2 π2 เสียก่อนจะช่วย
ให้เขียนกราฟได้ง่ายขึ้น แต่เส้นประดังกล่าวนั้นมิได้เป็นส่วนหนึ่งของกราฟ เรียกเส้นประที่มิได้เป็น
ส่วนหนึ่งของกราฟ แต่เส้นกราฟโค้งเข้าหาว่า เส้นกำ�กับ ต่อไปให้นักเรียนพิจารณากราฟของ y 5 tan
5π 5π
x เมื่อ 2 , x ต่อไปนี้
2 2
Y

X
5p 3p 0 3p
22p 2p p p p 2p 5p
2
2
2
2
2
2 2 2 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 47

หมายเหตุ
จากรูปจะเห็นว่า ฟังก์ชันแทนเจนต์เป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ และมีคาบเท่ากับ p

เขียนกราฟของฟังก์ชนั โคเซแคนต์ ฟังก์ชนั เซแคนต์ และกราฟของฟังก์ชนั โคแทนเจนต์ ซึง่ ค่าของ


ฟังก์ชันเหล่านี้เมื่อ x เป็นส่วนกลับของค่าของฟังก์ชันไซน์ ฟังก์ชันโคไซน์ และฟังก์ชันแทนเจนต์ที่ x
ตามลำาดับ ได้ดังนี้
กราฟของ y 5 cosec x
Y

p 3p
2
2 1 2
X
22p 3p 2p 0 p p 2p 5p 3p
2 21
2 2 2

กราฟของ y 5 sec x

3p p 1 p 3p 5p
2
2
2
2 2 2 2
X
22p 2p 0 p 2p
21
48 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

กราฟของ y 5 cot x

X
2p p 0 π p 3p 2p 5p
2
2 2 2 2

หมายเหตุ
จากรูป จะเห็นว่า ฟังก์ชันโคเซแคนต์เป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ และมีคาบเท่ากับ 2p ฟังก์ชัน
เซแคนต์เป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ และมีคาบเท่ากับ 2p และฟังก์ชันโคแทนเจนต์เป็นฟังก์ชันที่เป็น
คาบ และมีคาบเท่ากับ p

แบบฝกหัดที่ 6
1. จงหาคาบของฟังก์ชันต่อไปนี้
(1) y 5 sin 4x (2) y 5 22 cos(2x)
1 2πx
(3) y 5 cos px (4) y 5 0.008 sin 11
3 3
2. จงหาแอมพลิจูดของฟังก์ชันต่อไปนี้
x
(1) y 5 sin 3x (2) y 5 2cos
3
(3) 2y 5 0.1 sin x (4) 4y 5 23 cos 2x
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 49

3. จงเขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้
(1) y 5 2 sin x (2) y 5 sin 2x
1
(3) y 5 sin(2x) (4) y 5 cos x
2
x
(5) y 5 2cos (6) y 5 3 cos 2x
2
x
(7) y 5 2 sin 2x11 (8) y 5 22 cos 11
3
4. จงเขียนฟังก์ชันตรีโกณมิติจากกราฟต่อไปนี้
(1)
Y

0 X
22p 2p p 2p 3p 4p 5p
22

(2)

X
22p 2p 0 p 2p 3p 4p 5p
22
50 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

1.8 ฟงก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลตางของ
จํานวนจริงหรือมุม
พิจารณาค่าของ cos(A2B) เมื่อ A, B เป็นจำานวนจริงหรือมุมใดๆ จากรูปต่อไปนี้
Y

P2(x2, y2) P3(x3, y3)


P1(x1, y1)

X
O P(1, 0)

บนวงกลมหนึ่งหน่วย ให้ส่วนโค้ง PP1 ยาว B หน่วย


และส่วนโค้ง PP2 ยาว A หน่วย
ดังนั้น ส่วนโค้ง P1P2 ยาว A2B หน่วย
ให้ P3 เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วยที่ทำาให้ส่วนโค้ง PP3 ยาวเท่ากับส่วนโค้ง P1P2
ดังนั้น ส่วนโค้ง PP3 ยาว A2B หน่วย
ให้พิกัดของจุด P1, P2, P3 เป็น (x1, y1), (x2, y2) และ (x3, y3) ตามลำาดับ
เนื่องจากส่วนโค้ง PP3 ยาวเท่ากับส่วนโค้ง P1P2
ดังนั้น คอร์ด PP3 ยาวเท่ากับคอร์ด P1P2
2 2
นั่นคือ PP 3 5 P1P 2
2 2 2 2
(x321) 1(y320) 5 (x22x1) 1(y22y1)
2 2 2 2 2 2
x 3 22x3111 y 3 5 x 2 22x2x11 x1 1 y 2 22y2y11 y1
22x312 5 22x2x122y2y112
x3 5 x2x11y2y1 ..........(1)
เนื่องจากจุด (x1, y1), (x2, y2) และ (x3, y3) เป็นจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว B, A และ A2B หน่วย
ตามลำาดับ
จะได้ x1 5 cos B y1 5 sin B
x2 5 cos A y2 5 sin A
x3 5 cos(A2B)
จากสมการ (1) จะได้

cos(A2B) 5 cos A cos B1sin A sin B


หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 51

จากสมการ (1) เป็นการหาโคไซน์ของผลต่างระหว่างจำานวนจริงสองจำานวนหรือมุมสองมุม ใน


ที่นี้จะนำาความสัมพันธ์ cos(A2B) ไปใช้ในการหาฟังก์ชันอื่นๆ คือ cos(A1B), sin(A1B) และ sin(A2B)
ได้ดังนี้
cos(A1B) 5 cos(A2(2B))
5 cos A cos(2B)1sin A sin(2B)
5 cos A cos B2sin A sin B

ดังนั้น cos(A1B) 5 cos A cos B2sin A sin B

⎛π ⎞ π π
เนื่องจาก cos ⎜ − θ⎟ 5 cos cos u1sin sin u
⎝2 ⎠ 2 2

⎛π ⎞
cos ⎜ − θ⎟ 5 sin u
⎝2 ⎠
⎛π ⎞
ให้ u 5 A จะได้ cos ⎜ − A⎟ 5 sin A
⎝2 ⎠

⎛π ⎞
หรือ sin A 5 cos ⎜ − A⎟
⎝2 ⎠

⎛π ⎞
จาก cos ⎜ − A⎟ 5 sin A
⎝2 ⎠
π π
ให้ B 5
2
2A จะได้ A 5
2
2B

⎛π ⎞
จาก cos ⎜ − A⎟ 5 sin A
⎝2 ⎠
⎛π ⎛π ⎞⎞ ⎛π ⎞
cos ⎜ − ⎜ − B⎟ ⎟ 5 sin ⎜ − B⎟
⎝ 2 ⎝ 2 ⎠⎠ ⎝2 ⎠

⎛π ⎞
ดังนั้น cos B 5 sin ⎜ − B⎟
⎝2 ⎠

⎛π ⎞
sin(A1B) 5 cos ⎜ − (A + B)⎟
⎝2 ⎠

⎛⎛ π ⎞ ⎞
5 cos ⎜ ⎜ − A⎟ − B⎟
⎝⎝ 2 ⎠ ⎠
⎛π ⎞ ⎛π ⎞
5 cos ⎜ − A⎟ cos B1sin ⎜ − A⎟ sin B
⎝2 ⎠ ⎝ 2 ⎠

5 sin A cos B1cos A sin B


52 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

ดังนั้น sin(A1B) 5 sin A cos B1cos A sin B

sin(A2B) 5 sin(A1(2B))
sin(A2B) 5 sin A cos(2B)1cos A sin(2B)
5 sin A cos B1cos A(2sin B)
5 sin A cos B2cos A sin B

ดังนั้น sin(A2B) 5 sin A cos B2cos A sin B

ในการหาความสัมพันธ์ของ tan(A1B) จะอาศัยความสัมพันธ์ของ sin(A1B) และ cos(A1B)


ดังนี้
sin (A1B)
tan(A1B) 5
cos(A1B)
sin A cos B + cos A sin B
5
cos A cos B − sin A sin B
sin A cos B cos A sin B
+
cos A cos B cos A cos B
5
cos A cos B sin A sin B
เมื่อ cos A  0,

cos A cos B cos A cos B cos B  0

tan A + tan B
5
1 − tan A tan B

tan A + tan B
ดังนั้น tan(A1B) 5
1 − tan A tan B

ในทำานองเดียวกัน จะได้ว่า
tan A − tan B
tan(A2B) 5
1 + tan A tan B

จากที่กล่าวมา สามารถสรุปค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำานวนจริงหรือ
ของมุมได้ดังนี้
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 53

sin(A1B) 5 sin A cos B1cos A sin B


sin(A2B) 5 sin A cos B2cos A sin B
cos(A1B) 5 cos A cos B2sin A sin B
cos(A2B) 5 cos A cos B1sin A sin B
tan A + tan B
tan(A1B) 5
1 − tan A tan B
tan A − tan B
tan(A2B) 5
1 + tan A tan B

