You are on page 1of 6

จ พร โก งเ น

ร ส ก กษา 65150
อ 4 01 15

คณะ เภ ชศาสต สาขา บ บาล ทาง เภ ชกรรม

ความรู้เบื้องต้นในการเรียนปฏิบัติการเคมี

สาร เค ehemical substance สาร อ ปก ทาง เค แ นอน อาจ เ น ธา ห อ สปก .

สาร เค นตราย Hazardous chemical สารเค นตราย อ ต และ สวม .

นตราย สาร เค อ ขภาพ สาร เค เ า างกายไ 3 ทาง

Lab ! !

f
- ปาก eatโดย ตรง / เห าม 1 eat ererythingin Chemistry
วห ง * ใ เอ ม และ สวม ง อ เวลา บ สาร
เค *

หายใจ สวม ห ากาก ร ย /ใ


*
ดค น
-
ลม *

ปกร เ อความ ปลอด ย วน คคล อง น ?

|
-
เ อ การ 90Wh =
alohg hess → ส เค หารคาง กาย

แ นตา ร ย safetyglasses
-

แ น ครอบตา พ อม กระ งห า Faeeghidd |→ สาร เค ,


ผง สะเ ด เ า ตา


อ → ฮสาร เค * อก ชน ใ เหมาะสม บ การ ใ งาน

l
-

รอง เ า ม น * ควร เ น นยาง จไ .

น * →
ลา เค หมารด เ า

l ปกร อง น การ หา ใจ respiratory protectim deriees เ น mosk →


น สาร เค

ปกร เ อความ ปลอด ย วนรวม


Harto use

typid dioxide)

|
-
เค อง บ เพ ง Fireextinguisher 1A carbm →
ว วงโลหะ เ อ บ นโยก ง บ ฯลา ออก มา

eyewashfountain าง สาร เค เ า ตา / อ
-

าง างตา กเ น emergency -

ก ว กเ น Laboratory emergeng shower → าง ว เ 0สาร เค หก ตาม างกาย

ดค น laboratorytumehood สาร เค ระเหย ายใ มา เ ด และใใน


สู
รุ
ศึ
นั
ที่มี
ที่
อั
ชี
ต่
ที่อั
อั
สุ
ต่
สู่ร่
อุ
ผิ
ห้
จั
มื
ถุ
คุ
นิ
ตู้ดู
อุ
ป้
บุ
ส่
ภั
น์
นิ
ฌิ
มื
ถุ
ล็
กั
สั่
หุ้
พั
ลื่
อุ
ป้
ฝุ่
อุ
ส่
ภั
ดั
บั
คั
บี
ห่
ดิ
ฉุ
ล้
อ่
ล้
ฝั
มื
ฉุ
มี
ตั
ล้
ตุ้ดู
ร่
ง่
ที่
ตู้นี้
ข้
ข้
ท้
ท้
ข้
ปิ
พื่
ช่
ป็
สื่
สื่
ป็
พื่
พื่
หั
ริ
รื
ม่
วั
วิ
บั
น่
ร้
ว่
ว่
ด้
น้
วั
ช้
ห้
ส่
สั
ช้
มี
สั
รื่
มี
ตุ
มี
ห้
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
มี
คั
มี
มี
บั
ลิ
ภั
มี
ติ
ภั
ก็
นิ
บั
กั
ฉิ
ฉิ
กั
นั
ณ์
ณ์
ณ์
ตุ
น้
ร์
จ พร โก งเ น
ร ส ก กษา 65150 อ 4 01 15

คณะ เภ ชศาสต สาขา บ บาล ทาง เภ ชกรรม

ญ กษ แสดง ความ ปลอด ย ระบบ NFPA - The National Fire Patection Aiociation

NFPA → USA

ยมใ
ยา EEC
ระบบ ญ กษ → →
Europe ญ กษ คง นตราย เ น ป 1 ยม

GHS →
อง การสหประชาชา

สี่เหลี่ยมพื้นสีแดงด้านบน : อันตรายจากไฟ (Flammability)

ไปใน อากาศ

|
-0 ต ไ แ ค . อน จะ ง ง 815.5% 5 นา สี่เหลี่ยมพื้นสีน้าเงินด้านซ้าย : อันตรายต่อสุขภาพ (Health)
กใ ไป ไห ใน mmd

|
อน ง อน จะ ด
ไ ไป
1

เ น
-

สาร ประเภท
และ เผา
นตราย นอกจาก เวลา ก
.

o
ไป
_


2 น ปานกลาง งจะ ด า เยอะ อาจ เ ด มล ษ ทาง อากาศ
ไ ใน เวลา น ๆ ระคายเ อง
-

สาร ประเภท
ส ค

.

