You are on page 1of 57

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์

66
ประจำปี การศึกษา
2561

รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

รายวิชาพื้นฐาน
ค 21101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 1 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต

67
ค 21102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 2 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 22101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 22102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 4 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 23101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 5 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 23102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 6 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต

รายวิชาเพิ่มเติม
ค 21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 21202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 22201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 22202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 23201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 23202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต

68
ค 21203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 7 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 21204 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 8 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 22203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 9 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 22204 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 10 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 23203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 11 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 23204 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 12 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 21211 คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ 1 จำนวน 20 ชั่วโมง
0.5 หน่วยกิต
ค 21212 คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ 2 จำนวน 20 ชั่วโมง
0.5 หน่วยกิต
ค 22211 คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ 3 จำนวน 20 ชั่วโมง
0.5 หน่วยกิต
ค 22212 คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ 4 จำนวน 20 ชั่วโมง
0.5 หน่วยกิต
ค 23211 คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ 5 จำนวน 20 ชั่วโมง
0.5 หน่วยกิต
ค 23212 คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ 6 จำนวน 20 ชั่วโมง
0.5 หน่วยกิต

69
รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

รายวิชาพื้นฐาน
ค 31101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 1 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 31102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 2 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 32101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 32102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 4 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 33101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 5 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต
ค 33102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 6 จำนวน 40 ชั่วโมง
1.0 หน่วยกิต

รายวิชาเพิ่มเติม
ค 31201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต
ค 31202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 จำนวน 60 ชั่วโมง
1.5 หน่วยกิต

70
ค 32201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 จำนวน 80 ชั่วโมง
2.0 หน่วยกิต
ค 32202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 จำนวน 80 ชั่วโมง
2.0 หน่วยกิต
ค 33201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 จำนวน 80 ชั่วโมง
2.0 หน่วยกิต
ค 33202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 จำนวน 80 ชั่วโมง
2.0 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

71
ค 21101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 1 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


จำนวนตรรกยะ จำนวนเต็ม  สมบัติของจำนวนเต็ม ทศนิยมและ
เศษส่วน จำนวนตรรกยะและสมบัติของจำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มี
เลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนเต็มบวก การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนเต็ม
จำนวนตรรกยะ และเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง
อัตราส่วน อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน สัดส่วน การนำ
ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละไปใช้ในการแก้ปัญหา
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
72
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์

รหัสตัวชีว
้ ัด
ค 1.1 ม.1/1, ม.1/ 2, ม.1/ 3
ค 1.3 ม.1/1
รวมทัง้ หมด 4 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 21102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 2 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


สมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น สมการ
เชิงเส้นสองตัวแปร การนำความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ
กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้นไปใช้ในชีวิตจริง

73
สถิติ การตัง้ คำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอ
ข้อมูล ได้แก่ แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง กราฟเส้นและแผนภูมิรูป
วงกลม  การแปลความหมายข้อมูล
การนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริง
การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การสร้าง
รูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การนำความรู้
เกี่ยวกับการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
มิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า  ด้านข้าง ด้านบนของรูปเรขาคณิตสาม
มิติที่ประกอบขึน
้ จากลูกบาศก์
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสตัวชีว
้ ัด
ค 2.2 ม.1/1, ม.1/ 2
ค 3.1 ม.1/1

74
รวมทัง้ หมด 3 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 22102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


จำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนเต็ม การนำ
ความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนจริง รากที่สองและรากที่สาม
ของจำนวนตรรกยะ การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนจริงไปใช้
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับการนำความรู้
เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับไปใช้ในชีวิตจริง
พหุนาม พหุนาม การบวก การลบ  และการคูณของพหุนาม
การหารพหุนามด้วยเอกนามที่มีผลหารเป็ นพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสองโดยใช้ สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลัง
สอง เป็ นต้น
75
สถิติ การนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ แผนภาพจุด แผนภาพ
ต้น – ใบ ฮิสโทแกรมและค่ากลางของข้อมูล การแปลความหมายผลลัพธ์
การนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริง
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 1.1 ม.2/1, ม.2/2
ค 1.2 ม.2/1 ม.2/2
ค 2.2 ม.2/5
ค 3.1 ม.2/1
รวมทัง้ หมด 6 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 22102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