ตัวอย่างที่ 21
จงหาค่าของ sin 5π
12
5π π π
วิธีทำา เนื่องจาก 12
5 1
4 6
จาก sin(A1B) 5 sin A cos B1cos A sin B

5π ⎛ π π⎞
จะได้ sin
12
5 sin ⎜ + ⎟
⎝ 4 6⎠
π π π π
5 sin cos 1cos sin
4 6 4 6
⎛ 2 ⎞ ⎛ 3 ⎞ ⎛ 2 ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜ ⎟⎜ ⎟ +⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2⎠

6 2 6+ 2
5
4
+
4
5
4
ตอบ

ตัวอย่างที่ 22
จงหาค่าของ cos 158
วิธีทำา เนื่องจาก 158 5 4582308
จาก cos(A2B) 5 cos A cos B1sin A sin B
จะได้ cos 158 5 cos(4582308)
5 cos 458 cos 3081sin 458 sin 308

⎛ 2 ⎞ ⎛ 3 ⎞ ⎛ 2 ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜ ⎟⎜ ⎟ +⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2⎠

6 2 6+ 2
5
4
+
4
5
4
ตอบ
54 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

หมายเหตุ
⎛π ⎞
จากตัวอย่างที่ 22 อาจหาค่าของ cos 158 โดยใช้ความสัมพันธ์ cos B 5 sin ⎜ − A⎟ ได้
⎝2 ⎠
ดังนี้
π ⎛π π ⎞ 5π 6+ 2
cos 158 5 cos 5 sin ⎜ − ⎟ 5 sin 5
12 ⎝ 2 12⎠ 12 4

ตัวอย่างที่ 23
จงหาค่าของ tan 12π
π π π
วิธีทำา เนื่องจาก 12
5 2
4 6
tan A − tan B
จาก tan(A2B) 5
1 + tan A tan B

π ⎛ π π⎞
จะได้ tan
12
5 tan ⎜ − ⎟
⎝ 4 6⎠
π π
tan − tan
4 6
5 π π
1 + tan tan
4 6
1
1−
3
5
⎛ 1⎞
1 + (1)⎜ ⎟
⎝ 3⎠

3 −1
3
5
3 +1
3

3 −1
5
3 +1

3 −1 3 −1
5 
3 +1 3 −1

3− 3 − 3 +1
5
3−1

4−2 3
5
2
5 22 3 ตอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 55

ตัวอย่างที่ 24
จงหาค่าของ sin 79.88 cos 10.281cos 79.88 sin 10.28
วิธีทำ� เนื่องจาก sin A cos B1cos A sin B 5 sin(A1B)
จะได้ว่า sin 79.88 cos 10.281cos 79.88 sin 10.28 5 sin(79.88110.28)
5 sin 908
5 1 ตอบ
ตัวอย่างที่ 25
3 5
กำ�หนดให้ π2 , A , p และ π
2
, B , p ถ้า sin A 5
5
และ cos B 5 2
13
แล้วจงหา
sec(A1B)
2 2
วิธีทำ� เนื่องจาก sin A1cos A 5 1
2
⎛ 3⎞ 2
จะได้ ⎜⎝ ⎟⎠ 1cos A 5 1
5

2 9 16
cos A 5 12
25
5
25
4
cos A 5 6
5
π 4
แต่ 2
, A , p จะได้ cos A 5 2 5
2 2
และเนื่องจาก sin B1cos B 5 1
2
2 ⎛ 5⎞
จะได้ sin B1 ⎜ − ⎟
⎝ 13⎠
5 1
2 25 144
sin B 5 12 169
5
169
12
sin B 5 6 13
π 12
แต่ 2
, B , p จะได้ sin B 5 13
เพราะว่า
cos(A1B) 5 cos A cos B2sin A sin B

⎛ 4 ⎞ ⎛ 5 ⎞ ⎛ 3⎞ ⎛ 12⎞
5 ⎜⎝ − ⎟ ⎜− ⎟ 2
5 ⎠ ⎝ 13⎠ ⎜⎝ 5⎟⎠ ⎜⎝ 13⎟⎠
20 36
5 −
65 65

5 216
65
1 1 65
ดังนั้น sec(A1B) 5 cos(A + B)
5
16
5 2
16
ตอบ

65
56 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

เมื่อทราบค่าของ cos A, sin A และ tan A จะสามารถหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำานวนซึ่ง


เป็นสองเท่าของ A ได้โดยอาศัยค่าของ cos(A1B) และ sin(A1B) ได้ดังนี้
เนื่องจาก sin 2A 5 sin(A1A)
5 sin A cos A1cos A sin A
5 2 sin A cos A

ดังนั้น sin 2A 5 2 sin A cos A

นอกจากนี้ยังสามารถหาค่า cos 2A ได้ดังนี้


เนื่องจาก cos 2A 5 cos(A1A)
5 cos A cos A2sin A sin A
2 2
5 cos A2sin A
2 2
แต่ cos A 5 12sin A
2 2
จะได้ cos 2A 5 (12sin A)2sin A
2
cos 2A 5 122 sin A
และเมื่อแทนค่า sin2A ด้วย 12cos2A จะได้
2 2
cos 2A 5 cos A2(12cos A)
2 2
cos 2A 5 cos A211cos A
2
cos 2A 5 2 cos A21
และจะสามารถหาค่าของ tan 2A โดยใช้ tan(A1B) ดังนี้
tan 2A 5 tan(A1A)
tan A + tan A
5
1 − tan A ⋅ tan A
2 tan A
5 2
1 − tan A

จากที่กล่าวมา สามารถสรุปค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมซึ่งเป็นสองเท่าของ A ได้ดังนี้

sin 2A 5 2 sin A cos A


2 2
cos 2A 5 cos A2sin A
2
cos 2A 5 2 cos A21
2
cos 2A 5 122 sin A
2 tan A
tan 2A 5 2
1 − tan A
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 57

ตัวอย่างที่ 26
4
กำ�หนดให้ sin A 5 2
5
และ cos A . 0 จงหาค่าของ
(1) cos 2A
(2) sin 2A
(3) tan 2A
2 2
วิธีทำ� เนื่องจาก cos A1sin A 5 1
2
2 ⎛ 4⎞
จะได้ cos A1 ⎜ −
⎝ ⎟
5⎠
5 1

2
2 ⎛ 4⎞


cos A 5 12 ⎜ − ⎟
5⎠
2 16 9
cos A 5 12 25
5
25
3
cos A 5 6 5
3
แต่ cos A . 0 จะได้ cos A 5 5
2
(1) จาก
cos 2A 5 2 cos A21

⎛ 9⎞
5 2 ⎜ ⎟ 21
⎝ 25⎠

18
5
25
21

7
5 2
25
ตอบ
(2) จาก
sin 2A 5 2 sin A cos A

⎛ 4 ⎞ ⎛ 3⎞
5 2 ⎜− ⎟ ⎜ ⎟
⎝ 5 ⎠ ⎝ 5⎠
24
5 2
25
ตอบ
4

sin A 5 4
(3) จาก tan A 5 cos A
5
3
5 2
3
5
2 tan A
จะได้ tan 2A 5 2
1 − tan A

⎛ 4⎞
2⎜ − ⎟
⎝ 3⎠
5 2
⎛ 4⎞
1 − ⎜− ⎟
⎝ 3⎠
58 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

8

3
5
16
1−
9
8

3
5
7

9
24
5
7
ตอบ

จากค่าของ sin(A2B), sin(A1B), cos(A2B) และ cos(A1B) เมื่อนำามาบวกหรือลบกันจะได้


ความสัมพันธ์ดังนี้
2 sin A cos B 5 sin(A1B)1sin(A2B)
2 cos A sin B 5 sin(A1B)2sin(A2B)
2 cos A cos B 5 cos(A1B)1cos(A2B)
22 sin A sin B 5 cos(A1B)2cos(A2B)

นอกจากนี้ยังสามารถหาความสัมพันธ์อื่นๆ ได้ดังนี้

⎛ A + B⎞ ⎛ A − B⎞
sin A1sin B 5 2 sin ⎜ cos ⎜
⎝ 2 ⎟⎠ ⎝ 2 ⎟⎠
⎛ A + B⎞ ⎛ A − B⎞
sin A2sin B 5 2 cos ⎜ sin ⎜
⎝ 2 ⎠ ⎟ ⎝ 2 ⎟⎠
⎛ A + B⎞ ⎛ A − B⎞
cos A1cos B 5 2 cos ⎜ cos ⎜
⎝ 2 ⎠ ⎟ ⎝ 2 ⎟⎠
⎛ A + B⎞ ⎛ A − B⎞
cos A2cos B 5 22 sin ⎜ sin ⎜
⎝ 2 ⎠ ⎟ ⎝ 2 ⎟⎠

