You are on page 1of 192

KF1I

QRP Ham Toy Kit

Now are you talking


เมือ
่ คุณเริม
่ ออกอากาศ

CQ CQ CQ This is
E21IZC E21IZC E21IZC
calling CQ and Standing by

เรียบเรียง

โดย

TONY / E21IZC Also KF1I (Ex.KB1VCH) , /DL , /9V1


facebook : http://www.facebook.com/kb1vch ,
facebook Page : QRP Ham Toy Kit
blog : http://e21izc.blogspot.com , ID line : kf1i
email : wichyein@gmail.com
คำนำ

หนังสือเล่มนี้เขียนขึน้ มาเพื่อเป็นแนวทางสาหรับเพื่อนนักวิทยุสมัครเล่น ไม่วา่ จะเป็นขันต้


้ น หรือ
ขัน้ กลาง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ใิ นการออกอากาศ และการใช้สญ ั ญาณต่าง ๆ ให้ถูกต้อง และ
เข้าใจถึงหลักปฏิบตั ใิ นการติดต่อสื่อสารทีเ่ กีย่ วกับวิทยุสมัครเล่นอย่างแท้จริง

ผูเ้ ขียนใช้ประสบการณ์ตลอดชีวติ การเป็ นนักวิทยุสมัครเล่นตัง้ แต่ปี 2536 จนถึงปจั จุบนั ผ่าน


การเล่นวิทยุในต่างแดน และผ่านการเทียบสัญญาณเรียกขานมาหลายประเทศ และได้นาประสบการณ์
นัน้ ๆ มาถ่ายทอดต่อเพื่อน ๆ เนื้อหาต่าง ๆ ในหนังสือฉบับนี้ เกิดขึน้ จากประสบการณ์ , การแปลตารา
ต่างประเทศ และข้อมูลต่าง ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์กบั กิจการวิทยุสมัครเล่น และนามารวมเข้าไว้เป็นรูปเล่ม

ผูเ้ ขียนหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า หนังสือเล่นนี้ คงจะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนักวิทยุสมัครเล่นใหม่ ๆ ใน


การเป็นแนวทางสาหรับการออกอากาศในภาคปฏิบตั ไิ ด้อย่างดียงิ่

E21IZC
Also KF1I , /DL , /9V1
7 ธันวาคม 2558
สำรบัญ

ควรปฏิบตั อิ ย่างไรก่อนการออกอากาศ 2.

หลักการติดต่อสื่อสารของนักวิทยุสมัครเล่น 4.

เมื่อจะออกอากาศในความถี่ HF หรือ ความถีอ่ ่นื ๆ และสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั ิ 5.

แนวทางการเป็น Operator ทีด่ ี 9.

มารยาทในการติดต่อสือ่ สาร 14.

รหัส Q และ คาย่อ ทีม่ กั จะใช้กนั อย่างเข้าใจผิด ๆ 15.

ความหมายของคาว่า QRSs 19.

สัญลักษณ์ออกเสียงสากล (International Phonetic Alphabet) 20.

คาย่อต่าง ๆ ในกิจการวิทยุสมัครเล่น 23.

การติดต่อสื่อสารในระบบ PHONE (SSB) หรือ แบบเสียงพูด (กรณีเป็นผูต้ งั ้ CQ) 27.

การติดต่อสื่อสารในระบบ PHONE (SSB) หรือ แบบเสียงพูด (กรณีเป็นผูต้ อบ CQ) 31.

CW QSO FORMATกรณีเป็นผูต้ งั ้ CQ 35.

CW QSO FORMATกรณีเป็นผูต้ อบ CQ 37.

การใช้ภาษาถิน่ ในการติดต่อสื่อสาร 39.

ทาไมนักวิทยุฯ ไทย ถึงชอบใช้สายอากาศ FOLDED DIPOLE 40.

SWR METER และ ANTENNA TUNER (ATU) 41.


สำรบัญ (ต่อ)

ปญั หาเรื่องการตัดสายนาสัญญาณ 42.

สายอากาศหรือเสาอากาศ 44.

ว่ากันด้วยเรื่องความเข้าใจเกีย่ วกับ Repeater 45.

Two Meters หรือ ทูมเิ ตอร์ 46.

ทีม่ าของคาว่า " ยากิ " 47.

ฝึกรหัสมอร์ส Style Tony 48.

เทคนิคการใช้ Paddle Key สาหรับ การเล่นรหัสมอร์ส 51.

การถามความถีว่ า่ งหรือไม่ใน MODE CW 52.

การย่อตัวเลขด้วยตัวอักษรในรหัสมอร์ส 52.

การเคาะแบบเล่นคาใน Mode CW (Roger / R) 52.

วงจร SOUNDCARD INTERFACE FOR DIGITAL MODE 53.

วงจร OIKey-F88 Morse Keyer 58.

วงจร KF1I-PIX001 : QRP Transceiver CW 7.023 MHz. KIT 67.

มารูจ้ กั Channel Spacing กันดีกว่าครับ 75.

WIDE BAND & NARROW BAND ทาไมต้องมี และ จะใช้ยงั ไง 76.

วิธแี ก้ปญั หากับ QRM 78.


สำรบัญ (ต่อ)

Intermodulation คือ Freq1 + Freq2 = Freq3 79.

Electronic Reference 81.

เกีย่ วกับ QSL CARD 82.

มารูจ้ กั DX กันครับ 84.

คาว่า DXpedition มันต้องมีกฎเกณฑ์ในการใช้อย่างไร จึงจะเรียกว่า DXpedition 86.

มารูจ้ กั IRC Coupon กับ Green Stamp กันเถอะ 88.

ความตกลงต่างตอบแทนว่าด้วยพนักงานวิทยุสมัครเล่นกับประเทศไทย (reciprocal agreement) 92.

CQ Zone คืออะไร และ CQ Zone ประกอบด้วยอะไรบ้าง 92.

ITU ZONE 99.

Cabrillo Format คืออะไร 112.

QSL MANAGER / ผูจ้ ดั การบัตรยืนยันการติดต่อสื่อสาร 113.

IOTA (Islands on the Air) 114.

" Portable หรือ / (Slash) " 119.

ความหมายของคาว่า A1 OPERATOR 120.

WITH THE GROUP 121.

ทาอย่างไรเมือ่ Prefix E2 หมดลง 122.


สำรบัญ (ต่อ)

ทาความเข้าใจกับคาย่อของนักวิทยุฯ ว่าเราควรจะใช้อะไรดี 125.

จุดเริม่ ต้นของคาทีน่ กั วิทยุฯ ชอบใช้แทนตัวเองว่า " VR " 126.

เปิด AEC แล้วถือเป็นการเปิดกิจการวิทยุสมัครเล่นได้ดว้ ยหรือไม่ 129.

BAND PLAN 131.

ความถี่ WARC BAND 140.

การเช็คเน็ท คือ 141.

Amateur Radio Contest / การแข่งขันในกิจการวิทยุสมัครเล่น 142.

DXCC คืออะไร 143

Electronic Logbook 145.

ขัน้ ตอนการนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคม (กรณีทม่ี ี Type Approve แล้ว) 146.

การสมัคร LOTW (Log Book of The World) 157.

วิธกี ารใช้งานโปรแกรม TQSL สาหรับการใช้งาน LOTW (Logbook of The World) 172.

ประวัตผิ เู้ ขียน 185.


บทนา :-

ในการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นนัน้ ผูเ้ ข้าสอบต่างก็ขวนขวายเพื่อหา


ตาราต่าง ๆ มาเพื่ออ่านประกอบการสอบโดยอ่านตามตารา และทดลองทาข้อสอบ แต่นนหมายถึ ั่ งว่า
เขาเหล่านัน้ ได้รบั ความรูเ้ พียงในภาคทฤษฎีเท่านัน้

ในการสอบ หรือ การอบรมและสอบ ไม่ได้มีการอบรมในภาคที่เป็ นภาคปฏิบตั ใิ นการใช้วทิ ยุ


สื่อ สารส าหรับ การ QSO เลยแม้ แ ต่ น้ อ ย หลัง การสอบผ่ า นภาคทฤษฎี แ ล้ ว ผู้ผ่ า นการสอบรับ
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น ในทุก ๆ ขัน้ ต่างก็ตอ้ งขวนขวายด้วยตนเองในภาคปฏิบตั ิ ซึ่งก็
คือ การเริ่มต้นในการออกอากาศ ซึ่งหากได้รบั การแนะนาจาก นักวิทยุฯ รุ่นเก่า ๆ ที่มคี วามรู้อย่าง
ถูกต้องก็ถอื ว่าเป็นโชคดีของเขาไป แต่ถา้ หากไปได้รบั การแนะนาจาก นักวิทยุฯ รุ่นเก่า ๆ ทีไ่ ม่มคี วามรู้
แล้ว ก็จะได้รบั การแนะนาอย่างผิด ๆ หรือหากไม่มผี แู้ นะนา เขาเหล่านัน้ ใช้ประสบการณ์จากการรับฟงั
เองตามความถีต่ ่าง ๆ ซึ่งนันไม่
่ สามารถทีจ่ ะทราบได้ว่า นันคื
่ อสิง่ ที่ถูกต้อง หรือ ไม่ถูกต้อง แล้ว มันจะ
เป็ นเช่นไร เปรียบเสมือนกับการขับรถที่คุณเป็ นคนตีเส้นถนนเอง อย่างนี้มนั คือสิง่ ที่ถูกต้องหรือไม่
สาหรับกิจการวิทยุสมัครเล่น