_
า จะ

แ ง ไปใน อากาศ temp ปก


ฅึ๋
3
-

ของ เหลว และ


l4 _

2 สาร ไ บมาก พอ จะ พพลภาพ


วคราว 1 ถาวร
ไไป มาก
สาร ex กร ระเหย เ นไอไ เ ว temp อง
-

3 สาร คม เวลา นา / ม ส วห ง เ ก อย
. จะ นตราย ายแรง วคราว
L น บรรยากาศ /กระจาย ว ผสม ส อากาศ
ค .

L 4 สารไ เ น อก อย → ตาย
เ อ ไฟ

สี่เหลี่ยมพื้นสีเหลืองด้านขวา : อันตรายจากปฏิกิริยาของสาร (Reactivity)


|
-0 เส ยร ง แ บ คะ อน รวม ไ เ ดป
ง สาร พวก ยา บ

"
เ ยใน ภาวะ ปก ไ เส ยร 1 ช 0 temp / ค นเ ม รวม ง สาร สลาย ไ เ อ
ก บ อากาศ แสง
สงวน คน
-

2 สาร เ ดป ยา น ใน temp / แ ค . นปก รวม งส เ ด ป ยา นแรง เ อ ก

3 ว / ระเ ด เ อไสปค อน / แก นสะเ อน ง ง สาร ระเ ด เ อ ก

l
สาร สามารถสลาย
-

. รวม

4 สาร สลาย ว 1 ระเ ไ


ด วย ว เอง น temp / ค .
นปก รวม ง กร ไว อ คะ น ละ แก น สะเ อน

สี่เหลี่ยมพื้นสีขาวด้านล่าง : ข้อควรระวังพิเศษ (Special notice)

1-
0× สาร 0✗ idise เ อ เ ดป ยา เค ใ 02 แยก hyhogen ออกจะสาร น
ห รอ บ dect ไ มา

W สาร เ ด ป ยาล ไ เ อ กาก จะ เ ด ป ยา ว ป อยพ งงาน ออกมา รวดเ ว


สู
รุ
ศึ
นั
สั
สั
ภั
ที่นิ
สั
จั
หี่
สี่
รู
อั
วั
ติ
ที่
ถึ
สู
ร้
ติ
ก่
สู
ร้
ติ
ลู
อั
มี
ถ้
ติ
จึ
ริ
ที่มี
สั้
รั
ติ
ที่
ที่
ขึ๊
ชั่
ทุ
รั
สั
สิ
ที่
ห้
ที่
ผิ
ตั
ดิ
ชั่
ร้
อั
ติ
น้
สู
ถึ
ร้
รั
นำ
กั
ตั
ที่
ถึ
กั
ที่
กั
ถู
ดิ
รุ
ที่
ถึ
ตั
ที่
น้ำ
ถู
รุ
สั
ร้
ที่
ถึ
ที่สู
ตั
ที่
น้ำ
ถู
ดั
ตั
ด้
สั
ริ
ต่
ที่
ถึ
รั
อื่
ที่
น้ำ
นำ
หั
พ้
ร็
ป็
กิ
มื่
มื่
กิ
มื่
กิ
มื่
มื่
มื่
ล็
พิ่
กิ
กิ
ป็
ป็
กิ
ป็
กิ
ม้
ด้
สี
หั
ด้
ข็
ตุ
ริ
ด้
ด้
ม่
ฏิ
ด้
ม่
ม่
ฏิ
ลั
ฏิ
ม่
ฏิ
ฏิ
ด้
ห้
ห้
ฏิ
ช้
ด้
ด้
ด้
ล่
สั
สั
ถี
ถี
ห้
ค์
ติ
มี
ถุ
พิ
รั
กิ
บิ
บิ
ผั
บิ
ติ
กิ
ม้
ติ
กิ
ทื
กิ
กิ
ลั
ลั
ทื
กิ
น้
ติ
นิ
นั
ริ
ลั
ริ
ริ
ริ
ริ
ริ
ร็
คื
ณ์
ณ์
ร์
ณ์
ติ
จ พร โก งเ น
ร ส ก กษา 65150 อ 4 01 15

คณะ เภ ชศาสต สาขา บ บาล ทาง เภ ชกรรม

ระบบ EEC lthe


Eunopem Ecmomic Cancill
แ งตามประเภทของ นตาย


แอมโมเ ยม ค า
ระเ ไ
ex ครม ต กรด
ด Explosive
.