3
และ sin 3A 5 3 sin A24 sin A
3
cos 3A 5 4 cos A23 cos A
3
3 tan A − tan A
tan 3A 5 2
1 − 3 tan A
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 59

ตัวอย่างที่ 27
จงหาค่าของ cos 7581cos 158
⎛ A + B⎞ ⎛ A − B⎞
วิธีทำ� เนื่องจาก
cos A1cos B 5 2 cos ⎜
⎝ 2 ⎟⎠
cos ⎜
⎝ 2 ⎟⎠
⎛ 75° + 15°⎞ ⎛ 75° − 15°⎞
ดังนั้น
cos 7581cos 158 5 2 cos ⎜
⎝ 2
⎟⎠ cos ⎜⎝
2
⎟⎠

5 2 cos 458 cos 308


⎛ 2 ⎞ ⎛ 3⎞
5 2 ⎜⎝ ⎟⎜ ⎟
2 ⎠⎝ 2 ⎠

6
5 2
ตอบ

ตัวอย่างที่ 28
จงหาค่าของ 2 cos 1058 sin 158
วิธีทำ� เนื่องจาก 2 cos A sin B 5 sin(A1B)2sin(A2B)
ดังนั้น 2 cos 1058 sin 158 5 sin(10581158)2sin(10582158)
5 sin 12082sin 908
5 sin(18082608)2sin 908
5 sin 6082sin 908
3
5 2
21

3−2
5 2
ตอบ

ตัวอย่างที่ 29
จงหาค่าของ sin 208 sin 408 sin 808
วิธีทำ� เนื่องจาก 22 sin A sin B 5 cos(A1B)2cos(A2B)

⎛ 1⎞
ดังนั้น
sin 208 sin 408 sin 808 5 (22 sin 208 sin 408)(sin 808) ⎜ − ⎟
⎝ 2⎠

5 (cos(2081408)2cos(2082408))(sin 808) ⎛⎜⎝ − 12⎞⎟⎠

5 (cos 6082cos(2208))(sin 808) ⎛⎜⎝ − 12⎞⎟⎠


⎛1 ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝ − cos 20°⎟⎠ (sin 808) ⎜⎝ − ⎟⎠
2 2
60 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

⎛ sin 80° ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝
2
− cos 20° sin 80°⎟
⎠ ⎜⎝ − ⎟
2⎠
⎛ sin 80° ⎛ 1⎞ ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜ 2 − 2 cos 20° sin 80° ⎜⎝ 2⎟⎠ ⎟ ⎜⎝ − ⎟
⎝ ⎠ 2⎠
⎛ sin 80° sin(20° + 80°) − sin(20° − 80°)⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝
2

2
⎟⎠ ⎜⎝ − ⎟⎠
2
⎛ sin 80° sin 100° − sin(− 60°)⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝
2

2
⎟⎠ ⎜⎝ − ⎟⎠
2
⎛ sin 80° sin 100° sin 60°⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝
2

2
− ⎟ −
2 ⎠ ⎜⎝ 2⎟⎠
⎛ sin 80° sin 100° 3 ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝
2

2
− ⎟ ⎜− ⎟
4 ⎠ ⎝ 2⎠
⎛ sin 80° sin(180° − 80°) 3 ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝
2

2
− ⎟ ⎜− ⎟
4 ⎠ ⎝ 2⎠
⎛ sin 80° sin 80° 3 ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝
2

2
− ⎟ ⎜− ⎟
4 ⎠ ⎝ 2⎠
⎛ 3 ⎞ ⎛ 1⎞
5 ⎜⎝ − ⎟⎠ ⎜⎝ − 2⎟⎠
4

3
5 8
ตอบ

ตัวอย่างที่ 30
กำ�หนดให้ sin 3A1sin A 5 124 sin3A
จงหาค่าของ sin A
3
วิธีทำ� เนื่องจาก sin 3A 5 3 sin A24 sin A
3
โจทย์กำ�หนดให้ sin 3A1sin A 5 124 sin A
3 3
จะได้ 3 sin A24 sin A1sin A 5 124 sin A
4 sin A 5 1
1
sin A 5
4
ตอบ
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 61

แบบฝกหัดที่ 7
1. จงใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำานวนจริง หรือมุมหาค่าต่อไปนี้
7π 17π
(1) sin (2) cos
12 12
⎛ 19π⎞ ⎛ π⎞
(3) tan ⎜ − (4) cosec ⎜ − ⎟
⎝ 12 ⎟⎠ ⎝ 12⎠

(5) cot (6) sec 1058
12
(7) cos(21658) (8) sin(2758)
2. จงหาค่าต่อไปนี้
5π π π 5π π ⎛ π⎞ ⎛ π⎞ π
(1) sin sin 1cos cos (2) sin cos ⎜ − ⎟⎠ 1sin ⎜⎝ − ⎟⎠ cos
2 2 2 2 3 ⎝ 4 4 3
tan 76° − tan 46°
(3) (4) sin 198 cos 1181cos 198 sin 118
1 + tan 76° tan 46°
1 − tan 20° tan 25°
(5)
tan 20° + tan 25°
3. จงหาค่าของ sin(A1B), cos(A2B) และ tan(A2B) เมื่อกำาหนดเงื่อนไขดังนี้
3 π
(1) sin A 5
5
เมื่อ 0 , A ,
2
และ
2 5 π
cos B 5 2
5
เมื่อ 2
, B , p

4 π
(2) tan A 5 2
3
เมื่อ 2
, A , p และ
1 3π
cos B 5
2
เมื่อ 2
, B , 2p

1 3π
4. กำาหนดให้ sin A 5 2
4
เมื่อ p , A ,
2
จงหา
(1) sin 2A (2) cos 2A
(3) tan 2A (4) sin 3A
(5) cos 3A (6) tan 3A
5. จงหาค่าต่อไปนี้
3 π π
(1) 22 sin 22.58 cos 22.58 (2) 4 sin 23 sin
9 9

2 tan
8 2
(3) (4) 122 cos 52.58
2 3π
1 − tan
8
62 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

6. จงแสดงว่า
A 1 − cos A A 1 + cos A
(1) sin 5 6 (2) cos 5 6
2 2 2 2

A 1 − cos A
(3) tan 5 6
2 1 + cos A

7. จงหาค่าต่อไปนี้
π π
(1) sin 1581sin 758 (2) cos 2sin
12 12
4π π 23π
(3) sin 2sin 1cos (4) cos 208 cos 408 cos 808
9 9 18
π 2π 7π
(5) cos sin cos
18 9 18
3
8. กำาหนดให้ cos 3A2cos A 5 114 cos A จงหาค่าของ sec A

กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรูที่ 1
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน
−1+ 5 10 + 2 5
2. แต่ละกลุ่มช่วยกันพิสูจน์ว่า sin 188 5
4
, cos 188 5
4
10 − 2 5 5 +1
sin 368 5
4
และ cos 368 5
4
3. ครูสุ่มตัวแทนออกมานำาเสนอที่หน้าชั้นเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 63

2. ฟงก์ชันตรีโกณมิติผกผัน

ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เกิดจากการสลับที่ระหว่าง
แนวคิดสําคัญ สมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับ และเพื่อให้
ฟงกชันตรีโกณมิติไมเปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง ตัวผกผันเป็นฟังก์ชนั จึงกำาหนดโดเมนของฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ
ดังนัน้ ตัวผกผันของฟงกชนั ตรีโกณมิตจิ งึ ไมเปนฟงกชนั ให้เหมาะสม
แตเมื่อจํากัดโดเมนของฟงกชันเพื่อใหเปนฟงกชันหนึ่ง
ตอหนึ่งแลว จะเรียกตัวผกผันของฟงกชันตรีโกณมิตินี้
วาฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน

2.1 ตัวผกผันของฟงก์ชันไซน์
พิจารณากราฟของฟังก์ชัน y 5 sin x
Y

0 X
22p 2 3p 2p 2
p p p 3p 2p
2 2 2 2
21

เมื่อกำาหนดโดเมนของ y 5 sin x ใหม่เป็น 2 π2 < x <


π
2

จะได้ว่า { |
(x, y) y 5 sin x, 2
π
< x <
π
} เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ซึ่งมีฟังก์ชันผกผัน
{ } เรียกฟังก์ชันผกผันนี้ว่า
2 2
π π
เป็น |
(x, y) x 5 sin y, 21 < x < 1, 2
2
< y <
2
arcsine

บทนิยาม ฟังก์ชัน arcsine คือ เซตของคู่อันดับ (x, y) โดยที่ x 5 sin y และ 2 π2 < y <
π
2
64 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