ในช่วงแรก ๆ ของการเป็ นนักวิทยุสมัครเล่นของผูเ้ ขี ยนก็เช่นเดียวกัน ผูเ้ ขียนเข้ามาสู่กจิ การ


วิทยุสมัครเล่นในขณะนัน้ เนื่องจากสนใจในวิชาวิศวกรรมศาสตร์ แต่ดว้ ยไม่สามารถทีจ่ ะเข้ารับการศึกษา
ในระดับมหาวิทยาลัยได้ จึงเห็นว่ากิจการวิทยุสมัครเล่นมีวตั ถุประสงค์ทอ่ี ยู่ในแนวทางที่ผเู้ ขียนต้องการ
จึงเริม่ ทีเ่ ข้าสู่กจิ การวิทยุสมัครเล่นเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2536 หลังการสอบรับประกาศนียบัตรพนักงาน
วิทยุสมัครเล่นขัน้ ต้น ก็เป็ นเหมือนนักวิทยุฯ ท่านอื่น ๆ ที่ลองผิดลองถูกมาโดยตลอด จนกระทังได้ ่ มา
เจอเพื่อน ๆ ทีม่ คี วามสนใจในกิจการวิทยุสมัครเล่นขันกลาง ้ ผูเ้ ขียนจึงได้หาตาราและศึกษาในเรื่ องของ
รหัสมอร์ส และผ่านการสอบในครัง้ ที่ 2 จากการสอบ 2 ครัง้ ในปี 2540

กับบทความนี้ผู้เขียนมีความต้องการที่จะให้นักวิทยุฯ รุ่นใหม่ ๆ ที่เพิ่งผ่านการสอบเพื่อรับ


ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น มาหมาด ๆ ได้มแี นวทางในการเล่นวิทยุอย่าง " มืออาชีพ " โดย
การนาประสบการณ์ต่าง ๆ ตลอดการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นของผูเ้ ขียน ทีไ่ ด้มโี อกาสเดินทางไปในที่ต่าง
ๆ และพบปะกับบรรดานักวิทยุฯ ต่างชาติ และแลกเปลีย่ นข้อสนทนากัน นามาจัดรวบรวมขึน้ เพื่อให้นัก
วิท ยุ ฯ รุ่ นใหม่ ๆ เป็ นแนวทางส าหรับ การเริ่ม ออกอากาศ และเพื่อ เป็ น การลดข้อ ผิด พ ลาดในการ
ออกอากาศในสิง่ ทีไ่ ม่ควรใช้ ต่าง ๆ อาทิเช่น การใช้ Q Signal บางคา หรือ คาย่อ บางคาที่ผดิ ๆ และ
การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับกิจการวิทยุสมัครเล่นอย่างถูกวิธปี ฏิบตั ิ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 1


ควรปฏิบตั ิ อย่างไรก่อนการออกอากาศ

เมื่อคุณเริม่ ออกอากาศในความถี่ครัง้ แรก สิง่ ที่คุณจะต้องทาอย่างแรกคุณทราบหรือไม่ว่า คุณ


จะต้องทาอย่างไร

หากไปถามนักวิทยุฯ ใหม่ ๆ ทีเ่ พิง่ สอบผ่านรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุฯ มาสด ๆ ร้อน ๆ


หลาย ๆ ท่านก็จะต้องตอบว่า จาสัญญาณเรียกขานของผูใ้ ช้ความถี่อยู่ , หยิบไมค์ , เตรียมสมุดดินสอ
เพื่อจดลง LOGBOOK

แต่จริง ๆ แล้วสิง่ ทีส่ าคัญทีส่ ุดคือ การฟงั ครับ วิทยุสมัครเล่นฯ นัน้ สิง่ ที่สาคัญที่สุด หรือ อาจจะเรียกว่า
เป็นสิง่ ทีส่ าคัญในการติดต่อสื่อสารเลยก็วา่ ได้คอื " การฟงั " ยกตัวอย่างการส่งรหัสมอร์ส หากคุณฝึ กส่ง
ได้อย่างดีเลย โดยสามารถส่งได้นาทีละ 40 - 50 คาโดยประมาณ แต่ความสามารถในการรับคุณสามารถ
รับได้แค่ 5 คา / นาที ถามว่าคุณจะประสบความสาเร็จในการติดต่อสื่อสารหรือไม่ ตอบได้เลยครับว่า ไม่
มีทางในเมื่อคุณส่งซะเร็วขนาดนัน้

ผูร้ บั คุณเขาก็ตอ้ งตอบกลับมาในระดับทีใ่ กล้เคียงกัน เพราะเขาคิดว่าคุณสามารถรับได้เท่ากับที่


คุณส่ง หากเมื่อเขาส่งมาเร็ว แต่คุณมีความสามารถแค่ 5 คา / นาที แล้วคุณจะฟงั เขารูเ้ รื่องได้อย่างไรว่า
เขาส่งอะไรมา

เช่นเดียวกันครับ หากพูดกันใน PHONE MODE แล้ว ก็เช่นเดียวกัน พวกเรามีเวลามากพอ


ครับในการติดต่อสื่อสารในกิจการวิทยุสมัครเล่น เมื่อเราจะเล่นวิทยุฯ เราต้องดูแล้วว่าเรามีเวลาว่างพอ
หรือไม่ในการหยิบไมค์ขน้ึ มาคุย หากเราไม่มเี วลาว่างมากพอ เราก็ไม่คุยจริงหรือไม่ครับ

ท่านเคยสังเกตกันหรือไม่วา่ หากเมื่อไรท่านไม่ได้จบั วิทยุฯ ท่านสามารถคุยกันกับเพื่อนที่เป็ น


นักวิทยุฯ หรือ ไม่เป็นนักวิทยุฯ ได้อย่างเป็นปกติ แต่เมื่อไรท่านเอาวิทยุฯ มาเป็นตัวคันระหว่
่ างเพื่อนกับ
ท่านแล้ว ภาษาทีท่ ่าน ๆ ใช้กนั มันจะเปลีย่ นไปเลย ลองสังเกตกันดูนะครับ ว่าจริงหรือไม่

แต่ภาษาทีท่ ่านใช้กนั นัน้ ท่านทราบหรือไม่วา่ ท่านได้มคี วามเข้าใจในภาษานัน้ ๆ แล้วเพียงใด


สิ่ง ที่ท่ านใช้นัน้ มัน ถู กต้องตามหลัก สากลหรือ ไม่ ผมคงจะไม่ พูด ย้อ นกลับ ไปในอดีต ว่า กิจ การวิท ยุ
สมัครเล่นไทยเกิดขึ้นมาอย่างไร แต่อยากจะเล่าสู่กนั ฟงั สาหรับนักวิทยุฯ รุ่นใหม่ ๆ ว่า กิจการวิทยุ
สมัครเล่นไทยนัน้ เกิดจากวิทยุอาสาสมัคร โดยนาเอาแบบอย่างมาจากหน่วยงานราชการ จากนัน้ เมื่อมี
กิจ การวิท ยุ ส มัค รเล่ น ขึ้น ในประเทศไทย ก็ไ ด้ มี ก ารน าเอาแบบอย่ า งต่ า ง ๆ มาแทบจะทัง้ สิ้น

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 2


อาทิเช่น การขานเวลาหลัง จากจบการติดต่ อสื่อ สาร ของ สถานี วทิ ยุค มนาคมควบคุม ข่า ย
กิจการวิทยุสมัครเล่น ซึ่งผมอยากจะบอกว่าไม่มที ใ่ี ดในโลกนี้เขาทากันครับ สถานีว ิทยุฯ ส่วนใหญ่แทบ
ทุกสถานีเขาจะมีนาฬิกาที่บอกเวลา UTC และเวลาท้องถิ่นประจาสถานีกนั เพื่อทราบเวลากันอยู่
แล้ว เพื่อใช้ในการลงบันทึกการติดต่อสื่อสารใน LOG BOOK หรือ การใช้ โค๊ด ต่าง ๆ เลียนแบบมา
จาก รหัส ว. เพื่อให้มคี วามหมายใกล้เคียงกัน แต่จริง ๆ แล้วมันคนละความหมาย หรือ แม้นแต่กระทัง่
สร้างคาย่อเองตามใจตน เพื่อให้ใกล้เคียงกับคาย่อทีม่ ใี นกิจการวิทยุสมัครเล่น

อยากบอกว่า จริง ๆ แล้วนัน้ การติดต่อสื่อสารในวิทยุสมัครเล่นนัน้ มีขอ้ บัญญัตอิ ย่างดีแล้วครับ


ในกิจการวิทยุสมัครเล่นนัน้ เขาบอกอย่างชัดเจนว่า ให้ใช้ภาษาธรรมดาให้มากที่สุด ใช้ประมวลรหัส Q
ให้น้อยทีส่ ุด เพราะอะไร เพราะว่าประมวล

รหัส Q นัน้ เขาใช้สาหรับการส่งรหัสมอร์ส เพราะเนื่องจาก การรับด้วยหูส่งด้วยมือ ของคนนัน้