กเ ยง การ กระเ อน กระแทก เ ยด ไฟ


ประกาย ค รอน
.

ไฟ
เ ง การ ด Oxidizing ใ 02 เ ง การ กไห
เ บ าง ล จาก ลงไป ex - kmn 04 , โซเ ยม เปอ ออกไซ

ไไป ง
สาร Highlyflammable ไไป
แ ส ง ,
ของ เหลว ไป า ก
ดวาบ า c ไ
ด เ อด เ น 35°C

เ ไล
บ เปลไป ไฟ แพง ค
ประกาย อน อะเซ น 10ท ล เธอ
.
ex .
hydrogen ,
, บท

สาวไป flammable ของ เหลว ไไป ดวาบ


าก า 21C

เ ไล
บ เปลไป ไฟ แขนง ค
ประกาย อน ex เอทานอล อะ โตไ ไตร ล และ ไ
เมตร Li พล
,
. .
, ,
,

สาร ษ toxic ายแรง า ต


ก ท การ ดดม ม ส ex.CN ,
Hg ,
สาร ด ต ช

สาร นตราย Harmfd อ นตราย 1 0 เ า ระบบ างกาย

ก ยา การ
ด ดม ม ส ex . คลอโรฟอ ม ,ไตร คอโก อ น ไพ น

สาร ระคายเ อง Irritant ระคายเ อง อ 1 01 0 ตา ว ระบบ หายใจ


ก ห การ ด ดม มา
ex . แอมโมเ ย เบน โบรไม เอาโน ลา น

สาร ดก อน corrosi ขอ ดก อน ลาย 1 0 ม ส

ก ห การ ด ดม มา ex กรด 1 าง เ ม น ไฮโดรเจน เปอ ออกไซ

ต นตราย อ สวล -
dangerous ไข environment
ไ งส เค อ สจล เ บ อ าง ลโไ ไตร
ก อง ย× อ ค
.
. .

สร ม นต ง Radioactive ส
ใ ม นตภาพ ง ออก > อ อ 02
.
microcurielgnom

ห กเ ยง การ เ าไปใน บ เวณสาร ม นต ง สาม ปกร อง น

ex.eu raniumoxide ,
รอ เ ยนไนเตรท
สู
รุ
ศึ
นั
ยี
พิ
หั
ติ
ลุ
ห่
สู
ติ่
จุ
สู
จุ
อํ
ร้
นำ
อี
ติ่
จุ
ซี
ซี
ร้
ชี
ถ้
ร้
พิ
สั
สู
พี
พั
ศั
กิจั
ษี
ร่
สู่
มี
อั
ก่
อั
พื
สั
สู
ธิ
ดี
หี
ผิ
ย์
น้
ต่
สู
ซี
กั
มี
กั
สั
มี
ทำ
หี
ด่
สู
วั
ต่
อั
ที่
ต่
ถู
กั
สี
ริ
ที
กั
กั
อุ
ป้
ลี่
ก็
ก็
ดื
ก็
ก็
ข้
รี
ร่
สี
ร่
ข้
กิ
ข้
ว่
ก๊
ว่
ย่
หั
ต่
ริ
ม่
ม่
บ่
ลี
ริ
ด้
ว้
ด้
ธิ
วิ
ห้
ลี
ห้
สั
สั
มี
ถุ
บิ
ต้
ผั
มั
ผั
ร์
ร์
กั
มั
มั
ผั
ดี
ข้
รู
ทื
นิ
พี่
พี่
ร่
ร่
ณ์
ลี่
ฉี่
สี
ร่
ร์
ทิ
ม้
ด์
ด์
ลี
รั
นี
คื
นี
ด์
คื
รั
สี
ร์
ร์
สี
รั
สี
จ พร โก งเ น
ร ส ก กษา 65150 อ 4 01 15