เมือ่ (x, y)  arcsine จะได้ y 5 arcsine x หรือเขียนสัน้ ๆ เป็น y 5 arcsin x ซึง่ มีความหมาย
เช่นเดียวกับ x 5 sin y เมื่อ 2 π2 < y < π2 เขียนกราฟ y 5 sin x เมื่อ 2 π2 < x < π2
และ y 5 arcsin x เมื่อ 2 π2 < y < π2 บนระนาบเดียวกันได้ดังนี้
Y
p (1, p2 ) y5x
2

( p2 , 1)
y 5 arcsin x
1

y 5 sin x

X
21 0
2
p 1 p
2 2

(2 p2 , 21) 21

(21,2 p2 )
p
2
2

หมายเหตุ
จากกราฟ โดเมนของฟังก์ชัน arcsine คือ [21, 1] และเรนจ์ของฟังก์ชัน arcsine คือ
⎡ π , π⎤
⎢− 2 2 ⎥
⎣ ⎦

การหาค่าของฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติอาจทำาได้โดยอาศัยกราฟของฟังก์ชัน แต่เพื่อ
ความสะดวกจะหาค่าของฟังก์ชันผกผันโดยอาศัยฟังก์ชันตรีโกณมิตินั้นๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 1
⎛ 3⎞
จงหาค่าของ arcsin ⎜⎝ − ⎟
2⎠

⎛ 3⎞ 3
วิธีทำา ให้ arcsin ⎜⎝ − ⎟
2⎠
5 u จะได้ sin u 5 2
2

หาค่า u เมื่อ 2 π2 < u <


π
2
อยู่ในจตุภาคที่ 1 และจตุภาคที่ 4
3
จาก sin u 5 2
2
π
จะได้ u 5 2
3
sin u , 0 มุมจึงอยู่ในจตุภาคที่ 4
⎛ 3⎞ π
ดังนั้น arcsin ⎜ − ⎟
⎝ 2⎠
5 2
3
ตอบ
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 65

2.2 ตัวผกผันของฟงก์ชันโคไซน์
พิจารณากราฟของฟังก์ชัน y 5 cos x

X
0 2p
2p
2
p p p 3p 5p
2 21 2 2 2

เมื่อกำาหนดโดเมนของ y 5 cos x ใหม่เป็น 0 < x < p


จะได้ว่า {(x, y)|y 5 cos x, 0 < x < p} เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ซึ่งมีฟังก์ชันผกผันเป็น
{(x, y)|x 5 cos y, 21 < x < 1, 0 < y < p} เรียกฟังก์ชันผกผันนี้ว่า arccosine

บทนิยาม ฟังก์ชัน arccosine คือ เซตของคู่อันดับ (x, y) โดยที่ x 5 cos y และ 0 < y < p

เมื่อ (x, y)  arccosine จะได้ y 5 arccosine x หรือเขียนสั้นๆ เป็น y 5 arccos x ซึ่งมี


ความหมายเช่นเดียวกับ x 5 cos y เมื่อ 0 < y < p เขียนกราฟ y 5 cos x เมื่อ 0 < x < p
และ y 5 arccos x เมื่อ 0 < y < p บนระนาบเดียวกันได้ดังนี้
Y
y 5 x
(21, p)
p

y 5 arccos x
p
2
(0, 1)

X
21 0 (1, 0) p p
2
21 y 5 cos x (p, 21)

หมายเหตุ
จากกราฟ โดเมนของฟังก์ชัน arccosine คือ [21, 1] และเรนจ์ของฟังก์ชัน arccosine คือ
[0, p]
66 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

ตัวอย่างที่ 2
จงหาค่าของ arccos 1
วิธีทำา ให้ arccos 1 5 u จะได้ cos u 5 1
หาค่า u เมื่อ 0 < u < p อยู่ในจตุภาคที่ 1 และจตุภาคที่ 2

จาก cos u 5 1
cos u 5 1พิจารณาค่า x บนแกน X
จะได้ u 5 0 ของวงกลมหนึ่งหน่วยทางบวก
ดังนั้น arccos 1 5 0 ตอบ

2.3 ตัวผกผันของฟงก์ชันแทนเจนต์
พิจารณากราฟของฟังก์ชัน y 5 tan x

X
5p 22p 3p 2p 2 π 0 π p 3p 2p 5p
2
2
2
2 2 2 2 2

21

เมื่อกำาหนดโดเมนของ y 5 tan x ใหม่เป็น 2 π2 , x , π2


จะได้ว่า {(x, y) | y 5 tan x, 2 π2 , x , π2 } เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ซึ่งมีฟังก์ชันผกผันเป็น
{(x, y)| x 5 tan y, 2 , x , } และ 2 π2 , y ,
π
2
เรียกฟังก์ชันผกผันนี้ว่า arctangent

บทนิยาม ฟังก์ชนั arctangent คือ เซตของคูอ่ นั ดับ (x, y) โดยที่ x 5 tan y และ 2 π2 , y ,
π
2
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 67

เมื่อ (x, y)  arctangent จะได้ y 5 arctangent x หรือเขียนสั้นๆ เป็น y 5 arctan x ซึ่งมี


ความหมายเช่นเดียวกับ x 5 tan y และ 2 π2 , y , π2 เขียนกราฟ y 5 tan x เมื่อ 2 π2 , x , π2
และ y 5 arctan x เมื่อ 2 π2 , y , π2 บนระนาบเดียวกันได้ดังนี้
Y y 5 tan x

p
2 y 5 arctan x
1
X
2
p
21 0 1 p
2 21 2

p
2
2

หมายเหตุ
จากกราฟ โดเมนของฟังก์ชัน arctangent คือ R และเรนจ์ของฟังก์ชัน arctangent คือ
⎛ π , π⎞
⎜⎝ − ⎟
2 2⎠

ตัวอย่างที่ 3
⎛ 3⎞
จงหาค่าของ arctan ⎜⎝ − ⎟
3⎠

⎛ 3⎞ 3
วิธีทำา ให้ arctan ⎜⎝ − ⎟
3⎠
5 u จะได้ tan u 5 2
3

หาค่า u เมื่อ 2 π2 , u ,
π
2
อยู่ในจตุภาคที่ 1 และจตุภาคที่ 4
3
จาก tan u 5 2
3
π
จะได้ u 5 2
6
tan u , 0 มุมจึงอยู่ในจตุภาคที่ 4
⎛ 3⎞ π
ดังนั้น arctan ⎜ − ⎟
⎝ 3⎠
5 2
6
ตอบ
68 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

y 5 arcsin x y 5 arccos x Y
Y

p
p
2

p
X 2
21 0 1

X
p 21 0 1
2
2

โดเมน คือ [21, 1] โดเมน คือ [21, 1]


⎡ ⎤
เรนจ์ คือ ⎢⎣− π2 , π2 ⎥⎦ เรนจ์ คือ [0, p]

Y
p
2

สรุป
X
0
21 1 ตัวผกผันของฟงก์ชัน
p ตรีโกณมิติ
2
2

โดเมน คือ R
เรนจ์ คือ ⎛⎜⎝ − π2 , π⎞
2 ⎟⎠
y 5 arctan x

ฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันไซน์อาจเขียนแทนด้วย y 5 sin21x
ฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันโคไซน์อาจเขียนแทนด้วย y 5 cos21x
ฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันแทนเจนต์อาจเขียนแทนด้วย y 5 tan21x
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 69

ตัวอย่างที่ 4
⎛ ⎛ ⎞⎞
จงหาค่าของ cos ⎜arcsin ⎜⎝ 23⎟⎠⎟
⎝ ⎠

⎛ ⎞ 3
วิธีทำา ให้ arcsin ⎜⎝ 23⎟⎠ 5 u จะได้ sin u 5
2

หาค่า u เมื่อ 2 π2 < u <


π
2
อยู่ในจตุภาคที่ 1 และจตุภาคที่ 4

3
จาก sin u 5
2
π
จะได้ u 5
3
sin u . 0 มุมจึงอยู่ในจตุภาคที่ 1
⎛ ⎛ 3⎞⎞ π 1
ดังนั้น cos ⎜arcsin ⎜ ⎟ ⎟
⎝ 2 ⎠⎠
5 cos
3
5
2
ตอบ