76
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


พื้นที่ผิว  การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้
เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
ปริมาตร การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้
เกี่ยวกับปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
เส้นขนาน สมบัตเิ กี่ยวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
การเท่ากันทุกประการ ความเท่ากันทุกประการของรูป
สามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแก้
ปั ญหา
การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน
การนำความรู้เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา
การสร้างทางเรขาคณิต การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทาง
เรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้ใน
การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบใน
การตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
ชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้ทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
77
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 2.1 ม.2/1, ม.2/2
ค 2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
รวมทัง้ หมด 6 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 23101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 5 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


ระบบสมการ ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการ
เชิงเส้นสองตัวแปร การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสอง
ตัวแปรไปใช้ในการแก้ปัญหา
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว  สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การ
แก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการ
กำลังสองตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา

78
ฟั งก์ชันกำลังสอง กราฟของฟั งก์ชันกำลังสอง การนำความรู้เกี่ยว
กับฟั งก์ชันกำลังสองไปใช้ในการแก้ปัญหา
การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสูงกว่าสอง
สถิติ  ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ แผนภาพกล่อง
การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริง
ความน่าจะเป็ น เหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็ น
การนำความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นไปใช้ในชีวิตจริง
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 1.2 ม.3/1, ม.3/2
ค 1.3 ม.3/2, ม.3/3
ค 3.1 ม.3/1
ค 3.2 ม.3/1

79
รวมทัง้ หมด 6 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 23102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 6 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


อสมการเชิงเส้นตัแปรเดียว อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้อสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา
พื้นที่ผิว การหาพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนำ
ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้
ปั ญหา
ปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนำ
ความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้
ปั ญหา
ความคล้าย รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน การนำความรู้เกี่ยวกับความ
คล้ายไปใช้ในการแก้ปัญหา
อัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติการนำค่าอัตราส่วน
ตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา ไปใช้ในการแก้
ปั ญหา

80
วงกลม วงกลม  คอร์ด และเส้นสัมผัส ทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 1.3 ม.3/1
ค 2.1 ม.3/1, ม.3/2
ค 2.2 ม.3/2, ม.3/3
รวมทัง้ หมด 5 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

81
ค 31101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 1 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


เซต ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พ้น
ื ฐานเกี่ยวกับเซต  ยูเนียน
อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ประพจน์และตัวเชื่อม (นิเสธ  และ หรือ
ถ้า...แล้ว... ก็ต่อเมื่อ)
หลักการนับเบื้องต้น หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปลี่ยน
เชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทัง้ หมด การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่าง
กันทัง้ หมด
ความน่าจะเป็ น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็ นของ
เหตุการณ์
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนำความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี

82
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 1.1 ม.4/1, ม.4/2
รวมทัง้ หมด 2 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 31102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 2 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้

83
หลักการนับเบื้องต้น หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปลี่ยน
เชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทัง้ หมด การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่าง
กันทัง้ หมด
ความน่าจะเป็ น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็ นของ
เหตุการณ์
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบีย รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 3.2 ม.4/1, ม.4/2
รวมทัง้ หมด 2 ตัวชีว
้ ัด

84
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 32101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 3 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


ฟั งก์ชัน ฟั งก์ชันและกราฟของฟั งก์ชัน (ฟั งก์ชันเชิงเส้น ฟั งก์ชัน
กำลังสอง ฟั งก์ชันขัน
้ บันได  ฟั งก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล)
ดอกเบีย
้ และมูลค่าของเงิน ดอกเบีย
้ มูลค่าของเงิน ค่ารายงวด
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนความรู้

85
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 1.2 ม.5/1
ค 1.3 ม.5/1
รวมทัง้ หมด 2 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

86
ค 32102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 4 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


ลำดับและอนุกรม  ลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต อนุกรม
เลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 1.2 ม.5/2
รวมทัง้ หมด 1 ตัวชีว
้ ัด

87
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 33101 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 5 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้
สถิติ ข้อมูล ตำแหน่งที่ของข้อมูล ค่ากลาง (ฐานนิยม มัธยฐาน ค่า
เฉลี่ยเลขคณิต) ค่าการกระจาย (พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ความ