สามารถทาได้เต็มทีอ่ ย่างเก่งสาหรับคนปกติธรรมดา ก็ไม่น่าจะเกิน 60 คาต่อนาที และด้วยสภาพอากาศ
อาจจะเป็ นใจหรือ ไม่เ ป็ นใจในการติดต่ อสื่อ สาร หากที่จะใช้ค าพูด แบบเต็ม รูปแบบ คงจะไม่ ทนั กิน
แน่นอน ดังนัน้ เขาจึงต้องมี รหัส Q เพื่อมาใช้ย่อในการติดต่อสื่อสาร แต่สาหรับ การพูดนัน้ โดยปกติ
ของคนธรรมดา เวลาพูดจะมีความเร็วประมาณ 200 คาต่อนาที ดังนัน้ ไม่ใช่เป็ นอุปสรรคอันใดต่อการ
ติดต่อสื่อสารแต่อย่างใด

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 3


หลักการติดต่อสื่อสารของนักวิทยุสมัครเล่น

มีเพื่อน ๆ สอบถามเข้ามามากว่า สอบได้เป็นขันกลางแล้


้ ว ยังออกอากาศไม่เป็น ไม่มคี นแนะนา
พอจะขอคาแนะนาก็ให้ไปถามคนโน้นคนนัน้ แบบว่าพอเป็นเทพแล้ว อยากเก็บความรูไ้ ว้อยู่คนเดียว

ผมจึงอดไม่ได้ทจ่ี ะต้องนาความรูเ้ ก่า ๆ ที่เก็บไว้นานมาแล้ว ออกมาเล่าให้เพื่อน ๆ ใหม่ ๆ ได้


ทราบกันเพื่อจะได้มแี นวทางในการเล่นวิทยุ และออกอากาศ อีกทัง้ ยังจะได้ค้นพบตัวเองว่าตนเองชอบ
อะไร Mode อะไร เพื่อทีจ่ ะได้เล่นวิทยุ ทีเ่ ป็น Hobby ทีเ่ รารักได้อย่างไม่เบื่อ

เมื่อพูดถึงการติดต่อสื่อสารของนักวิทยุสมัครเล่น นัน้ หลาย ๆ ท่านคงงงว่า ผมมาพูดถึงเรื่องนี้


ทาไม ก็รอู้ ยู่แล้วว่าวิทยุมนั มีไว้สาหรับคุย คุย คุย ก็หยิบไมค์ ขึน้ มา แล้วก็กดคียค์ ุย ผมจะมาทาอะไรให้
มันยุ่งยากทาไมกัน ตามผมมาแล้วท่านจะรูว้ า่ จริง ๆ แล้วมันไม่ได้เ ป็นอย่างทีท่ ่าน ๆ คิดกันเลยครับ

การติด ต่ อ สื่อ สารของนั ก วิท ยุ ส มัค รเล่ น นัน้ เราได้ แ บ่ ง ประเภทออกเป็ น ประเภทต่ า ง ๆ
ดังต่อไปนี้

1. การพูดคุยแบบธรรมดาอย่างมีสาระ (เน้นคาว่าสาระ) หรือ ที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า RAG


CHEW
2. แบบ PILEUP เป็นรูปแบบการติดต่อสื่อสารที่ตอ้ งการสาระสาคัญของการติดต่อสื่อสารเพียง
2 อย่าง คือ สัญญาณเรียกขาน และ การรายงานค่าสัญญาณ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการแลกเปลี่ยน
RST หรือ ค่าสัญญาณให้ได้เร็วทีส่ ุด เพื่อให้สถานีทม่ี คี วามประสงค์จะได้ตดิ ต่อกับสถานีนนั ้ ๆ ได้อย่าง
รวดเร็ว เพราะการติดต่อสื่อสารในย่านความถี่ HF นัน้ สภาพอากาศเป็ นสิง่ สาคัญในการติดต่อสื่อสาร
อย่างมาก สถานีท่ีมกั จะใช้การติดต่ อแบบ PILEUP ส่ วนใหญ่ จ ะเป็ นสถานีในกรณีพิเศษ (Special
Callsign) , สถานี DX (DX-PEDITION) , สถานี Contest (CONTEST STATION) หรือ สถานีท่มี ผี ู้
ต้องการติดต่อมาก ๆ

ดังนัน้ ลองมองกลับไปดูตวั เราหรือยังว่า วันนี้เราได้ปฏิบตั ติ ามการติดต่อสื่อสารของนักวิทยุ


สมัครเล่นกันอย่างถูกต้องกันหรือยัง

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 4


เมื่อจะออกอากาศในความถี่ HF หรือ ความถี่อื่น ๆ ก็ตามควรปฏิบตั ิ ดงั ต่อไปนี้

หลังจากได้รบั ใบประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขันต้ ้ น หรือ ขันกลาง


้ กันไปแล้ว หลาย
ๆ ท่านต่างก็ดาเนินการทาบัตรพนักงานฯ หาเครื่อง , สายอากาศ ซึ่งก็เริม่ จะคันไม้คนั มือ กันบ้างแล้ว
สิง่ ทีแ่ นะนาในเบือ้ งต้น ในกรณีท่ี " เวทีแห่งนี้ ไม่มีพเี ่ ลี้ยง " คือ

1. อย่าเพิม่ ลงมือเล่น ให้ฟงั ให้ได้สกั 1 สัปดาห์ หรือ 2 สัปดาห์ ก่อน ทาไมผมถึงพูดอย่างนัน้


เพราะว่า นักวิทยุฯ ขัน้ กลางมือใหม่ อาจจะยังไม่ค่อยชินกับ เสียงในแบบ SSB (Single Side Band) อีก
ทัง้ ยังไม่ชนิ กับ Alphabet ทีแ่ ปลก ๆ กับสาเนียงของนักวิทยุฯ ทีเ่ ป็นต่างชาติ ซึ่งมีความแตกต่างในการ
ออกสาเนียง แตกต่างกันออกไป ดังนัน้ การฟงั สัก 1 สัปดาห์ จะทาให้เราจับได้วา่ สิง่ ทีเ่ ราได้ยนิ คือ ใคร
กาลังสนทนากับใคร เขาพูดอะไรกัน เขาพูดกันอย่างไร

2. นักวิทยุฯ ขัน้ กลางบางท่าน อาจจะเคยผ่านประสบการณ์ใน HF มาบ้างแล้วกับการเล่นใน CB


(Citizen Band) แต่นนเป็ ั ่ นเพียงประสบการณ์ทจ่ี ะช่วยให้ท่านมีการพัฒนาทีเ่ ร็วขึน้ แต่ไม่ได้หมายความ
ว่า บางสิง่ ทีใ่ ช้ใน CB จะใช่ในการใช้ใน Amateur อย่างเช่น บางท่านอาจจะติดคาว่า My Friend มาจาก
CB แต่ใน Amateur แล้ว ผมมองว่ามันเป็นคาทีไ่ ม่น่าจะใช้ใน Amateur Band

3. ในเบือ้ งต้น พยายามหา Format ของการเล่น ทัง้ Phone และ CW มาศึกษาเบื้องต้นก่อนว่า


เขาใช้กนั อย่างไรบ้าง เพื่อทีเ่ วลาได้ออกอากาศจริง ๆ จะทาให้เราไม่ตดิ ขัด

4. สิง่ สาคัญคือ Band Plan ต้องทราบว่า ช่วงความถี่ใด เป็ นการใช้งานใน Mode ใด และช่วง
ความถีใ่ ดคือความถีท่ เ่ี ราสามารถใช้ได้ในการได้รบั อนุญาตของเรา

5. หากไม่มนใจ ั ่ ควรหาพี่เลี้ยง หรือ ซ้อมก่อนกับเพื่อน ๆ ที่เป็ นคนไทยด้วยกัน ซึ่งความถี่


สาหรับคนไทยที่รวมตัวกันจะอยู่ท่คี วามถี่ 7.128 MHz. Mode LSB ซึ่งเราสามารถทาสายอากาศ Low
Band แบบง่าย ๆ ด้วยการใช้สายไฟมาทาเป็น Half Wave Dipole ซึ่งจะขึงในแนวนอน หรือ Inverted V
ก็แต่ละพืน้ ทีข่ องแต่ละท่าน โดยใช้การคานวณแบบง่าย ๆ คือ 300/7.100 = 42.25 Meters หรือ 1 ความ
ยาวคลื่นของความถี่ 7 MHz. Half wave = 21.13 Meters. ดังนัน้ ให้เราตัดลวดที่ความยาวข้างละ
10.56 เมตร และ feed ทัง้ 2 ข้างของแต่ละ Quarter Wave ก็จะได้สายอากาศ 7 MHz. สาหรับคุยกับ
เพื่อน ๆ ในประเทศได้ อีกทัง้ ยังสามารถที่จะใช้ ATU (Antenna Tuner) ในการ Tune เพื่อใช้สาหรับ
ความถี่ 21 MHz. ได้อกี ด้วย

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 5


6. เมื่อฝึกซ้อมจนมีชวโมงบิ
ั่ นแล้ว ค่อยบินเดีย่ ว

7. ใน HF ไม่มชี ่องบ้าน ไม่มชี ่อง Standby ไม่มชี ่องประจา ทุกคนทัวทั ่ ง้ โลกเป็ นเจ้าของหมด
ดังนัน้ ไม่มสี ทิ ธิที์ ่จะไปทาตัวเป็ นเจ้าของช่อง นักวิทยุฯ ทั ่วทัง้ โลก สามารถที่จะใช้ได้ในทุกความถี่ ที่
ได้รบั อนุ ญาต แต่ทงั ้ นี้ต้องตาม Band Plan ของในแต่ละประเทศที่ได้รบั อนุ ญาต ใครอยากจะทาการ
ออกอากาศ ก็หาความถีว่ า่ ง และก็ทาการ CQ คือ การเรียกแบบไม่เฉพาะเจาะจง