ตัวอย่างที่ 5

จงหาค่าของ cos ⎛⎜⎝ 2 arccos 45⎞⎟⎠


4
วิธีทำา ให้ u 5 arccos
5
4
จะได้ cos u 5
5
เมื่อ 0 < u < p

⎛ 4⎞
ดังนั้น cos ⎜ 2 arccos ⎟ 5 cos 2u
⎝ 5⎠
2
5 2 cos u21
2
⎛ 4⎞
5 2 ⎜ ⎟ 21
⎝ 5⎠

⎛ 16 ⎞
5 2 ⎜ ⎟ 21
⎝ 25⎠

32 − 25
5
25
7
5
25
ตอบ
70 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

ตัวอย่างที่ 6

จงหาค่าของ sin ⎜⎝arccos ⎛⎜⎝ − 13⎞⎟⎠⎟⎠


⎛ ⎞

⎛ 1⎞
วิธีทำ� ให้ u 5 arccos ⎜ − ⎟
⎝ 3⎠

จะได้ cos u 5 2 13 เมื่อ 0 < u < p


เนื่องจาก cos u , 0  และ 0 < u < p จะได้ π2 , u , p
หา sin u โดยพิจารณาจาก
2 2
sin u 5 12cos u
2
5 12 ⎛⎜⎝ − 13⎞⎟⎠
5 12 19
8
5 9
2 2

sin u 5 6
3
π
แต่ 2
, u , p จะได้ sin u . 0

⎛ ⎛ 1⎞ ⎞ 2 2
ดังนั้น sin ⎜arccos ⎜ − ⎟ ⎟
⎝ ⎝ 3⎠ ⎠
5 sin u 5
3
ตอบ

ตัวอย่างที่ 7
กำ�หนดให้ arctan x1arctan y .
π
2
จงแสดงว่า arctan x1arctan y2arctan ⎛⎜⎝1x−+xyy ⎞⎟⎠ 50

วิธีทำ� ให้ arctan x 5 A จะได้ tan A 5 x และ 2 π2 , A ,


π
2

ให้ arctan y 5 B จะได้ tan B 5 y และ 2 π2 , B ,


π
2

เมื่อ 2 π2 , A ,
π
2
และ 2 π2 , B ,
π
2
จะได้ 2p , A1B , p
แต่ arctan x1arctan y . π2 จะได้ A1B .
π
2
π
นั่นคือ 2
, A1B , p
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 71

tan A + tan B
จาก tan(A1B) 5
1 − tan A tan B
x+y
แทนค่า จะได้ tan(A1B) 5
1 − xy
⎛ x+y⎞
A1B 5 arctan ⎜
⎝ 1 − xy⎟⎠
⎛ x+y⎞
ดังนั้น arctan x1arctan y2arctan ⎜ 5 A1B2(A1B) 5 0 ตอบ
⎝ 1 − xy⎟⎠

แบบฝกหัดที่ 8
1. จงหาค่าต่อไปนี้
1 ⎛ 1⎞
(1) arcsin (2) arccos ⎜ − ⎟
2 ⎝ 2⎠
(3) arccos 0 (4) arctan(21)

3 3
(5) arctan (6) arcsin
3 2
⎛ 3⎞
(7) arctan(2 3 ) (8) arccos ⎜ − ⎟
⎝ 2⎠
2. จงหาค่าต่อไปนี้
⎛ ⎛ 1⎞⎞ ⎛ ⎛ 3π⎞⎞
(1) sin ⎜ arcsin ⎜ − ⎟ (2) arcsin ⎜ tan ⎜ ⎟⎟
⎝ ⎝ 2⎠⎟⎠ ⎝ ⎝ 4 ⎠⎠
⎛ ⎛ 1⎞⎞
(3) cosec ⎜ arccos ⎜ − ⎟⎟ (4) cos(arctan 2)
⎝ ⎝ 5⎠⎠

(5) sec(arctan(2 5 )) (6) cos(2 arcsin a) เมื่อ a . 0

⎛ 4 12⎞ 4 12 16
(7) sin ⎜ arcsin + arcsin ⎟ (8) arcsin 1arccos 1arcsin
⎝ 5 13⎠ 5 13 65
3. จงแสดงว่า arctan x1arctan(2x) 5 0
4. จงแสดงว่า cos(2 arcsin x) 5 122x2
5. จงแสดงว่า sin(2 arcsin x) 5 2x 1 − x2
72 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรูที่ 2
1. ให้นักเรียนแบ่งเป็น 3 กลุ่ม
2. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาจับสลากเพื่อเลือกโจทย์จากครู
โจทย์ขอที่ 1 arcsin x1arccos x 5 π2
โจทย์ขอที่ 2 arccos x1arccos(2x) 5 p

โจทย์ขอที่ 3 sec(arctan x) 5 1 + x2
แล้วช่วยกันพิสูจน์ข้อความที่กลุ่มของตนจับได้
3. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำาเสนอวิธีการพิสูจน์ที่หน้าชั้นเรียน

3. เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
3.1 เอกลักษณ์
1
แนวคิดสําคัญ สมการ cosec u 5
sin θ
จะเป็นจริงสำาหรับ
สมการที่มีฟงกชันตรีโกณมิติ เรียกวา สมการ
ตรีโกณมิติ สมการตรีโกณมิตทิ เี่ ปนจริงสําหรับทุกคาของ ทุกค่าของ u ทีท่ าำ ให้คา่ ของฟังก์ชนั ทีป่ รากฏอยูใ่ นสมการ
u เมือ่ u เปนจํานวนจริงหรือมุมใดๆ เรียกวา เอกลักษณ
1
นัน้ ได้คอื ค่าของ cosec u, sin u และ sin θ
เรียกสมการ
1
ที่มีสมบัติเช่นสมการ cosec u 5 sin θ
ว่า เอกลักษณ์

น ร ป
ู กําลังส อง
เอกล ก
ั ษ ณ ใ

2 2
sin u1cos u 5 1
2 2
sec u2tan u 5 1
2 2
cosec u2cot u 5 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 73

ตัวอย่างเอกลักษณ์ที่ผ่านการพิสูจน์แล้ว
1
cot u 5
tan θ
sin (2u) 5 sin u

cos (2u) 5 cos u

cos (1) 5 cos  cos sin  sin 

sin (1) 5 sin  cos 1cos  sin 


tan 1tan 
tan (1) 5
1tan  tan 

sin 2 5 2 sin  cos 

2 2
cos 2 5 cos sin 

การพิสจู น์เอกลักษณ์เป็นการแสดงให้เห็นว่าจำ�นวนทัง้ สองข้างของเครือ่ งหมายเท่ากับเท่ากันจริง


โดยใช้ความรูเ้ กีย่ วกับฟังก์ชนั ตรีโกณมิติ การพิสจู น์เอกลักษณ์จงึ ช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ตา่ ง ๆ ระหว่าง
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ และเอกลักษณ์ที่พิสูจน์แล้วสามารถนำ�ไปใช้ในการพิสูจน์เอกลักษณ์อื่น ๆ ได้
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1
2
tan x cosec x
จงพิสูจน์ว่า 2
5 cot x
1 + tan x sin x 1
2 ⋅
tan x cosec x cos x sin 2 x
วิธีทำ� 2
5 2
1 + tan x sec x
1
sin x cos x
5 1
2
cos x
2
cos x
5 sin x cos x
cos x
5 sin x
5 cot x sin x
tan x 5
ตอบ
cos x
1
cosec x 5
sin x
2 2
11tan x 5 sec x
cos x
5 cot x
sin x
74 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

ตัวอย่างที่ 2
จงพิสูจน์ว่า (sec x1tan x)(12sin x) 5 cos x

⎛ 1 sin x ⎞
วิธีทำ�
(sec x1tan x)(12sin x) 5 ⎜ +
⎝ cos x cos x⎟⎠
(12sin x)

(1 + sin x)(1 − sin x)


5 cos x
2
1 − sin x
5 cos x
2
5 cos x
cos x
5 cos x ตอบ
1
sec x 5 cos x
sin x
tan x 5
cos x
2 2
(a1b)(ab) 5 a 2b
2 2
sin x1cos x 5 1