คณะ เภ ชศาสต สาขา บ บาล ทาง เภ ชกรรม

ระบบ GHS l The GIobdly Harmonizedofdassification and Labeling ofchemicals ) 9 ป


สารไวไฟสูงมาก (Extremely flammable) ของเหลวที่มีจุดติดไฟต่ำ แก๊สและแก๊สผสม ที่ไวไฟในอากาศที่
อุณหภูมิและความดันปกติ เก็บให้ห่างจากเปลวไฟ ประกายไฟ และความร้อน
ex. เบนซีน โทลูอีน เมทานอล เอทานอล แก๊สไฮโดรเจน แก๊สมีเทน แก๊สหุงต้ม

วัตถุระเบิด (Explosive) สารเคมีเมื่อได้รับความร้อนในสภาวะจำกัดจะเกิดการระเบิดหรือ เผาไหม้อย่างรุนแรง


หลีกเลี่ยงการกระทบกระแทก เสียดสี แยกให้ห่างจากแหล่งความร้อนและประกายไฟ
ex. ธาตุโซเดียม ธาตุโพแทสเซียม เป็นต้น

สารเร่งการติดไฟหรือสารออกซิไดส์ (Oxidizing)
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารเคมีที่ไวไฟ ความร้อน เมื่อเกิดไฟไหม้ สารนี้จะเร่ง ให้ไฟไหม้มากขึ้น
ex. แอมโมเนียมไนเตรต โพแทสเซียมคลอเรต โพแทสเซียมเปอร์มังกาเนต

แก๊สภายใต้ความดันสูง (Compressed gases) สารเคมีต่าง ๆ ที่อยู่ในสถานะแก๊สที่อยู่ ภายใต้ความดันสูง


หลีกเลี่ยงการกระทบกระแทกหรืออยู่ใกล้ความร้อน
ex. แก๊สไนโตรเจน แก๊สอาร์กอน

อันตรายด้านสุขภาพ

สารพิษ (Toxic) สารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมากหรือทำให้เสียชีวิตกรณีที่เข้าสู่ร่างกาย


หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับร่างกาย สูดดมกล่ินไอของสารโดยเด็ดขาด หากมีการ ใช้สารกลุ่มนี้ในการทดลองจะต้องมี
อุปกรณ์ป้องกันเพื่อความปลอดภัยอย่างดี
ex สารประกอบไซยาไนต์ เป็นต้น.

สารกัดกร่อน (Corrosive) สารที่สามารถกัดกร่อนเนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิตเมื่อสัมผัสและกัดกร่อน อุปกรณ์การทดลองได้


ต้องระมัดระวังในการปกป้องนัยน์ตาผิวหนัง และเสื้อผ้า ห้ามหายใจ เอาไอระเหยของสารอันตรายนี้เข้าสู่ร่างกาย
ex โซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น แอมโมเนียเข้มข้น กรดไฮโดรคลอริก กรดไนตริก และ กรดซัลฟิวริก

สารระคายเคือง (Irritant) เป็นสารที่ไม่มีสมบัติกัดกร่อนแต่ถ้าสัมผัสสารอาจก่อให้เกิดการ บวม ระคายเคืองต่อระบบ


ทางเดิน หรือทาให้เกิดการแพ้ที่ผิวหนัง
ข้อควรระวัง หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับนัยน์ตาและผิวหนัง ห้ามหายใจเอาไอของสารนี้เข้าสู่ ร่างกาย
ตัวอย่าง สารประกอบไดโครเมต เช่น โซเดียมไดโครเมต โพแทสเซียมไดโครเมต

สารที่มีผลต่อสุขภาพ (Health hazard) สารที่สามารถทาให้เกิดโรคมะเร็ง การก่อให้เกิด การกลายพันธุ์ของเซลล์สืบพันธุ์หรือ


สารเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเฉพาะ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับร่างกาย สูดดมกลิ่นไอของสารโดยเด็ดขาด หากใช้สาร ประเภทนี้ให้ทาการทดลองในตู้ดูดควันที่มิดชิด
และใช้อุปกรณ์ป้องกันเพื่อความปลอดภัย
ex เบนซีน ไตรคลอโรมีเทน เตตระคลอโรมีเทน ใยแก้ว โทลูอีน เป็นต้น
สู
รุ
ศึ
นั
รู
หั
ริ
สั
สั
นิ
ร์
จ พร โก งเ น
ร ส ก กษา 65150 อ 4 01 15