ปล. อยากให้ศกึ ษาสักนิดนอกจาก Band Plan แล้วว่า ถ้าเป็นความถีต่ น้ Band ส่วนใหญ่จะเป็ น


พวกพรรษาสูง ๆ ส่วนเรายังพรรษาไม่แก่ จะต้องอยู่ตรงไหน ส่วนใหญ่แล้วก็มกั จะอยู่ทา้ ย ๆ Band ของ
ในแต่ละ Mode คาว่า " ท้าย Band " ไม่ใช่อยู่ท้าย Band เลยนะครับ คือ อยู่ท้าย Band ของ Mode
ยกตัว อย่ า งเช่ น ความถี่ 14 MHz. ได้ ร ับ อนุ ญ าต คื อ 14.000 - 14.350 MHz.
ความถีข่ อง CW จะอยู่ประมาณ 14.000-14.100 MHz. โดย 14.060 ส่วนใหญ่จะเป็ น CW Beacon และ
14.076 MHz. จะเป็น Digital (ต้องลองฟงั แต่ Digital จะอยู่แถว ๆ นี้) ความถีท่ ่มี อื ใหม่ควรจะเล่นน่ าจะ
อยู่ประมาณ 14.040 ขึน้ ไป ซึ่งจะมีมอื ใหม่ทใ่ี ช้ความเร็วไม่ค่อยมากมาเคาะ CQ กันอยู่ ถ้าเราไม่ตงั ้ CQ
เราก็เข้าไปเรียกเขาได้

8. เมื่อเริม่ บินเดี่ยว จงจาไว้ว่า ทุกสิง่ ที่เราออกอากาศ ไม่ได้หมายถึงตัวเราอย่างเดียว แต่นนั ่


หมายถึง HS / E2 ทัง้ ประเทศ ดังนัน้ สิง่ ทีเ่ คยติดตัวมาตัง้ แต่สมัยทีใ่ ช้ใน VHF จงลืมมันซะให้หมด แล้ว
เริ่มต้น ใหม่ การขานสัญ ญาณเรียกขาน จะต้องขานให้ค รบถ้วน ไม่ใช่ตดั ตอนเหลือแต่เ พียง Suffix
จะต้องขานทัง้ Prefix + เขต + Suffix ให้ครบถ้วนทุกครัง้ (อันนี้คอื มารยาทในการออกอากาศ)

9. ก่อนการ CQ โดยมารยาท จะต้องสอบถามการใช้งานในความถีก่ ่อนเสมอทุกครัง้ ว่า มีใครใช้


ความถี่อยู่หรือไม่ / Is the frequency in use this is ..................... ( Callsign ). สัก 3 ครัง้ จนแน่ ใจว่า
ไม่มผี ใู้ ดใช้จงึ ค่อยเริม่ การ CQ หรือ เคาะ QRL? DE .......................... (Callsign) 3 ครัง้

10. การ CQ ไม่ต้องมี DX ใช้การ CQ แบบธรรมดา เช่น CQ CQ CQ THIS IS ......................


(Callsign) (Callsign) (Callsign) calling and Standing by. หรือ ใน CW คือ CQ CQ CQ DE
(Callsign) (Callsign) (Callsign) AR K (ดูการ QSO ใน MODE CW หน้า 35 , 37)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 6


11. กรณีทเ่ี ราเป็นผูเ้ รียก ในกรณีทม่ี ผี อู้ ่นื CQ อยู่ ผูเ้ รียกจะต้องรอให้ผตู้ งั ้ สนทนาจนจบบทการ
สนทนากับคู่สนทนาของเขาก่อนเสมอทุกครัง้ จะต้องไม่เสียมารยาทในการสนทนาของ ผู้ตงั ้ กับ คู่
สนทนาของเขา หลังจากการจบการสนทนาของ คู่สนทนาของเขา และรอให้ผตู้ งั ้ เรียกผูท้ ่ตี ้องการจะ
ติดต่อเขาท่านต่อไปโดย ผูต้ งั ้ จะเรียก QRZ ตามด้วย Callsign ผูต้ งั ้ ผูเ้ รียก จึงค่อยเรียกเข้าไป โดย
เรียก Callsign ของ ผูต้ งั ้ และ Callsign ของผูเ้ รียก เช่น ......................... This is E21IZC E21IZC
Calling. หรือ เรียกแต่สญ ั ญาณเรียกขานของผูเ้ รียกอย่างเดียว เช่น E21IZC E21IZC หรือ ใน CW ก็คอื
...................... DE E21IZC E21IZC KN หรือ DE E21IZC E21IZC K

12. ในการติดต่อสื่อสาร สิง่ ที่ต้องแลกเปลี่ยนกันระหว่างคู่สถานี ก็ค ือ สัญญาณเรียกขาน ,


Report , ชือ่ , QTH (ชือ่ เมืองทีอ่ ยู่) , เครื่องทีใ่ ช้ , สายอากาศ , กาลังส่ง , สภาพอากาศ ฯลฯ ที่ดูแล้วว่า
มีความสาคัญ

13. ในการติดต่อสื่อสาร ผูต้ งั ้ ควรดูจงั หวะในการติดต่อด้วยว่า ในขณะนัน้ มีผู้รอเรียกเราใน


จานวนมากหรือไม่ หากมีจานวนมากที่รอจะติดต่อ เราควรที่จะสนทนาแบบ Ragchew สัก 1 - 2 คู่
สนทนา เพราะผูท้ ่รี บั ฟ งั เราอยู่เขาจะจดสิง่ ที่เป็ นสาคัญสาหรับเราไว้แล้ว หลังจากนัน้ ควรเปลี่ยนการ
สนทนามาเป็น Pileup คือ การ Confirm สัญญาณเรียกขาน และ Report สัญญาณ และก็ร่ ารากัน หรือ
อาจจะเป็นมาเป็น Ragchew อีกครัง้ เมื่อดูวา่ มีผตู้ อ้ งการติดต่อเราซาลง

14. ในกรณีทเ่ี ราเป็นผูเ้ รียก ก็เช่นเดียวกัน เราจะต้องดู ณ สถานการณ์นนั ้ ๆ ด้วยว่า ผูต้ งั ้ เขา
ต้องการสนทนาแบบ Ragchew หรือ เขามีคู่สนทนาอื่น ๆ รอการติดต่ออยู่ หากเขาใช้การติดต่อแบบ
Pile Up เราก็จะต้อง Confirm เพียงสัญญาณเรียกขาน และ รายงานค่าสัญญาณเท่านัน้ และก็ร่ารากัน

15. ในเบือ้ งต้น นักวิทยุฯ ขัน้ กลางมือใหม่ ควรทีจ่ ะเป็นผูเ้ รียก ดีกว่า เป็นผูต้ งั ้ และเมื่อเก็บเกีย่ ว
ประสบการณ์ ได้ในระดับหนึ่งแล้วจึงค่อยก้าวขึน้ มาเป็นผูต้ งั ้

16. เมื่อเริม่ เป็ นผูต้ งั ้ อย่าเพิง่ ไปเล่นในสถานีท่เี ป็ นสถานีใหญ่ (Big Gun) เพราะในสถานีใหญ่
จะมีวง Pile up เยอะมาก ซึ่งชัวโมงบิ ่ นของมือใหม่ยงั ไม่เพียงพอต่อการที่จะเผชิญกับ Big Pile up
ดังนัน้ ควรฝึ กหัดที่สถานีของตนเองให้เกิดความชานาญ และถ้าจาเป็ นต้องออกอากาศจากสถานี Big
gun ควรมีพเ่ี ลีย้ งช่วยในการออกอากาศ

17. สิง่ ทีไ่ ม่ควรลืมในการเล่น HF คือ Log Book ควรใช้เป็น Electronic Log จะดีทส่ี ุด เพราะจะ
สามารถที่จะเก็บไว้เป็ น Soft file และ Convert เป็ น ADIF ไฟล์เพื่อ Upload ลงบน Database บน
Internet ได้อกี ครับ อีกทัง้ EL ยังช่วยในการจัดทา Label สาหรับพิมพ์ลงบน QSL Card อีกด้วย

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 7


18. เวลาในการติดต่อสื่อสารจะต้องเป็นเวลาทีเ่ ป็นเวลามาตรฐานสากล คือ เวลา UTC

19. จัดทา QSL Card ซึ่งไม่จาเป็ นต้องพิมพ์จากโรงพิมพ์ท่สี วยหรู เราสามารถที่จะทาจาก


คอมพิวเตอร์เรา และพิมพ์ออกมาแบบ 1 by 1 ก็ได้ หรืออาจจะสมัคร Lotw หรือ Log Book of the
World ของ ARRL ก็ได้สาหรับท่านที่สนใจในการสะสม QSL Card เพื่อ Confirm รางวัลต่าง ๆ ที่ออก
โดย ARRL