ตัวอย่างที่ 3
กำ�หนดให้ A1B1C 5 1808 จงพิสูจน์ว่า sin A2sin B cos C 5 cos B sin C
วิธีทำ� A1B1C 5 1808
A 5 18082(B1C)
sin A 5 sin[18082(B1C)]
sin A 5 sin 1808 cos(B1C)2cos 1808 sin(B1C)
sin A 5 (0) cos(B1C)2(21) sin(B1C)
sin A 5 sin(B1C)
sin A 5 sin B cos C1cos B sin C
sin A2sin B cos C 5 cos B sin C ตอบ
sin(A1B) 5 sin A cos B1cos A sin B

sin(A2B) 5 sin A cos B2cos A sin B


หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 75

แบบฝกหัดที่ 9
1. จงพิสูจน์ว่า
(1) cos u(tan u1cot u) 5 cosec u
2 2 2
(2) (sin u21)(cot u11) 5 12cosec u
(3) (11sin u)(sec u2tan u) 5 cos u
4 4
sin θ − cos θ
(4) 5 sin u1cos u
sin θ − cos θ
sin θ
(5) 5 cosec u1cot u
1 − cos θ
tan θ − 1 1 − cot θ
(6) 5
tan θ + 1 1 + cot θ
1 − sin θ 2
(7) 5 (sec u2tan u)
1 + sin θ
2 sec θ + tan θ
(8) (sec u1tan u) 5
sec θ − tan θ
sin θ tan θ
(9) 5
sin θ + cos θ 1 + tan θ
(10) sec u cosec u22 cos u cosec u 5 tan u2cot u
2. จงพิสูจน์ว่า
cos θ − sin θ
(1) 5 sec 2u2tan 2u
cos θ + sin θ
1 + sin 2θ + cos 2θ
(2) 5 cot u
1 + sin 2θ − cos 2θ
cos 3θ + cos θ
(3) 5 cot u
sin 3θ − sin θ
sin 3θ cos 3θ
(4) − 5 2
sin θ cos θ
(5) cos 7u1cos 5u12 cos u cos 2u 5 4 cos 4u cos 2u cos u
sin θ + sin 2θ + sin 3θ
(6) 5 tan 2u
cos θ + cos 2θ + cos 3θ
3. กำาหนดให้ A1B1C 5 1808 จงพิสูจน์ว่า
(1) cos A1cos(B1C) 5 0
(2) tan A1tan B1tan C 5 tan A tan B tan C
A B C
(3) cos A1cos B1cos C 5 114 sin sin sin
2 2 2
76 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

3.2 สมการตรีโกณมิติ
การแก้สมการตรีโกณมิติใช้วิธีการเดียวกับการแก้สมการพีชคณิต สมการลอการิทึมหรือสมการ
เอกซ์โพเนนเชียล โดยอาศัยความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำานวนจริง
หรือมุมใดๆ อาจจะซำ้ำากัน ถ้าโจทย์ไม่ได้กำาหนดให้คำาตอบอยู่ในช่วงใดช่วงหนึ่ง ควรตอบ
ในรูปของค่าทั่วไป

ตัวอย่างที่ 4
1 π
จงแก้สมการ sin u 5
2
เมื่อ 0 , u ,
2
π
วิธีทำา เนื่องจาก 0 , u ,
2
1 π
จะเห็นว่าค่าของ u ในช่วงที่ทำาให้ sin u 5
2
คือ 6
⎧π ⎫
ดังนั้น เซตคำาตอบของสมการนี้ คือ ⎨ ⎬ ตอบ
⎩6 ⎭

ตัวอย่างที่ 5
3
จงแก้สมการ cos u 5 2
2
วิธีทำา Y

1
P1

X
3 0 (1, 0)
2
2
P2

3
จากวงกลมหนึ่งหน่วยจะเห็นว่าค่าของ u เมื่อ 0 < u < 2p ซึ่งทำาให้ cos u 5 2
2
คือ

6
และ 7π6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 77

1
5p 5p 7p 17p
2
6 6 6 6
5p X
2p p 0 p
p 3p 2p
2
2 2 2 2
21
3
2
2
5π⎞ 3
เนื่องจาก ⎛
cos ⎜ 2nπ + ⎟
⎝ 6⎠
5 cos 5π6 5 2
2
เมื่อ n  I
7π⎞ 3
และ ⎛
cos ⎜ 2nπ + ⎟
⎝ 6⎠
5 cos 7π6 5 2
2
เมื่อ n  I
ดังนั้น ค่าทั่วไปของ u ที่ทำ�ให้สมการเป็นจริงคือ 2np1 5π6 และ 2np1 7π6
เมื่อ n เป็นจำ�นวนเต็ม ตอบ

ตัวอย่างที่ 6
จงแก้สมการ sin2u1cos u11 5 0 เมื่อ 0 < u < 2p
วิธีทำ� Y
2
sin u1cos u11 5 0 1
2
(12cos u)1cos u11 5 0
2
2cos u1cos u12 5 0
21 0 1
X
2
cos u2cos u22 5 0
21
(cos u22)(cos u11) 5 0
นั่นคือ cos u 5 2 หรือ cos u 5 21
เนื่องจากไม่มี u ที่ทำ�ให้ cos u 5 2 (เพราะ 21 < cos u < 1)
จึงไม่พิจารณา cos u 5 2
จากโจทย์ 0 < u < 2p จะเห็นว่าค่าของ u ในช่วงที่ทำ�ให้ cos u 5 21 คือ p
ดังนั้น เซตคำ�ตอบของสมการนี้คือ {p} ตอบ
78 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

ตัวอย่างที่ 7
จงแก้สมการ cos 2u 5 cos u21 เมื่อ 0 < u , 2p
วิธีทำา cos 2u 5 cos u21
2
2 cos u21 5 cos u21
2
2 cos u2cos u 5 0
cos u(2 cos u21) 5 0
cos u 5 0 หรือ 2 cos u21 5 0
π , 3π 1
u 5
2 2
หรือ cos u 5
2
π , 5π
u 5
3 3
p p , 3p , 5p
ดังนั้น เซตคำาตอบของสมการนี้คือ  3 , 2 2 3  ตอบ

แบบฝกหัดที่ 10
1. จงแก้สมการต่อไปนี้ เมื่อ 0 < u , 2p

3 1
(1) sin u 5 2 (2) cos u 5
2 2
2
(3) 2 sin u 5 cosec u (4) tan u 5 1
2
(5) 2 sin u cos u 5 cos u (6) 4 sin u1(2 2 22) sin u 5 2

3 2
(7) sin u cos u 5 (8) sin u1cos u 5 21
4
⎛ π⎞
(9) sin u 5 2 cos ⎜θ − ⎟
⎝ 6⎠
(10) sin u1cos u1  
p
6
50

(11) cos 2u 5 cos u1sin u (12) cos 3u 5 cos u


(13) tan 2u 5 3 tan u (14) sin u2sin 2u1sin 3u 5 0
(15) sin 5u2sin u 5 0 (16) sin u1sin 3u1sin 5u 5 0
2. จงแก้สมการต่อไปนี้ โดยตอบในรูปของค่าทั่วไป
2 1
(1) cot u 5 2 3 (2) sin u 5
2
2
(3) cos u 5 cos 2u (4) 2 sin u2sin u21 5 0
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 79

กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรูที่ 3
1. ให้นักเรียนแบ่งเป็น 3 กลุ่ม
2. แต่ละกลุ่มร่วมกันค้นคว้าข้อมูลและศึกษาการแก้สมการของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผันแล้ว
ส่งตัวแทนมาจับสลากเพื่อเลือกโจทย์จากครู
π
โจทย์ขอที่ 1 arcsin(x)1arcsin(5x) 5
2
2 ⎛ 1⎞
โจทย์ขอที่ 2 arccos(x 3 )1arccos( 1 − x ) 5 arcsec ⎜ ⎟
⎝ x⎠
⎛ 1⎞
โจทย์ขอที่ 3 arcsin(12x)1arcsin(x) 5 arcsec ⎜ ⎟
⎝ x⎠
3. แต่ละกลุ่มช่วยกันหาเซตคำาตอบของโจทย์ที่กลุ่มของตนจับได้ แล้วส่งตัวแทนออกมานำาเสนอ
วิธีการแก้สมการของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผันที่หน้าชั้นเรียน

4. กฎของโคไซน์และกฎของไซน์
4.1 กฎของโคไซน์
กฎของโคไซน์ ในรูปสามเหลี่ยม ABC ใดๆ ถ้า a, b
แนวคิดสําคัญ
กฎของโคไซนและกฎของไซนเปนสมการแสดง และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม
ความสัมพันธระหวางความยาวของดานและขนาดของ A, B และ C ตามลำาดับ
มุมของรูปสามเหลีย่ มใดๆ เมือ่ ทราบความยาวของดาน 2 2 2
จะได้ a 5 b 1c 22bc cos A
หรือขนาดของมุมบางสวน จะสามารถคํานวณหาขนาด 2 2 2
b 5 c 1a 22ca cos B
ของมุมและความยาวของดานที่เหลือได 2 2 2
c 5 a 1b 22ab cos C
B

c a

A C
b
80 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เล่ม 1

พิสูจน์กฎของโคไซน์ได้ดังนี้
พิสูจน์ ให้มุม A ของรูปสามเหลี่ยม ABC ที่กำ�หนดให้อยู่ที่จุดกำ�เนิด ดังรูป
Y

C(b cos A, b sin A)


จากรูป จุด A มีพิกัด (0, 0) และ
b
จุด B มีพิกัด (c, 0)
a จะได้ จุด C มีพิกัด (b cos A, b sin A)
X
A(0, 0) c B(c, 0)