คณะ เภ ชศาสต สาขา บ บาล ทาง เภ ชกรรม

อันตรายด้านสิ่งแวดล้อม

การจัดการของเสียอันตราย

ข้อควรปฏิบัติในการใช้สารเคมี และการเตรียมสารเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการ
1. สวมเสื้อคลุมปฏิบัติการ แว่นตานิรภัย ทุกครั้งเมื่อใช้สารเคมี
2. อ่านฉลากก่อนและหลังใช้สารเคมีทุกครั้ง
3. ไม่ควรเอาสารเคมีที่ต้องการออกจากขวดมากเกินไป
4. อย่าใช้มือจับหรือสัมผัสสารเคมีโดยตรง
5. เปิดฝาจุกขวดสารเคมีให้หงายฝาขวดขึ้นวางบนโต๊ะที่สะอาด
6. ควรเทสารละลายที่เข้มข้นลงในสารละลายที่เจือจางกว่าเพื่อหลีกเลี่ยงปฏิกิริยาที่รุนแรงหรือการกระเด็นของสารละลาย
7. ควรจับภาชนะให้ฉลากอยู่ระหว่างอุ้งมือเวลาถ่ายเทสาร ป้องกันไม่ให้ฉลากป้ายชื่อหลุดหาย
8. อย่าชิมสารต่าง ๆ ในห้องทดลอง
9. อย่าดมกลิ่นสารต่าง ๆ ด้วยการเอามาจ่อที่จมูก แต่ให้ถือหลอดทดสอบที่มีสารเคมีนั้นไว้ห่าง ๆ แล้วให้มือโบกกลิ่นของสารนั้น
ให้เข้าจมูกเพียงเล็กน้อย
สู
รุ
ศึ
นั
หั
ริ
สั
สั
นิ
ร์
จ พร โก งเ น
ร ส ก กษา 65150 อ 4 01 15

คณะ เภ ชศาสต สาขา บ บาล ทาง เภ ชกรรม

10. ถ้าผิวหนังถูกกรดหรือเบสเข้มข้น ให้รีบล้างด้วยน้าจานวนมาก ๆ ทันที หลังจากล้างน้าจานวนมาก ๆ แล้วล้าง


ด้วยสารละลายโซเดียมไบคาร์บอเนตอีกครั้งหนึ่ง
ถ้าถูกเบสเข้มข้นหลังจากล้างน้ำจำนวนมาก ๆ แล้วให้ล้างด้วยสารละลายกรดบอริกเจือจางถ้าสารเคมีกระเด็นเข้า
ตาต้องรีบล้างด้วยน้าสะอาดทันทีแล้วแจ้งให้ อาจารย์ผู้ควบคุมห้องปฏิบัติการทราบทันที

11. อย่าใช้สารเคมีที่บรรจุในภาชนะที่มีฉลากป้ายไม่ชัดเจน เพราะถ้าหยิบไปใช้ผิดก็จะทาให้เกิด อันตรายได้

12. อย่าใช้สารเคมีมากกว่าที่กำหนดไว้ เวลาเทสารเคมีออกจากภาชนะควรกะปริมาณสารเท่าที่จำเป็น


ส่วนที่เกินให้กาจัดทิ้งสารเคมีที่นำออกจากขวดแล้วเมื่อเหลือใช้ ห้ามเทกลับคืนเพราะสารนั้นอาจถูกเปลี่ยน
สภาพจากเดิมไปเมื่อตั้งทิ้งไว้ในอากาศ

13. อย่ามองลงไปในภาชนะที่มีสารเคมีอยู่ ทั้งนี้เพราะสารเคมีอาจพุ่งขึ้นมาถูกใบหน้า หรือตา

14. อย่าใช้ปากดูดสารเคมีเป็นอันขาด เมื่อต้องการถ่ายสารเคมีควรใช้ปิเปต และใช้ลูกยางดูดแทน

15. การทดลองใด ๆ ที่เกี่ยวกับแก๊สพิษ ต้องทาการทดลองในตู้ดูดควัน (Hood)

16. ควรล้างมือทุกครั้ง เมื่อมีการสัมผัสกับสารเคมี และก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ

17. นักศึกษาต้องนำน้ายาล้างจาน 1 ขวด/กลุ่ม กระดาษชำระมาเอง 2 ม้วน/กลุ่ม


สู
รุ
ศึ
นั
หั
ริ
สั
สั
นิ
ร์

You might also like