20. สาหรับมือใหม่ บางทียงั ไม่ค่อยทราบ หรือ ฟงั ไม่ชดั เจนใน Alphabet ทีส่ ถานีเรียกใช้ ดังนัน้
DX Cluster ก็เป็นอีกทางหนึ่งทีจ่ ะสามารถช่วยได้ในการหาความถีท่ ม่ี สี ถานีตงั ้ เรียกอยู่ ซึ่ง Cluster ทีใ่ ช้
ๆ กันส่วนใหญ่กจ็ ะมี http://www.f5len.org ซึ่งจะมีทงั ้ Cluster และ สภาพอากาศในแต่วนั ในแต่ละละ
Band อีกด้วย

ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดข้างต้นนัน้ น่าจะเป็นการช่วยเหลือ นักวิทยุฯ ขันกลางมื้ อใหม่ ได้บา้ งบางส่วน


ในการทีจ่ ะเริม่ ท่องโลกกว้าง ในโลกทีไ่ ม่มสี งิ่ หยุดนิ่ง เรื่องอื่น ๆ จะค่อย ๆ นามาเพิม่ เติมให้ในส่วนทีข่ าด
หรือ ท่านใดต้องการทราบเรื่องอะไรทีผ่ มไม่ได้เขีย นก็เขียนเข้ามาถามได้นะครับ ถ้าตอบได้จะยินดีตอบ
ให้ทราบครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 8


แนวทางการเป็ น Operator ที่ดี

#1 ฟั ง ฟั ง และฟั ง อีกครัง้ ก่อนที่จะทาการเรียกเข้าไป

สิง่ นี้เป็ นสิ่งที่ชดั เจนและเป็ นสิง่ ที่สาคัญที่สุดที่ควรจะทา การฟงั จะสาคัญกว่าการที่จะติดต่อ


สถานีทางไกลเพียงเพื่อบันทึกลงใน LOGBOOK คุณจะต้องฟงั เพื่อให้ทราบว่าสถานีทางไกลนัน้ ใช้การ
ติดต่อแบบ Split คือ การส่งทีค่ วามถีห่ นึ่ง และรับทีค่ วามถี่หนึ่งหรือไม่ ถ้าใช่ ความถี่ไหนที่เขาจะได้ยนิ
และคุณก็จะต้องฟงั Calling Station (สถานีท่เี รียกสถานี DX) ว่าสถานี DX เขาจะทาอะไร ยกตัวอย่าง
เช่น เขาอาจะค่อย ๆ ขยับความถีร่ บั ขึน้ บน หรือ ลงล่าง ในแถบความถี่ท่มี กี ารติดต่ อแบบ pileup (การ
ติดต่อสื่อสารวิทยุฯ ทีม่ คี นทัวทั ่ ง้ หลายมุมโลกต่างเรียกเข้ามาอย่างมาก และพร้อม ๆ กัน )

ดังนัน้ คุณจะต้องหาความถี่ท่ดี ที ่สี ุดในการที่จะเรียกสถานี DX เข้าไป และมันอาจจะถึงเวลาที่


จะต้องถามตัวเองว่า " เราต้องการทีจ่ ะติดต่อให้ได้ในตอนนี้เลยใช่หรือไม่ หรือ เราสามารถทีจ่ ะรอเพื่อให้
การติดต่อมันลดลงไปสักหน่อยก่อน "

#2 จะเรียกเข้าไปก็ต่อเมื่อรับสัญญาณจากสถานี ทางไกลได้เท่านัน้

นอกจากนี้คุณยังจะต้องเป็ นผูฟ้ งั ที่ดีท่สี ุด เมื่อคุณได้ยินสัญญาณจากสถานีทางไกล จงฟงั ให้


แน่ ใจว่าเขาเรียกคุณแน่ เพื่อหลีกเลี่ยงการก่อให้เกิดการรบกวน เป็ นสิง่ ที่น่าผิดหวังมากสาหรับสถานี
ทางไกล ในการทีจ่ ะตอบกลับการเรียกของสถานีทไ่ี ม่ได้ยนิ เขา ซึ่งจะทาให้เกิด QRM แบบไม่หยุดหย่อน

#3 อย่าเชื่อข้อมูลใน DX Cluster จนกว่าจะมั ่นใจว่ารับสัญญาณเรียกขานของสถานี ทางไกลได้


อย่างถูกต้อง

บางครัง้ DX Cluster มักจะแสดงสัญญาณเรียกขานที่ไม่ถูกต้อง ก่อนที่จะบันทึกลง Log Book


คุณควรทีจ่ ะได้ยนิ เสียงของสถานีทางไกลด้วยหูคุณเองในขณะทีเ่ ขากาลังออกอากาศ อย่าเชื่อมันใน
่ DX
Cluster

DX Operator ควรทีจ่ ะส่งสัญญาณเรียกขานของเขาในช่วงเวลาปกติ แต่น่าเสียดายที่ Operator


ทุกคนไม่ทาเช่นนี้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 9


#4 จะต้ องไม่เป็ นการสร้างการรบกวนสถานี ทางไกล เช่นการปรับแต่ งเครื่องขยายกาลังส่งใน
ช่วงความถี่ที่กาลังมีการติ ดต่อใช้งานอยู่

ฉันจะไม่เข้าไปรบกวนสถานีวทิ ยุทางไกล (สถานี DX) หรือสถานีใด ๆ ก็ตามทีก่ าลังติดต่อกัน


อยู่ รวมทัง้ จะไม่ปรับหรือจูนคลื่นไปยังความถีท่ ม่ี กี ารติดต่อสื่อสารทางไกล หรือ ช่องความถีท่ ม่ี คี นกาลัง
เฝ้าฟงั (QSX) กันอยู่

ถือว่าเป็นเรื่องทีน่ ่าหดหู่ใจทีเ่ รือ่ งแบบนี้เกิดขึน้ กับพนักงานวิทยุสมัครเล่น กับหลักปฏิบตั ทิ ไ่ี ม่


ถูกต้อง ดังทีก่ ล่าวไปแล้วข้างต้น

บ่อยครัง้ เรามักจะรูส้ กึ ไม่สบายใจกับวิธกี ารทีม่ คี นทีท่ าตัวคล้าย ๆ กับ " ผูค้ มุ กฎ " ซึ่งมักจะขาด
การไตร่ตรองให้ดี ก่อนทีจ่ ะออกมาแจ้งบ่อยครัง้ ว่า " สถานีทางไกลกาลังติดต่อกันอยู่ " ซึ่งบ่อยครัง้ ที่
คาพูดแบบนี้มกั จะทาให้เรารูส้ กึ ว่าเสียหน้า

กฎหรือหลักในการปฏิบตั แิ บบง่ายๆ ก็คอื (เรา) ต้องไม่ออกอากาศในความถีท่ เ่ี ขากาลังมีการ


ติดต่อสัญญาณทางไกลกันอยู่ ไม่วา่ จะด้วยวัตถุประสงค์ใดก็ตาม ในทุกกรณี
ฉันจะคอยรับฟงั คาสัง่ (ตามคาร้องขอ) ของผูท้ ก่ี าลังติดต่อสื่อสารกัน แบบส่งความถีห่ นึ่ง และรับที่
ความถีห่ นึ่ง เพือ่ ทีจ่ ะได้ใช้ในย่านความถีท่ ถ่ี กู ต้อง (ทัง้ รับ และ ส่ง)

#5 รอจนจบการติ ดต่อก่อนถึงจะสามารถเรียกเข้าไปได้

ถ้าคุณส่งก่อนทีก่ ารสนทนาจะจบลง มันจะเหมือนกับการเข้าไปขัดจังหวะการแลกเปลีย่ นข้อมูล


ระหว่างสถานีทางไกลกับสถานีทเ่ี ขากาลังติดต่ออยู่ ซึ่งจะทาให้การติดต่อสื่อสารนัน้ มีระยะเวลาทีเ่ พิม่ ขึน้
และทาให้เกิดการติดต่อสื่อสารทีช่ า้ ลง

มันอาจจะดูเหมือนว่าเป็นความฉลาดในการทีเ่ รียกแทรกเข้าไปได้ก่อนที่การติดต่อสื่อสารจะจบ
ลง แต่ สถานีทางไกลทุกสถานีต่างก็ไม่ชอบในการกระทาแบบนี้

หากการกระทานัน้ เป็นการขัดจังหวะการติดต่อสื่อสารของผูอ้ อกอากาศแล้ว อะไรจะเป็ นสิง่ ที่จะ


ช่วยผูร้ อติดต่อท่านอื่น ๆ ทีจ่ ะทราบว่า เขาควรจะกดคียส์ ่งเมื่อไรดี

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 10


#6 เรียกเข้าไปด้วยสัญญาณเรียกขานเต็ม ๆ ของเรา อย่าเรียกแบบย่อ

สิง่ นี้เป็ นสิง่ ที่จาเป็ นมากสาหรับการติดต่อสื่อสารทัง้ ใน MODE CW และ SSB, เพราะว่าการ


เรียกแบบย่อนัน้ ฝา่ ยผูร้ บั ก็จะรับได้อย่างไม่ครบถ้วน และส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการติดต่อแบบการที่
อยู่ในสถานะการณ์ทม่ี ผี เู้ รียกเข้ามาทีละมาก ๆ (Pileup)