2 2
และ a 5 (b cos A − c) + (b sin A − 0)
2 2 2 2
a 5 (b cos A2c) 1b sin A
5 b2cos2A 2 2 bc cos A1c21b2sin2A
5 b2(cos2A1sin2A)1c222bc cos A
5 b21c222bc cos A 2 2
( cos Asin A  1)
2 2 2
ดังนั้น a 5 b 1c 22bc cos A
2 2 2
ทำ�นองเดียวกันจะได้ b 5 c 1a 22ca cos B
2 2 2
และ c 5 a 1b 22ab cos C
ตัวอย่างที่ 1
ในรูปสามเหลี่ยม ABC ให้ a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C ตามลำ�ดับ
ถ้า A^ 5 608, b 5 40 และ c 5 60 จงหา a
2 2 2
วิธีทำ� จากกฎของโคไซน์ a 5 b 1c 22bc cos A
5 402160222(40)(60) cos 608
5 1,60013,60022(2,400) ⎛⎜⎝ 12⎞⎟⎠
5 2,800
ดังนั้น a 5 20 7 ตอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 81

ตัวอย่างที่ 2
ในรูปสามเหลี่ยม ABC ให้ a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C ตามลำ�ดับ
ถ้า a 5 4, b 5 2 19 และ c 5 6 จงหาขนาดของมุม B
2 2 2
วิธีทำ� จากกฎของโคไซน์ b 5 c 1a 22ca cos B
2 2 2
c +a −b
cos B 5 2ca
2 2 2
6 + 4 − (2 19 )
5 2(6)(4)
36 + 16 − 76
5 48

5 2 12
^
ดังนั้น
B 5 1208 ตอบ

4.2 กฎของไซน์
กฎของไซน์ ในรูปสามเหลี่ยม ABC ใดๆ ถ้า a, b และ c เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม
A, B และ C ตามลำ�ดับ จะได้

sin A sin B sin C


5 5
a b c
B

c a

A C
b

พิสูจน์กฎของไซน์ได้ดังนี้
พิสูจน์ ให้มุม A ของรูปสามเหลี่ยม ABC ที่กำ�หนดให้อยู่ที่จุดกำ�เนิด ดังรูป
Y

C(b cos A, b sin A)


จากรูป จุด A มีพิกัด (0, 0) และ
b จุด B มีพิกัด (c, 0)
a
จะได้ จุด C มีพิกัด (b cos A, b sin A)
X
A(0, 0) c B(c, 0)
82 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

1
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC 5
2
 ความสูง ความยาวของฐาน

1
5 (b sin A)(c)
2
1
5 bc sin A
2
ทำานองเดียวกัน ถ้าให้มมุ B และมุม C อยูท่ จี่ ดุ กำาเนิดจะได้พนื้ ทีข่ องรูปสามเหลีย่ ม ABC เท่ากับ
1 1
ca sin B และ ab sin C ตามลำาดับ
2 2
1 1 1
เนื่องจาก 2
bc sin A 5
2
ca sin B 5
2
ab sin C

2 sin A sin B sin C


นำา abc
คูณตลอดจะได้ a
5
b
5
c

หมายเหตุ
a b c
อาจเขียนกฎของไซน์เป็น sin A
5
sin B
5
sin C

ตัวอย่างที่ 3
กำาหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้าน a ยาว 2 2 หน่วย มุม B มีขนาด 608 และมุม C มีขนาด 758
จงหาความยาวด้าน b
^ ^ ^
วิธีทำา เนื่องจาก A 1 B 1 C 5 1808
^
แทนค่า A 16081758 5 1808
^
จะได้ A 5 180826082758
5 458
sin A sin B
จากกฎของไซน์ a
5
b
sin 45° sin 60°
5
2 2 b
2 2 sin 60°
ดังนั้น b 5
sin 45°
⎛ 3⎞
2 2⎜ ⎟
⎝ 2⎠
5
2
2
⎛ ⎞⎛ 2 ⎞
5 2 2 ⎜ 3⎟ ⎜ ⎟
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2⎠

5 2 3 หน่วย ตอบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 83

ตัวอย่างที่ 4
กำ�หนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้าน b ยาว 20 หน่วย ด้าน c ยาว 10 6 ( 3 21) หน่วย และมุม B
มีขนาด 758 จงหาขนาดของมุมที่เหลือ
sin B sin C
วิธีทำ� จากกฎของไซน์ b
5 c
sin 75° sin C
20
5
10 6( 3 − 1)

10 6( 3 − 1) sin 75°
จะได้ sin C 5 20
⎛ 6 + 2⎞
10 6( 3 − 1) ⎜ ⎟
⎝ 4 ⎠
sin 75 5 sin (4530)
5
20
5 sin 45 cos 30cos 45 sin 30 1
5
8
6 ( 3 21)( 6 1 2 )
⎛ 2 ⎞⎛ 3 ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞
2 1
5 ⎜⎜ ⎟⎟⎜⎜ ⎟⎟ ⎜⎜ ⎟⎟⎜ ⎟ 1
⎝ 2 ⎠⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠⎝2 ⎠ 5 ( 3 21)(612 3 )
8
6 +4 2
5 6 3+6−6−2 3
5 8
4 3
5 8

3
5 2
^
ดังนั้น
C 5 608
^
และ
A 5 180827582608 5 458 ตอบ
84 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

แบบฝกหัดที่ 11
1. กำาหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C ยาว a, b และ c หน่วย
ตามลำาดับ จงหาความยาวของด้านหรือขนาดของมุมต่อไปนี้
^
(1) c เมื่อกำาหนดให้ C 5 608, a 5 6 และ b 5 5
^
(2) a เมื่อกำาหนดให้ C 5 1208, b 5 3 และ c 5 7
^ ^
(3) b เมื่อกำาหนดให้ A 5 308, B 5 458 และ a 5 4
^ ^
(4) a เมื่อกำาหนดให้ B 5 758, C 5 458 และ c 5 3
^
(5) A เมื่อกำาหนดให้ a 5 39 , b 5 5 และ c 5 7
2. กำาหนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม B เป็นมุมปาน sin A เท่ากับ 1 , BC ยาว 3 หน่วย และ
3
AC ยาว 7 หน่วย จงหา cos B
3. จากจุดสองจุดคือ A และ B อยู่บนอาคารเดียวกันห่างกัน 19 เมตร ในแนวตั้ง มองเห็นรถยนต์
คันหนึง่ จอดอยูห่ น้าอาคารชัน้ ล่างเป็นมุมก้ม 588 และ 348 ตามลำาดับ จุด B อยูส่ งู จากพืน้ ระดับ
เดียวกับรถยนต์เท่าไร
4. ถนนขึน้ เนินทำามุมกับแนวราบ 328 ชายคนหนึง่ ปัน จักรยานจากจุดทีม่ องเห็นยอดเขาแห่งหนึง่
เป็นมุมเงย 478 เมื่อปันจักรยานขึ้นเนินไปได้ 1 กิโลเมตร มองเห็นยอดเขาเป็นมุมเงย 778
ยอดเขาอยู่สูงจากแนวราบเท่าไร
5. เครือ่ งบิน 2 ลำา บินออกจากสนามบินเดียวกันและเวลาเดียวกัน ลำาทีห่ นึง่ บินไปทางทิศตะวัน-
ออกเฉียงเหนือด้วยความเร็ว 400 ไมล์ต่อชั่วโมง ลำาที่สองบินไปทางทิศตะวันตกด้วยความเร็ว
300 ไมล์ตอ ่ ชัว่ โมง หลังจากทีเ่ ครือ่ งบินสองลำานีอ้ อกจากสนามบินไปได้ 2 ชัว่ โมง จะอยูห่ า่ งกัน
กี่ไมล์

กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรูที่ 4
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน
2. แต่ละกลุ่มช่วยกันพิสูจน์ Hero’s Formula (หรือ Heron’s Formula) ที่กล่าวว่า พื้นที่ของ
รูปสามเหลีย่ มใดๆ ทีม่ ี a, b และ c เป็นด้านทัง้ สามของรูปสามเหลีย่ ม เท่ากับ s(s − a)(s − b)(s − c)
เมื่อ s 5 a + 2b + c
3. ครูสุ่มนักเรียนออกมานำาเสนอที่หน้าชั้นเรียน
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 85

กิจกรรมสะเต็มศึกษา
“ไคลโนมิเตอรอยางงาย”
จุดประสงค์
1. นำาความรู้เรื่องตรีโกณมิติไปใช้หาความสูงของวัตถุได้
2. ประดิษฐ์ไคลโนมิเตอร์อย่างง่าย พร้อมทั้งทดสอบการใช้งานได้
อุปกรณ์
1. กระดาษแข็ง
2. เครื่องวัดมุมเอียง
3. ตลับเมตร
4. แท่งไม้
5. ด้าย
6. วัตถุสำาหรับใช้ถ่วงนำำ้าหนัก
7. ดินสอ
8. เทปใสและอุปกรณ์อื่นๆ ตามความเหมาะสม
ขั้นตอนในการดำาเนินกิจกรรม
1. ให้นก ั เรียนเแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสม แล้วช่วยกันสืบค้นขั้นตอนการประดิษฐ์
ไคลโนมิเตอร์
2. ประดิษฐ์ตามขั้นตอนที่สืบค้นมาพร้อมทั้งทดสอบการใช้งาน
3. แต่ละกลุ่มนำาเสนอผลงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
86 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