88
แปรปรวน) การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การแปลความ
หมายของค่าสถิติ
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 3.1 ม.6/1
รวมทัง้ หมด 1 ตัวชีว
้ ัด

89
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ค 33102 คณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน 6 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้
เลขยกกำลัง รากที่ n ของจำนวนจริง เมื่อ n เป็ นจำนวนนับที่มา
กกว่า 1 เลขยกกำลังที่มีเลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล
ประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้
อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และนความรู้
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆและมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย

90
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
รหัสและตัวชีว
้ ัด
ค 1.1 ม.5/1
รวมทัง้ หมด 1 ตัวชีว
้ ัด

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


91
เลขยกกำลัง เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขชีก
้ ำลัง
เป็ นจำนวนเต็ม คูณและหาร เลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกันและ
เลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนเต็มได้ เขียนแสดงจำนวนในรูปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์
n
( A×10 เมื่อ 1≤ A<10 และ n เป็ นจำนวนเต็ม)
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ การนำความรู้เกี่ยวกับ
อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละไปใช้ในการแก้ปัญหา
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบใน
การตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
ชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. ใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนเต็มบวกใน
การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และปั ญหาในชีวิตจริงได้
2. คูณและหารเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชีก
้ ำลังเป็ น
จำนวนเต็มได้

92
3. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละในการแก้ปัญหา
ทางคณิตศาสตร์และปั ญหาในชีวิตจริงได้
4. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ
สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 21202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การสร้าง
รูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การนำความรู้
เกี่ยวกับการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
มิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต อธิบายลักษณะรูปเรขาคณิตสามมิติ
หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ระบุภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้าน
หน้า (front view) ด้านข้าง (side view) หรือด้านบน (top view )

93
ของรูปเรขาคณิตสามมิติ วาด ออกแบบ หรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสาม
มิติที่ประกอบขึน
้ จากลูกบาศก์
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบใน
การตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
ชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. สร้างและบอกขัน
้ ตอนการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิตได้
2. สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
และบอกขัน
้ ตอนการสร้างได้
3. ระบุภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง หรือด้าน
บน ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่กำหนดให้ได้
4. วาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึน
้ จาก
ลูกบาศก์ได้
5. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ
สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้

94
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 21203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 7 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


เลขยกกำลัง เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขชีก
้ ำลัง
เป็ นจำนวนเต็ม คูณและหาร เลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกันและ
เลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนเต็มได้ เขียนแสดงจำนวนในรูปสัญกรณ์
วิทยาศาสตร์
n
( A×10 เมื่อ 1≤ A<10 และ n เป็ นจำนวนเต็ม)
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ การนำความรู้เกี่ยวกับ
อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละไปใช้ในการแก้ปัญหา
การประยุกต์ 1 รูปเรขาคณิต จำนวนนับ ร้อยละในชีวิตประจำวัน
ปั ญหาชวนคิด

95
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบใน
การตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
ชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนเต็ม
บวกในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และปั ญหาในชีวิตจริง
2. คูณและหารเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกันและเลขชีก
้ ำลังเป็ น
จำนวนเต็ม
3. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละในการแก้ปัญหา
ทางคณิตศาสตร์และปั ญหาในชีวิตจริง
4. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ
สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

96
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 21204 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การสร้าง
รูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การนำความรู้
เกี่ยวกับการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
มิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต อธิบายลักษณะรูปเรขาคณิตสามมิติ
หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ระบุภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้าน
หน้า (front view) ด้านข้าง (side view) หรือด้านบน (top view )
ของรูปเรขาคณิตสามมิติ วาดออกแบบ หรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่ประกอบขึน
้ จากลูกบาศก์
การประยุกต์ 2 แบบรูปของจำนวน ข่ายงาน
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมา
ใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบใน
การตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
ชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ

97
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ
ระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มี
ความซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย
มีจิตสาธารณะ พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. สร้างและบอกขัน
้ ตอนการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิตได้
2. สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
และบอกขัน
้ ตอนการสร้างได้
3. ระบุภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง หรือด้าน
บน ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่กำหนดให้ได้
4. วาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึน
้ จาก
ลูกบาศก์ได้
5. ประยุกต์จำนวนและพีชคณิต ข่ายงานได้
6. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ
สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้
ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