ถ้า Operator ของสถานีทางไกลรับสัญญาณเรียกขานจากเราแบบย่อ ก็เหมือนกับการส่ ง


จดหมายหลาย ๆ ฉบับ ซึ่งโดยทัวไปเขามั
่ กทีจ่ ะไม่ปฏิบตั กิ นั

#7 เรียกเข้าไป แล้วรอฟั งเขาตอบกลับมา อย่าเรียกอย่างต่อเนื่ องโดยไม่หยุดฟั ง

การเรียกอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุดฟงั นัน้ ถือว่าเป็ นการเห็นแก่ตวั และไม่มมี ารยาทอย่างมาก


การใช้คอมพิวเตอร์ในการส่ง หรือ ใช้ ช่องความจาในเครื่องส่งรหัสมอร์ส มันเป็นเรื่องงานมากทีจ่ ะทาให้
การส่งเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง แต่น่าเสียดายมากที่จะทาให้คุณพลาดการฟงั ที่ดี นอกจากนัน้ ยังเป็ นการ
QRM ให้กบั สถานีทางไกล และสถานีอ่นื ๆ อีกด้วย

#8 หยุดเมื่อสถานี ทางไกลตอบรับสถานี อื่นก่อน

บางทีสงิ่ นี้กเ็ ป็นสิง่ ที่เห็นได้ชดั ว่า เป็ นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึน้ ถ้ามันเป็ นสิง่ ที่ไม่ชดั เจนว่าสถานี
ทางไกลเขาไม่ได้เรียกเรา ดังนัน้ ก็จงอย่าเพิง่ ส่งสัญญาณวิทยุออกไป

#9 หยุดเมื่อสถานี ทางไกลเรียกกลับมาที่ไม่ใช่เรา

ในการติดต่อสื่อสารวิทยุสมัครเล่นนัน้ บางครัง้ เมื่อมีสญ ั ญาณจากสถานีทางไกล มักจะเกิดการ


เรียกเข้ามาอย่างมากมายจากทัวสาระทิ ่ ศ หรือทีเ่ ราเรียกว่า Pileup ดังนัน้ ผูอ้ อกอากาศควรหยุดฟงั และ
ตัง้ ใจฟ งั ให้แ น่ ช ดั ว่า ที่ส ถานี ท างไกล เรีย กเข้า มานัน้ คือ สัญ ญาณเรีย กขานของเราใช่ห รือ ไม่ ผู้
ออกอากาศไม่ควรที่จะเรียกซ้อนเข้าไปในกรณีท่ี สถานีทางไกลกาลังเรียกสถานีอ่นื อยู่ นับว่าเป็ นการ
เสียมารยาทอย่างมากในการติดต่อวิทยุสมัครเล่น

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 11


#10 ไม่เรียกเข้าไปเมื่อสถานี ทางไกลเรียกขานแบบเฉพาะเจาะจงพืน้ ที่ และไม่ใช่พนื้ ที่ของเรา

ต้องพร้อมทีจ่ ะรับฟงั ในกรณีท่สี ถานีทางไกล เรียกแบบเจาะจงพื้นที่ (เช่น อเมริกาเหนือ หรือ


เอเชีย) เราจะต้องยังคงไม่เรียกเขาเข้าไป จนกว่าจะเขาจะเรียกเจาะจงทีพ่ น้ื ทีข่ องเรา

ซึ่ง Operator ของสถานีทางไกลเขาเป็ นผูค้ ุมเกมอยู่ นี่เป็ นจุดสาคัญ ในกรณีท่เี ขาอาจจะเรียก


ทวีปอเมริกาเหนืออยู่แต่ไม่ประสบความสาเร็จในการติดต่อสื่อสาร เราก็ยงั ไม่ควรที่จะเรียกเข้าไป เรา
ควรทีจ่ ะเรียกเขาก็ต่อเมื่อเขาได้เปลี่ยนจากการเรียกแบบเจาะจงที่ทวีปอเมริกาเหนือ มาเป็ นพื้นที่ของ
เรา ซึ่งนันคื
่ อมารยาททีด่ ใี นการติดต่อสื่อสาร

#11 เมื่อสถานี ทางไกลเรียกตอบกลับมา อย่าเรียกขานสัญญาณเรียกขานของท่านซา้ อาจจะทา


ให้เข้าใจผิดได้

ถ้าคุณเรียกขานสัญญาณเรียกขานของคุณซ้า สถานีทางไกลอาจจะคิดว่าสัญญาณเรียกขานของ
คุณทีเ่ ขารับได้ในครัง้ แรกนัน้ เกิดการผิดพลาด คุณถึงทวนสัญญาณเรียกขานของคุณซ้ าแล้ว ซ้ าอีก ซึ่ง
เขาจาต้องฟงั อีกครัง้ เพื่อความถูกต้อง ทาให้เกิดความล่าช้าในการติดต่อสื่อสารเข้าไปอีก

Operator ของสถานีทางไกลเขาจะบันทึกลง Log book และฟงั ต่อไปว่าสิง่ ที่คุณจะพูดต่อไปนัน้


คืออะไรต่อไป

#12 แสดงความขอบคุณเมื่อติ ดต่อได้สาเร็จ

มันคือ ความภู มิใจแน่ นอนเมื่อ คุณได้ติดต่อ กับสถานีทางไกลเป็ นผลสาเร็จ แต่ก่อนที่คุณจะ


ประสบความสาเร็จในการติดต่อ ลองมองย้อนดูวา่ คุณใช้อะไรบ้าง เช่น เครื่องวิทยุ ICOM , เครื่องขยาย
กาลังส่ง ALPHA และสายอากาศ FORCE 12 ถ้าคุณคิดว่าน่าจะติดต่อได้โดยไม่ตอ้ งใช้เครื่อ งขยายกาลัง
ส่ง คราวนี้ให้ลองใหม่ โดยปิ ดเครื่องขยายกาลังส่งของคุณซะ และใช้การออกอากาศแบบกาลังส่งแบบ
ปกติ ถ้าคุณทาได้ นัน่ แสดงว่าคุณมีฝีมอื ในการแหวกวง Pile up ที่กาลังมีคนติดต่อเข้ามาแบบมากๆ
แล้ว

นอกจากนี้คุณควรที่จะทราบว่า ในการติดต่อสื่อสารนัน้ คุณจะติดต่อไม่ได้เลยหาก Operator


ของสถานีทางไกล ไม่มที กั ษะในการติดต่อสื่อสารในระหว่างมีคนเรียกเข้ามามาก ๆ ดังนัน้ คุณควรที่จะ
ขอบคุณสาหรับทุกความช่วยเหลือทีค่ ุณได้รบั นี้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 12


#13 เราจะให้เกียรติ เพื่อนนักวิ ทยุด้วยกันเพื่อที่เราก็จะได้รบั เกียรติ จากพวกเขาด้วยเช่นกัน

การให้เกียรติซ่ึงกันและกันเป็ นพฤติกรรมอันดีในการปฏิบตั ิต่อผู้อ่นื ในกิจกรรมติดต่อวิท ยุ


สื่อสารทางไกลมีการแข่งขันที่สูงมาก หากคุณไม่มมี ารยาทในการติดต่อสื่อสารแล้ว สิง่ ที่จะตามมาคือ
การจะถูกกล่าวว่าเป็นนักวิทยุฯ ทีไ่ ม่มมี ารยาทในการติดต่อสื่อสาร

การติดต่อวิทยุส่อื สารทางไกลเป็นสิง่ ทีส่ นุกสนานสาหรับแฮมทุกคน หากเรามีการใช้ความถีว่ ทิ ยุ


อย่างสุภาพการให้เกียรติซ่งึ กันและกันและมีแสดงความอ่อนน้อมถ่อมตนในการสนทนาในความถีว่ ทิ ยุฯ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 13


มารยาทในการติดต่อสื่อสาร

ในการติดต่อสื่อสารนัน้ สิง่ ที่เราจะเห็นกันมาก ๆ คือ เมื่อเราต้องการที่จะติดต่อใคร เรามักจะ


แทรกเข้าไประหว่างกลางวงสนทนา และก็กล่าวคาว่า Contact หรือ Tact ๆๆๆๆๆ จริง ๆ แล้ว ท่าน
ทราบหรือไม่ว่า สิง่ นี้ไม่มีใครเขาใช้กนั ครับ การที่เราจะติดต่อกับสถานีท่เี ขากาลังคุยกันอยู่นัน้ โดย
มารยาทการติดต่อวิทยุส่อื สารจริง ๆ แล้ว เขาจะต้องรอจนกว่าการสนทนานัน้ ๆ จะยุตลิ ง จึงจะติดต่อ
เข้าไปได้ แต่หากท่านมีเรื่องราวทีเ่ ร่งด่วนจริง ๆ ยังไง ก็ตอ้ งติดต่อให้ได้แล้วนัน้ สิง่ ทีป่ ฏิบตั กิ นั เป็นสากล
ก็คอื จะต้อง BREAK เข้าระหว่างการสนทนานัน้ ๆ เพื่อให้คู่สนทนาหยุดการสนทนา และ หลังจากคู่
สนทนาหยุดการสนทนาแล้วนัน้ ท่านจึงกล่าว Contact กับสถานีทท่ี ่านต้องการจะติดต่อ เช่น