สรุป Knowledge (K)

ฟงก์ชัน
ตรีโกณมิติ
กราฟของฟงก์ชัน
การหาค่าของฟงก์ชัน ตรีโกณมิติ

การหาค่าของฟงก์ชัน ตรีโกณมิติของมุม
ตรีโกณมิติของจำานวนจริง ฟังก์ชนั ตรีโกณมิตทิ กุ ฟังก์ชนั
เป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ
หน่วยในการวัดมุมที่นิยมใช้
คือ เรเดียนและองศา โดย  f(x) 5 a sin(nx)
กำาหนดจำานวนจริง u จะหาจุด (x, y) ซึ่งเป็น
จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว |u| หน่วย ได้บน 180 องศา เท่ากับ p เรเดียน คาบเท่ากับ 2π
| n|
วงกลมหนึ่งหน่วยสำาหรับแต่ละจำานวนจริง แอมพลิจูดเท่ากับ |a|
u ใดๆ จะได้
การหาค่าของฟังก์ชนั ตรีโกณมิตขิ อง
 f(x) 5 a cos(nx)
มุมในหน่วยเรเดียนใช้วิธีการเดียว
x 5 cos u
กับการหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ คาบเท่ากับ 2π
| n|
y 5 sin u
sin θ
ของจำานวนจริง u และการหาค่าของ แอมพลิจูดเท่ากับ |a|
tan u 5
cos θ ฟั ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ ใ นหน่ ว ยองศา  f(x) 5 a tan(nx)
1 ทำ า ได้ โ ดยเปลี่ ย นค่ า ของมุ ม จาก
sec u 5 คาบเท่ากับ |pn|
cos θ
1
หน่ ว ยองศาให้ เ ป็ น หน่ ว ยเรเดี ย น
cosec u 5  f(x) 5 a sec(nx)
sin θ ก่อน

cot u 5
1 คาบเท่ากับ | n|
tan θ
 f(x) 5 a cosec(nx)

คาบเท่ากับ | n|
 f(x) 5 a cot(nx)

p
คาบเท่ากับ
Attribute A |n|

Process P 1. ทำาความเข้าใจหรือสร้างกรณีทวั่ ไปโดยใช้ความรูท้ ไี่ ด้จากการ


1. ทักษะการแก้ปัญหา ศึกษากรณีตัวอย่างหลายๆ กรณี
2. ทักษะการเชื่อมโยง 2. มองเห็นว่าสามารถใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
3. ทักษะการให้เหตุผล 3. มีความมุมานะในการทำาความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหา
4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทางคณิตศาสตร์
4. ค้นหาลักษณะทีเ่ กิดขึน้ ซ้าำ ๆ และประยุกต์ใช้ลกั ษณะดังกล่าว
เพื่อทำาความเข้าใจหรือแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
หนวยการเรียนรูที่ 1 ฟงก์ชันตรีโกณมิติ 87

ฟังก์ชนั ตรีโกณมิตขิ องผลบวกและ เอกลักษณ์และสมการ


ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ผลต่างของจำานวนจริงหรือมุม ตรีโกณมิติ

มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ค วรทราบ ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ  สมการที่มีฟังก์ชันตรีโกณมิติ


ดั ง ในส่ ว นสรุ ป ความสั ม พั น ธ์ ไม่ เ ป็ น ฟั ง ก์ ชั น แต่ ถ้ า กำ า หนด ปรากฏอยู่ เรี ย กสมการ
(ในหน้าถัดไป) โดเมนของฟั ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ ดังกล่าวว่า สมการตรีโกณมิติ
ให้เหมาะสมแล้ว ตัวผกผันของ ซึ่งการแก้สมการตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติจะเป็นฟังก์ชัน ทำาได้ในทำานองเดียวกับการ
แก้สมการพีชคณิต
 สมการตรีโกณมิติที่เป็นจริง
ฟังก์ชันผกผัน arcsine, arccosine และ arctangent มีโดเมนและเรนจ์ดังนี้ สำ า หรั บ ทุ ก ค่ า u จะเรี ย ก
ส ม ก า ร ต รี โ ก ณ มิ ติ นี้ ว่ า
ฟงก์ชัน โดเมน เรนจ์ เอกลักษณ์
y 5 arcsin x {x|21 < x < 1} {y|2 π2 < y <
π
2 }
y 5 arccos x {x|21 < x < 1} {y|0 < y < p}

y 5 arctan x R {y|2 π2 , y ,
π
2 }

กฎของโคไซน์และกฎของไซน์

กฎของโคไซน์ กฎของไซน์
2 2 2
a 5 b 1c 22bc cos A sin A sin B sin C
5 5
b
2 2 2
5 c 1a 22ca cos B a b c
2 2 2
c 5 a 1b 22ab cos C
88 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 เลม 1

สรุปความสัมพันธ์ที่สำาคัญ

sin(A1B) 5 sin A cos B1cos A sin B


sin(A2B) 5 sin A cos B2cos A sin B
cos(A1B) 5 cos A cos B2sin A sin B
cos(A2B) 5 cos A cos B1sin A sin B
tan A + tan B
tan(A1B) 5
1 − tan A tan B
tan A − tan B
tan(A2B) 5
1 + tan A tan B sin 2A 5 2 sin A cos A
2 2
cos 2A 5 cos A2sin A
2
5 2 cos A21
2
5 122 sin A
2 tan A
tan 2A 5 2
1 − tan A
3
sin 3A 5 3 sin A24 sin A
3
cos 3A 5 4 cos A23 cos A
3
3 tan A − tan A
tan 3A 5 2
1 − 3 tan A

2 sin A cos B 5 sin(A1B)1sin(A2B)


2 cos A sin B 5 sin(A1B)2sin(A2B)
2 cos A cos B 5 cos(A1B)1cos(A2B)
22 sin A sin B 5 cos(A1B)2cos(A2B)

⎛ A − B⎞
sin A1sin B 5 2 sin ⎜ A + B⎟ cos ⎜
⎛ ⎞
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎟⎠

⎛ A − B⎞
sin A2sin B 5 2 cos ⎜ A + B⎟ sin ⎜
⎛ ⎞
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎟⎠

⎛ A − B⎞
cos A1cos B 5 2 cos ⎜ A + B⎟ cos ⎜
⎛ ⎞
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎟⎠

cos A2cos B 5 22 sin  A 2+ B  sin A 2− B


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 89

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
1. จงเขียนมุมในหน่วยองศาในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้มีหน่วยเป็นเรเดียน
(1) 408 (2) 1458 (3) 24508
2. จงเขียนมุมในหน่วยเรเดียนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้มีหน่วยเป็นองศา
π 5π
(1) 4p (2) 2
5
(3)
18
3. จงหาค่าของ
10π 7π 25π
(1) sin 3082cos 1508 tan 2108 (2) sec
3
cosec
6
cot
4
4. กำ�หนดให้ sin u 5 0.1 จงหาค่าของ sin(6p2u)
5. กำ�หนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากโดยมีมุม C เป็นมุมฉาก มุม A มีขนาด 228
และมี ด้ า นตรงข้ า มมุ ม ฉากยาว 20 เซนติ เ มตร จงหาความยาวของด้ า น AC และ BC
(กำ�หนด sin 22  0.37 และ cos 22  0.93)

6. จงหาแอมพลิจูดและคาบจากกราฟ y 5 2 41 sin 4x
7. จงหาค่าของ cos π9 cos 18π 2sin 18π sin π9
2
8. กำ�หนดให้ m(tan u2cot u) sin u cos u 5 122 cos u จงหาค่าของ m12
9. จงหาค่าของ sin ⎛⎜⎝ arccos 53 + arcsin 135 ⎞⎟⎠
tan A tan B 1
10. กำ�หนดให้ ⋅
1 − tan A 1 − tan B
=
2
จงพิสูจน์ว่า tan(A1B) 5 1
11. จงหาเซตคำ�ตอบของสมการตรีโกณมิติต่อไปนี้
(1) sin u1cos u 5 0
2
(2) cosec θ − 1 1tan u 5 2 เมื่อ 0 < u , 2p
12. กำ�หนดให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A มุม B และมุม C ยาว a, b และ c หน่วย
ตามลำ�ดับ ถ้ามุม A มีขนาด 45 องศา ด้าน a ยาว 2 2 หน่วย และด้าน b ยาว 2 หน่วย แล้ว
ขนาดของมุม C เท่ากับเท่าไร

You might also like