98
ค 22201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


กรณฑ์ที่สาม สมบัติของ ∛ a เมื่อ a  การดำเนินการของจำนวนจริงซึ่ง
เกี่ยวกับกรณฑ์ที่สาม และการนำไปใช้
การประยุกต์ของพหุนาม พหุนาม การบวก การลบ พหุนาม การคูณและ
การหารพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูง
กว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มี
สัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. บวก ลบ คูณ และหารจำนวนจริงที่อยู่ในรูป ∛a เมื่อ a ≥0 และ b ≥0

2. บวก ลบ พหุนาม คูณและหารพหุนามได้

99
3. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดย

อาศัยวิธีทำเป็ นกำลังสอง
สมบูรณ์หรือใช้ทฤษฎีเศษเหลือได้
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

5. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความ


หมายทางคณิตศาสตร์ และการ
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 22202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้

100
การนำไปใช้ของพื้นที่ผิวและปริมาตร การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของ
พีระมิด กรวย และทรงกลม เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบ
เดียวกันหรือต่างระบบ และเปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตร คาด
คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ใช้ความรู้เกี่ยวกับ
พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ อธิบายลักษณะ
และสมบัติของพีระมิด กรวย และทรงกลม
การประยุกต์การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการ
หมุน
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. หาพื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมได้

2. บอกภาพทีเ่ กิดขึน
้ จากการเลื่อนขนาน การสะท้อนและการหมุนรูปต้นแบบ และอธิบาย
วิธีการที่จะได้ภาพที่
ปรากฏเมื่อกำหนดรูปต้นแบบและภาพนัน
้ ให้ และนำไปใช้ได้
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

4. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความ


หมายทางคณิตศาสตร์ และการ
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี

101
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 4 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 22203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 9 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


กรณฑ์ที่สาม สมบัติของ ∛ a เมื่อ a  การดำเนินการของจำนวนจริงซึ่ง
เกี่ยวกับกรณฑ์ที่สาม และการนำไปใช้
การประยุกต์ของพหุนาม พหุนาม การบวก การลบ พหุนาม การคูณและ
การหารพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูง
กว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มี
สัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การประยุกต์3 สมบัติของเลขยกกำลัง การคิดคำนวณ โจทย์ปัญหา

102
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. บวก ลบ คูณ และหารจำนวนจริงที่อยู่ในรูป ∛a เมื่อ a ≥0 และ b ≥0

2. บวก ลบ พหุนาม คูณและหารพหุนามได้


3. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดย

อาศัยวิธีทำเป็ นกำลังสอง
สมบูรณ์หรือใช้ทฤษฎีเศษเหลือได้
4. ใช้ความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังในการแก้ปัญหาได้

5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

6. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความ


หมายทางคณิตศาสตร์ และการ
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

103
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 22204 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 10 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้
การนำไปใช้ของพื้นที่ผิวและปริมาตร การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของ
พีระมิด กรวย และทรงกลม เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบ
เดียวกันหรือต่างระบบ และเปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตร คาด
คะเนเกี่ยวกับการวัดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ใช้ความรู้เกี่ยวกับ
พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ อธิบายลักษณะ
และสมบัติของทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
การประยุกต์การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการ
หมุน
การประยุกต์ 4 (การแปรผัน) การแปรผันตรง การแปรผกผัน การแปรผัน
เกี่ยวเนื่อง และการนำไปใช้
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
104
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. หาพื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมได้

2. บอกภาพทีเ่ กิดขึน
้ จากการเลื่อนขนาน การสะท้อนและการหมุนรูปต้นแบบ และอธิบาย
วิธีการที่จะได้ภาพที่
ปรากฏเมื่อกำหนดรูปต้นแบบและภาพนัน
้ ให้ และนำไปใช้ได้
3. แก้ปัญหาหรือสถานการณ์ที่กำหนดโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการแปรผันได้