HS1กกก กาลังสนทนาอยู่กบั HS1ขขข อยู่ และ E21คคค ต้องการที่จะติดต่อกับ HS1ขขข

E21คคค จะต้องรอจังหวะการสนทนาที่ว่าง และ กล่าวคาว่า BREAK ระหว่างจังหวะการ


สนทนาทีว่ า่ งนัน้

จากนัน้ คู่ ส นทนาจะปล่ อ ยความถี่ให้ว่าง เพื่อเปิ ดโอกากสให้ E21คคค ได้ก ล่ าว Contact

E21คคค เมื่อต้องการที่จะติดต่อ HS1ขขข ก็จะต้องกล่าว Contact HS1ขขข จาก E21คคค

อันนี้คอื รูปแบบอย่างการติดต่อทีถ่ ูกต้องตามหลักสากลปฏิบตั สิ าหรับการติดต่อสื่อสาร

พอพูดถึงเรื่องการติดต่อสื่อสาร เราก็จะต้องมาพูดถึงเรื่องการใช้ รหัส Q หลาย ๆ สถานีท่ผี มมี


โอกาสได้ตดิ ต่อสื่อสารด้วยนัน้ มักจะมีความรู้สกึ ที่ดใี จเป็ นอย่างมาก หากจะสามารถที่จะใช้รหัส Q ที่
แปลก ๆ มาใช้กบั เพื่อนในความถี่ และเพื่อนไม่เข้าใจได้นนั ่ คือสิง่ ทีเ่ ขาคิดว่าเขาคือผูท้ เ่ี ก่งกาจ

แต่จริง ๆ แล้วในกิจการวิทยุฯ หาได้เป็นเช่นนัน้ ไม่ อย่างทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้นว่า ใช้รหัส Q ให้


น้อยทีส่ ุด ใช้ภาษาธรรมดาให้มากทีส่ ุด

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 14


ยกตัวอย่าง รหัส Q และ คาย่อ ที่มกั จะใช้กนั อย่างเข้าใจผิด ๆ

QRD - คุณมาจากไหนและจะไปไหน , เวลาตอบ ก็แค่ตอบว่า QRD กรุงเทพฯ ชุมพร แค่น้ีทุกคนก็


เข้าใจว่าท่านหมายถึงอะไรแล้วครับ
แต่บางท่านกลับนาไปใช้จนคนทีใ่ ช้งงกันไปหมด เช่น ผมกาลัง QRD ผ่านสี่แยกท่าแซะ ลองแปลซิครับ
มันจะแปลได้วา่ อะไร

คนถามเขาถามว่า ท่านมาจากไหนและจะไปไหน แต่ท่านกลับตอบว่า มาและไปผ่านสีแ่ ยกท่าแซะ (ยังมี


อีกเยอะนะแต่ยกตัวอย่างแค่น้พี อ)

QTH - ตาแหน่งทีต่ งั ้ สถานีอยู่ทไ่ี หน ตอบเป็น Lat , Long หรือ สถานที่ แค่นนั ้ ครับ ไม่ตอ้ งตอบอะไรให้
มันมากความ

QRK - อันนี้สาคัญ วิธกี ารรายงานค่าสัญญาณนัน้ จะแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบ RST กับ ประมวล
Q

หลาย ๆ ท่านอาจจะงง ๆ ว่า เฮ้ย มันจะมีอะไรวุน่ วาย ก็ฉนั รูม้ าว่ามันต้องรายงานอย่างนี้ไม่ใช่หรือ ลอง
มาดูกนั ครับ

การรายงานแบบ RST นัน้ ก็จะบอกว่า R = Readability , S = Signal Strength , T = Tone

Readability (R) = ความชัดเจนในการฟงั ซึ่งมี 5 ระดับ คือ

1 ไม่ได้เลย

2 ไม่ค่อยดี (รับแทบไม่ค่อยได้เลย)

3 พอใช้ (รับข้อความได้ดว้ ยความลาบากมาก)

4 ดี (รับข้อความได้สบาย)

5 ดีเยีย่ ม (รับข้อความได้สมบูรณ์ยงิ่ )

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 15


Signal Strength (S) = ความแรงของสัญญาณทีร่ บั ได้ มี 9 ระดับ คือ

1 อ่อนมากจนแทบรับไม่ได้

2 อ่อนมาก

3 อ่อน

4 พอใช้ได้

5 ดีพอใช้

6 ดี

7 แรงปานกลาง

8 แรงดี

9 แรงดีมาก

Tone (T) = ความแจ่มใสของเสียงสัญญาณวิทยุโทรเลข (รหัสมอร์ส)

1 เสียงพร่ามาก มีคลื่นความถีต่ ่าผสมมาด้วย

2 เสียงพร่ามาก

3 เสีย่ งพร่ามาก เหมือนใช้แรงดันไฟฟ้าทีไ่ ม่มกี ารกรองให้เรียบเลย

4 เสียงพร่าและยังกระเพื่อมอยู่

5 เสียงยังกระเพื่อมอยู่มาก

6 เสียงยังกระเพื่อมอยู่เล็กน้อย

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 16


7 เกือบดียงั กระเพื่อมอยู่บา้ ง

8 เกือบดีแล้ว

9 ดีมากไม่มตี าหนิ

ดังนัน้ การรายงานค่าสัญญาณวิทยุ หาก ท่านต้องการรายงานแบบ RST แล้วนัน้ ในโหมด


PHONE จะรายงานค่าแค่ RS โดยไม่มคี าใด ๆ ต่อท้ายทัง้ สิน้

ยกตัวอย่างเช่น หากความชัดเจนในการฟงั อยู่ในระดับ ดีเยีย่ ม และ ความแรงของสัญญาณที่รบั


ได้อยู่ในระดับ แรงดีมาก ก็รายงานค่าสัญญาณ คือ 59 เท่านัน้

หากต้องการรายงานแบบ ประมวล Q หรือ รหัส Q ก็แค่รายงานแค่ QRK 5 โดยการรายงาน


แบบ รหัส Q ข QRK ก็จะแบ่งเป็น 5 ระดับ เหมือน R - ความชัดเจนในการฟงั ไม่มนี ะครับ QRK 59 ,
59 ++++ , หรืออื่น ๆ ทีจ่ ะสรรหามาใช้กนั

QTR - ขณะนี้เวลาเท่าไร อันนี้ส่วนใหญ่มกั จะเอาไปเปรียบกับ ว.24 ของ รหัส ว. ไม่มนี ะครับ QTR นี้ ,
QTR หน้า อยากจะบอกอะไรเกี่ยวกับเวลา ก็บอกเลยครับ ไม่ต้องใช้ รหัส Q ให้มนั สิ้นเปลืองและไม่
ถูกต้อง

QRO - เพิม่ กาลังส่ง แต่กเ็ อาไปใช้ในการบอกกาลังส่ง เช่น ออกอากาศด้วยเครื่อง....... กาลังส่ง QRO


ไม่มนี ะครับ แต่ผมเข้าใจว่าเพราะไม่ตอ้ งการบอกว่า เครื่องผมนะผ่านการจูนมาเรียบร้อยแล้ว มากกว่า
ใบอนุ ญาตที่อนุ ญาตให้ แต่พูดไม่ได้ (อันนี้ละเว้นไว้ในฐานที่เข้าใจครับ ) แต่หากจะบอกก็บอกเลยว่า
กาลังส่งสูงสุดของเครื่องทีจ่ ะทาได้ครับ

QRP - ลดกาลังส่ง นะครับ ไม่ใช่ กาลังส่ง QRP ไม่มนี ะครับ บอกไปเลยว่า ส่งน้อยที่สุดเท่าที่จะส่งได้
ของเครื่อง

YL - แทนสุภาพสตรี แต่กเ็ คยได้ยนิ คาว่า YL น้องสาว แปลแล้ว งง งง น้องสาวก็น้องสาว แล้วทาไม


ต้องมี YL

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 17


XYL - หมายถึงภรรยา ครับ แต่ส่วนใหญ่ ท่ไี ด้ยินคือ X อย่างเดียว อย่าไปเรียกให้ภ รรยาที่เป็ น
นักวิทยาศาสตร์ , วิศวกรฯ หรือ เกีย่ วเนื่องกับการคานวณได้ยนิ นะครับ ไม่อย่างนัน้ ท่านอาจจะเป็นเรื่อง
ได้ เพราะคาว่า X ในภาษาทางคณิตศาสตร์ หมายถึง " ตัวอะไรก็ได้ครับ " ท่านอยากให้ภรรยาที่รกั ของ
ท่านเป็นตัวอะไรก็ได้หรือครับ

OM - เพื่อนเก่า , เกลอเก่า มักจะใช้ในการส่งรหัสมอร์ส สาหรับเพื่อนทีเ่ คยคุยกันมาก่อน , ไม่ใช่ พ่อ นะ


ครับ ท่านจะเปรียบคุณพ่อทีเ่ รารักเป็นเพื่อนเก่าแล้วหรือ

OL - อันนี้ไม่มใี นวิทยุฯ ครับไม่มบี ญ


ั ญัตนิ ะครับ เลิกใช้เถอะครับ

เพิ่ มเติ มฯ เกี่ยวกับเรื่อง RST

โดยทัวไป
่ การรายงานสัญญาณ RST ในการส่งรหัสมอร์ส มักจะใช้รูปแบบย่อในตัวเลข เช่นรับ
สัญญาณได้ 599 เราจะ แทนด้ว ย 5NN (N แทนเลข 9 ) เป็ นการประหยัดเวลาในการส่ง
1 = A, 2 = U, 3 = V, 4 = 4, 5 = E, 6 = 6, 7 = B, 8 = D, 9 = N, 0 = T