4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

5. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความ


หมายทางคณิตศาสตร์ และการ
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 23201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
105
ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้
โจทย์ปัญหาระบบสมการ แก้โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การนำไปใช้ของฟั งก์ชันกำลังสอง การหาค่าและเขียนกราฟของฟั งก์ชัน
กำลังสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง การแยกตัวประกอบของ
พหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุ
นามที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. ใช้ความรูเ้ กีย
่ วกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในการแก้โจทย์ปัญหา
2. หาค่าของฟั งก์ชันกำลังสอง เขียนกราฟและบอกลักษณะกราฟของฟั งก์ชันกำลัง

สองได้
3. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดย

อาศัยวิธีทำเป็ นกำลังสอง
สมบูรณ์หรือใช้ทฤษฎีเศษเหลือได้
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

5. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการ

106
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 23202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40
ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


โจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของพื้นที่ผิว การหาพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ใช้ความรู้เกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม

107
การประยุกต์ของปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ ใช้
ความรู้เกี่ยวกับปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
การประยุกต์อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติของ
มุม ไปใช้ในการคาดคะเนระยะทาง

และความสูง
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. ใช้ความรูเ้ กีย
่ วกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา
่ ง ๆ
3. ใช้ความรู้เกี่ยวกับปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา
่ ง ๆ
4. ใช้ความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ในการคาดคะเนระยะทางและความสูง

5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

6. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการ
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

108
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 23203 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 11 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


โจทย์ปัญหาระบบสมการ แก้โจทย์ปัญหาระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การนำไปใช้ของฟั งก์ชันกำลังสอง การหาค่าและเขียนกราฟของฟั งก์ชัน
กำลังสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง การแยกตัวประกอบของ
พหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุ
นามที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การประยุกต์ 5 (การประยุกต์ของระบบสมการ) การประยุกต์ของการแก้
ระบบสมการสองตัวแปรที่ประกอบด้วยสมการเชิงเส้นและสมการดีกรีสอง และ
ระบบสมการที่ประกอบด้วยสมการดีกรีสองทัง้ สองสมการ
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ

109
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. ใช้ความรูเ้ กีย
่ วกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในการแก้โจทย์ปัญหา
2. หาค่าของฟั งก์ชันกำลังสอง เขียนกราฟและบอกลักษณะกราฟของฟั งก์ชันกำลัง

สองได้
3. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ นจำนวนเต็มโดย

อาศัยวิธีทำเป็ นกำลังสอง
สมบูรณ์หรือใช้ทฤษฎีเศษเหลือได้
4. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระบบสมการสองตัวแปรที่มีดีกรีไม่เกินสองได้
5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

6. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการ
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

110
ค 23204 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 12 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


โจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของพื้นที่ผิว การหาพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ใช้ความรู้เกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม
การประยุกต์ของปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
เปรียบเทียบหน่วยความจุ หรือหน่วยปริมาตรในระบบเดียวกันหรือต่างระบบ ใช้
ความรู้เกี่ยวกับปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
การประยุกต์อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนำอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม
ไปใช้ในการคาดคะเนระยะทาง

และความสูง
การประยุกต์ 6 (การเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์) ใช้วิธีการที่
หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ
เทคโนโลยีในการแก้ ปั ญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ ได้อย่างถูกต้อง
และชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ มีความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์
โดยนำความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่หลากหลายมาใช้แก้
ปั ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ
111
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ในคณิตศาสตร์และนำความรู้ หลักการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไป
เชื่อมโยงกับศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถทำงานอย่างมีระบบระเบียบ
รอบคอบ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์
สุจริตมีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์

ผลการเรียนรู้
1. ใช้ความรูเ้ กีย
่ วกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวในการแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา
่ ง ๆ
3. ใช้ความรู้เกี่ยวกับปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา
่ ง ๆ
4. ใช้ความรู้เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ในการคาดคะเนระยะทางและความสูง

5. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้

ปั ญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม


6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้

7. มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย

ทางคณิตศาสตร์ และการ
นำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อ่ น
ื ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รวมทัง้ หมด 7 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 31201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

112
ศึกษา ฝึ กทักษะการคิดคำนวณ และฝึ กการแก้ปัญหาเรื่อง
จำนวนจริงและพหุนาม จำนวนจริง การเท่ากัน การบวก การ
ลบ การคูณ และการหารในระบบจำนวนจริง สมบัติของระบบ
จำนวนจริง การแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว สมบัติการไม่เท่ากัน
ช่วงและการแก้อสมการ ค่าสัมบูรณ์ การแก้สมการและอสมการในรูป
ค่าสัมบูรณ์
เรขาคณิตวิเคราะห์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
ระยะทางระหว่างจุดสองจุด จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ความชันของ
เส้นตรง เส้นขนาน เส้นตัง้ ฉาก ความสัมพันธ์ซึ่งมีกราฟเป็ นเส้นตรง
ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด ภาคตัดกรวย วงกลม วงรี พาราโบลา
ไฮเพอร์โบลา และการเลื่อนแกน โดยการจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์
หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและค้นพบด้วย
ตนเอง ด้วยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปและรายงานเพื่อพัฒนา
ทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอ การ
เชื่อมโยงความรู้ มีความคิดรวบยอด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถ
ทำงานอย่างเป็ นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ มีความเชื่อ
มั่นในตนเอง ตระหนักเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. บอกองค์ประกอบของระบบจำนวนจริงได้
2. แก้สมการพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกิน 4 ได้
3. แก้สมการและอสมการในรูปค่าสัมบูรณ์ได้
4. หาระยะระหว่างจุดสองจุด จุดกึ่งกลาง ระยะระหว่างเส้นตรงกับจุด
ระยะระหว่างเส้นขนาน
113
5. หาความชันของเส้นตรง เส้นขนาน เส้นตัง้ ฉากและหาความสัมพันธ์
ที่มีกราฟเป็ นเส้นตรง
6. บอกความสัมพันธ์ที่เป็ นภาคตัดกรวยพร้อมทัง้ บอกส่วนประกอบ
7. เขียนความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็ นภาคตัดกรวย เมื่อกำหนดส่วน
ประกอบให้
รวมทัง้ หมด 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 31202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต

ศึกษา ฝึ กทักษะการคิดคำนวณ และฝึ กการแก้ปัญหาเรื่อง


ฟั งก์ชัน ความสัมพันธ์ ผลคูณคาร์ทีเซียน ความสัมพันธ์ โดเมน
และเรนจ์ของความสัมพันธ์ ตัวผกผันของความสัมพันธ์ ฟั งก์ชัน ความ
หมายของฟั งก์ชัน การดำเนินการของฟั งก์ชัน ฟั งก์ชันผกผัน เทคนิค
การเขียนกราฟ
ฟั งก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟั งก์ชันลอการิทึม เลขยกกำลังที่มี
เลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนเต็ม รากที่ n ในระบบจำนวนจริงและจำนวนจริง
114
ในรูปกรณฑ์ เลขยกกำลังที่มีเลขชีก
้ ำลังเป็ นจำนวนตรรกยะ ฟั งก์ชันเอก
ซ์โพเนนเชียล ฟั งก์ชันลอการิทึม การหาค่าลอการิทึม การเปลี่ยนฐาน
ลอการิทึม สมการเอกซ์โพเนนเชียลและฟั งก์ชันลอการิทึม การประยุกต์
ของสมการเอกซ์โพเนนเชียลและฟั งก์ชันลอการิทึม
โดยการจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้
ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและค้นพบด้วยตนเอง ด้วยการปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุปและรายงานเพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิด
คำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ มีความคิดรวบ
ยอด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มี
ระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ มีความเชื่อมั่นในตนเอง ตระหนักเห็น
คุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
ผลการเรียนรู้
1. เขียนผลคูณคาร์ทีเซียนของเซตที่กำหนดให้ได้ และเขียนความสัมพันธ์ในรูปเซต
2. หาโดเมนและเรนจ์ ตัวผกผันของความสัมพันธ์ และเขียนกราฟ
3. บอกความสัมพันธ์ที่เป็ นฟั งก์ชัน บอกชนิดของฟั งก์ชัน
4. หาการดำเนินการของฟั งก์ชัน ฟั งก์ชันประกอบ ฟั งก์ชันผกผัน
5. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับฟั งก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟั งก์ชัน
ลอการิทึม และเขียนกราฟได้
6. นำความรู้เกี่ยวกับฟั งก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟั งก์ชันลอการิทึม ไป
ใช้แก้ปัญหา
รวมทัง้ หมด 6 ผลการเรียนรู้

115
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 32201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 80
ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษา ฝึ กทักษะการคิดคำนวณ และฝึ กการแก้ปัญหาเรื่อง


ฟั งก์ชันตรีโกณมิติ ฟั งก์ชันไซน์และโคไซน์ ค่าของฟั งก์ชันไซน์
และโคไซน์ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติอ่ น
ื ๆ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของมุม การใช้
ตารางค่าฟั งก์ชันตรีโกณมิติ ฟั งก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่าง
ของจำนวนจริงหรือมุม ตัวผกผันของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ เอกลักษณ์และ
สมการตรีโกณมิติ กฎของโคไซน์และไซน์ การหาระยะทางและความสูง
กราฟของฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
เมทริกซ์ การบวกและการคูณของเมทริกซ์กับจำนวนจริง การคูณ
ระหว่างเมทริกซ์ การหาเมทริกซ์สลับเปลี่ยน ดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์ การแก้ระบบสมการเชิงเส้น
โดยใช้เมทริกซ์
เวกเตอร์ในสามมิติ ระบบพิกัดฉากสามมิติ เวกเตอร์ เวกเตอร์ใน
ระบบพิกัดฉาก การบวกและ
การลบของเวกเตอร์ การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ การหาผลคูณเชิงสเกล
าร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
116
โดยการจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัว
ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และค้นพบด้วยตนเอง ด้วยการปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุปและรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิด
คำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล สื่อสาร การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ มีความคิดรวบยอด มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มีระเบียบวินัย
ซื่อสัตย์ สุจริต มีความรับผิดชอบ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มี
ความเชื่อมั่นในตนเอง ตระหนักเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชา
คณิตศาสตร์ และมีจิตสาธารณะ
ผลการเรียนรู้
1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับฟั งก์ชันตรีโกณมิติและลักษณะกราฟของ
ฟั งก์ชันฟั งก์ชันตรีโกณมิติ
2. นำความรู้เกี่ยวกับฟั งก์ชันตรีโกณมิติไปประยุกต์ใช้ในแก้ปัญหาได้
3. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเมทริกซ์
4. นำความรู้เกี่ยวกับเมทริกซ์ไปใช้แก้ระบบสมการเชิงเส้นได้
5. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเวกเตอร์ในสามมิติ
6. หาผลบวกและลบของเวกเตอร์ ผลคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ และหา
ผลคูณเชิงสเกลาร์
ผลคูณเชิงเวกเตอร์ได้
7. นำความรู้เกี่ยวกับเวกเตอร์ในสามมิติไปใช้ในแก้ปัญหาได้
รวมทัง้ หมด 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

117
ค 32202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 4 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 80
ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษา ฝึ กทักษะการคิดคำนวณ และฝึ กการแก้ปัญหาเรื่อง


จำนวนเชิงซ้อน จำนวนเชิงซ้อน กราฟและค่าสัมบูรณ์ของ
จำนวนเชิงซ้อน จำนวนเชิงซ้อน
ในรูปเชิงขัว้ สมการพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสี่ที่มีสัมประสิทธิเ์ ป็ น
จำนวนเต็ม
หลักการนับเบื้องต้น หลักการบวกและการคูณ วิธีเรียงสับเปลี่ยน
วิธีจัดหมู่ ทฤษฎีบททวินาม
ความน่าจะเป็ น ความน่าจะเป็ น และกฎที่สำคัญบางประการ
ของความน่าจะเป็ น
โดยการจัดกิจกรรม จัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัว
ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และค้นพบด้วยตนเอง ด้วยการปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุปและรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิด
คำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล สื่อสาร การสื่อความหมายทาง
คณิตศาสตร์ การนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ มีความคิดรวบยอด มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถทำงานอย่างเป็ นระบบ มีระเบียบวินัย
ซื่อสัตย์ สุจริต มีความรับผิดชอบ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวิจารณญาณ มี
ความเชื่อมั่นในตนเอง ตระหนักเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชา
คณิตศาสตร์ และมีจิตสาธารณะ
ผลการเรียนรู้
1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจำนวนเชิงซ้อน
118
2. นำสมบัติต่างๆ เกี่ยวกับจำนวนเชิงซ้อนการดำเนินการไปใช้แก้ปัญหา
ได้
3. หารากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน เมื่อ n เป็ นจำนวนนับที่มากกว่า 1
ได้
4. นำความรู้เกี่ยวกับจำนวนเชิงซ้อนไปแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว
ดีกรีไม่เกินสี่ที่มีสัมประสิทธิ ์
เป็ นจำนวนเต็ม
5. แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้หลักการการนับเบื้องต้น วิธีเรียงสับเปลี่ยนและ
วิธีจัดหมู่
6. นำความรู้เรื่องทฤษฎีบททวินามไปใช้ได้
7. หาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่กำหนดให้ได้
8. นำความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นไปใช้
รวมทัง้ หมด 8 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 33201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 5 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 80
ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต

119
ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้
ลำดับและอนุกรม ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์ ลำดับเลขคณิต
และลำดับเรขาคณิต ลิมิตของลำดับอนันต์ อนุกรมจำกัดและอนุกรม
อนันต์ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต ผลบวกของอนุกรมอนันต์
การนำความรู้เกี่ยวกับลำดับและอนุกรมไปใช้ในการแก้ปัญหามูลค่าของ
เงินและค่ารายงวด
สถิติ ข้อมูล ตำแหน่งที่ของข้อมูล ค่ากลาง(ฐานนิยม มัธยฐาน ค่า
เฉลี่ยเลขคณิต) ค่าการกระจาย (พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความ
แปรปรวน)
ผลการเรียนรู้
1.ระบุได้ว่าลำดับที่กำหนดให้เป็ นลำดับลู่เข้าหรือลู่ออก
2.หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกมเรขาคณิตได้
3.หาลิมิตของลำดับอนันต์ โดยอาศัยทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตได้
4.หาผลบวกของอนุกรมอนันต์ได้
5.เข้าใจและนำความรู้เกี่ยวกับลำดับและอนุกรมไปใช้ได้
6.เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูล
7.แปลความหมายของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจได้
8.เลือกวิธีวิเคราะห์เบื้องตันและอธิบายผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง
9.นำความรู้เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลไปใช้แก้ปัญหาบางประการได้
รวมทัง้ หมด 9 ผลการเรียนรู้

120
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ค 33202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 80
ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ฝึ กทักษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี ้


การแจกแจงความน่าจะเป็ นเบื้องต้น การแจกแจงเอกรูป การ
แจกแจงทวินาม การแจกแจงปกติ
แคลคูลัสเบื้องต้น ลิมิตและความต่อเนื่องของฟั งก์ชัน อนุพันธ์ของ
ฟั งก์ชันพีชคณิต ปริพันธ์ของฟั งก์ชันพีชคณิต
ผลการเรียนรู้
1.หาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจง
เอกรูปและนำไปใช้แก้ปัญหาได้
2.หาความน่าจะเป็ นของเผตุการณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจงทวิ
นามและนำไปใช้แก้ปัญหาได้
3.หาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจง
ทวินามและนำไปใช้แก้ปัญหาได้

121
4.หาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่เกิดจากตัวแปรสุ่มที่มีการแจกแจง
ปกติและนำไปใช้แก้ปัญหาได้
5.หาลิมิตของฟั งก์ชันที่กำหนดให้ได้
6.ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟั งก์ชันที่กำหนดให้ได้
7.หาอนุพันธ์ของฟั งก์ชันพีชคณิตที่กำหนดให้และนำไปใช้แก้ปัญหาได้
8. นำความรู้เรื่องอนุพันธ์ของฟั งก์ชันไปประยุกต์ใช้ได้
9.หาปริพันธ์ไม่จำกัดเขตและนำไปใช้แก้ปัญหาได้
10.หาปริพันธ์จำกัดเขตบนช่วงทีก
่ ำหนดให้และนำไปใช้แก้ปัญหาได้
11. หาทีป
่ ิ ดล้อมด้วยเส้นโค้งบนช่วงทีก
่ ำหนดให้ได้
รวมทัง้ หมด 11 ผลการเรียนรู้

122

You might also like