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 18


มีเพื่อน ๆ ถามผมเข้ามาว่า QRSs มีความหมายว่าอะไร

ผมเลยไปหาทีม่ ามาตอบเพื่อน ๆ ครับ ดังนี้

QRSs มากจาก Q SIGNAL QRS หรือ หมายความว่า Slow down your speed transmission
หรือ แปลเป็ นไทยแบบง่าย ๆ ว่า ช่วยส่งให้มนั ช้า ๆ ลงหน่ อยนะ หรือ ช่วยส่ง รหัสมอร์ส ให้มนั ช้า ๆ
หน่อยเถอะนะพ่อคุณ ประมาณนี้ครับ

ทีน้ีเพื่อนๆ ก็ถามกลับอีกว่า แล้วทาไมต้องมี s เพิม่ มาอีกตัวต่อท้าย QRS ล่ะ ก็ QRS ก็รู้อยู่


แล้วว่า ส่งให้ชา้ ลง ผมก็ไปค้นคว้าข้อมูลมาตอบเพื่อนอีกว่า ที่มี S มาต่อท้ายนัน้ มันหมายถึง Very
Very slow please ก็แปลเป็นไทย ๆ แบบคนบ้านนอกแบบผมว่า ก็ทค่ี ุณส่งนะขนาด QRS แล้ว ผมก็ยงั
รับไม่ได้ครับ ดังนัน้ คงต้องรบกวนให้คุณส่งแบบ Very Very Slow หน่อยแล้วนะ

ดังนัน้ S ตัวสุดท้ายจึงมีความหมายว่า ส่งให้ชา้ มาก ๆ หน่อยนะ

เช่นเดียวกับ QRPp ก็เช่นเดียวกัน Q SIGNAL QRP ก็หมายถึง ลดกาลังส่ง หรือ หากเป็ น


เครื่องวิทยุกห็ มายถึง เครื่องวิทยุฯ ทีม่ กี าลังส่งต่า ๆ ถ้าเป็น CW ก็ไม่เกิน 5 วัตต์ หรือ 10 วัตต์ สาหรับ
เครื่อง SSB

ดังนัน้ QRPp ก็จะหมายถึง ลดกาลังส่งให้ต่ามาก ๆ หรือ เครื่องวิทยุฯ ทีม่ กี าลังส่งทีต่ ่ามาก ๆ ที่
มีกาลังส่งของเครื่องทีอ่ อกเป็น มิลลิวตั ต์ เช่นเครื่องวิทยุฯ ทีท่ าใช้เอง ทีเ่ ป็นชุดคิทและเรานามาประกอบ
กันนันเองครั
่ บ ก็อาจจะเรียกว่าเป็นเครื่องวิทยุฯ แบบ QRPp ได้ครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 19


สัญลักษณ์ออกเสียงสากล (International Phonetic Alphabet)

Phonetic Alphabet คือ อะไร

ในทีน่ ้ไี ม่ใช่การออกเสียงตามหลักภาษาศาสตร์แต่เป็นการออกเสียงตามลาดับของคา ซึ่งใช้แทน


การออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษ A – Z เพื่อป้องกันการสับสน เนื่องจากการออกเสียงใกล้เคียงกัน
ของพยัญชนะบางตัว เช่น “ B ” กับ “ D ” ออกเสียงตาม Phonetic Alphabet เป็ น “ Bravo ” (บรา โว)
กับ “ Delta ” (เดล ทะ) คาว่า Amateur ออกเสียงเป็ น “ Alfa Mike Alfa Tango echo uniform romeo”
(แอลฟะ ไมค์ แอลฟะ แทงโก้ เอคโค่ ยูนิฟอร์ม โรมิโอ) เป็นต้น

Phonetic Alphabet ในชีวติ ประจาวัน

บางท่านทีเ่ คยติดต่อจองตั ๋วเครื่องบินทางโทรศัพท์กบั บริษทั ทัวร์หรือสายการบิน คงเคยสะกด


ชื่อด้วยอักษรภาษาอังกฤษกันมาแล้วและคงเคยถูกถามกลับว่าสะกดด้วยพยัญชนะอะไร เช่น H how
หรือ S sugar เพราะออกเสียงคล้ายกันเหลือเกิน ทัง้ หมดที่ใช้ในการสื่อสารกันมาไม่มใี ครผิดใครถูก
หรอกครับ ขอให้การสื่อสารนัน้ ถูกต้องแม่นยาเข้าใจตรงกันเป็นอันใช้ได้ แต่ดว้ ยรหัสทีใ่ ช้แทนพยัญชนะ
เพื่อการสะกดคา (alphabet code) มีหลากหลาย แต่ละหน่ วยงานก็มมี าตรฐานของตนเอง จึงได้มผี ทู้ า
การรวบรวมไว้เป็ นหมวดหมู่ตามแหล่งกาเนิดบ้าง ตามปี ท่เี กิดบ้าง โดยเริม่ ตัง้ แต่เวอร์ชนแรก
ั่ ๆ ในปี
1913, และอีกหลากหลาย อาทิเช่น

NATO & International Aviation,


British Forces 1952,
RAF 1942-43,
Telecom B,
British A or International ,
New York Police,
Frence,
German,
Italian,
Spanish

ดูภาพประกอบ Phonatic Alphabet ในแบบต่าง ๆ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 20


Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 21
ในความเป็ น จริง แล้ว ภาษาอัง กฤษเป็ น ภาษาที่ไ ม่ มีอ ะไรเป็ น การลงตัว เท่ า ไร เพราะเป็ น
ภาษากลางทีเ่ รียกว่า International Language ดังนัน้ แต่ละภูมภิ าคก็อาจทีจ่ ะออกเสียงบางคาไม่ได้ ซึ่ง
ก็คอื ทีม่ าของคาว่า “ วิกต้า “ หรือ “ วิกเตอร์ “ ทีเ่ ป็นกล่าวกันว่า ใครถูก หรือ ใครผิด

คานี้ เมื่อในอดีตกาลก็เคยเรียกว่า “ วิกต้า “ มาอย่างช้านาน เพราะเกิดจากผูบ้ ริหารของ สหภาพ


โทรคมนาคม ในขณะนัน้ ไม่สามารถที่จะออกเสียงคาว่า “ วิกเตอร์ “ ได้ ต่อมาเมื่อเปลี่ยนผูบ้ ริหาร ก็ได้
เปลีย่ นคาอ่านจากคาว่า “ วิกต้า “ มาเป็น “ วิกเตอร์
“
แต่ในความเป็ นจริงแล้ว ไม่ว่าคาว่า “ วิกต้า “ หรือ คาว่า “ วิกเตอร์ “ ไม่ได้มคี วามหมายอะไรที่
จะต้องมาถกเถียงกันให้ปวดหัว เพราะ Phonatic Alphabet คือ การออกเสียงตามลาดับของคา ซึ่งใช้
แทนการออกเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษ A – Z เพื่อป้องกันการสับสน ไม่ได้เป็ นคาภาษาอังกฤษที่
ต้องการคาแปล หากเป็นเช่นนัน้ บางครัง้ การออกเสียงอาจจะทาให้คาแปลเปลีย่ นไปอีกความหมายหนึ่ง
ได้

บางครัง้ ในการติดต่อสื่อสารสากล บางครัง้ ท่านอาจจะไม่เคยได้ยนิ International alphabet


เลยซะด้วยซ้ า แต่อาจจะได้ยนิ Country Alphabet , หรือ Alphabet ที่นาแต่ละหลายๆ Alphabet มา
รวมกันเพื่อให้เข้าใจได้อย่างสมบูรณ์ เพราะในการติดต่อสื่อสารสิง่ ทีจ่ ะเรียกว่าประสบความสาเร็จในการ
ติดต่อสื่อสารก็คอื การติดต่อสื่อสารทีไ่ ด้ใจความครบถ้วนสมบูรณ์นนเอง
ั่

ดังนัน้ หลักในการติดต่อสื่อสาร ก็คอื ใช้ International Alphabet ทีก่ าหนดก่อน หากอีกฝ่ายไม่


สามารถที่จะเข้าใจได้ เราอาจจะใช้ Alphabet อื่น ๆ มาผสมได้เพื่อให้ได้การติดต่อสื่อสารที่สมบูรณ์
นันเอง

ปล. หากจะมานัง่ ถกเถียงกันด้วยเรื่อง Alphabet นัน้ โดยส่วนตัวผมคิดว่า เราควรที่จะมา


รณรงค์ในการใช้ความถีใ่ ห้เกิดประโยชน์สูงสุด และขานสัญญาณเรียกขานให้ครบถ้วนดีกว่าหรือไม่ครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 22


คาย่อต่าง ๆ ในกิจการวิทยุสมัครเล่น

มีเพื่อน ๆ ใหม่ ๆ สงสัยกันเรื่องคาย่อต่างๆ ในกิจการวิทยุสมัครเล่นทีเ่ ป็นสากล เลยจัดเอามาให้เพื่อ


เป็นความรูก้ นั ครับ

Prosigns ในรหัสมอร์ส คาย่อเหล่านี้ เวลาส่งเราจะส่งแบบติดต่อกันไปเลย โดยไม่มกี ารเว้นจังหวะ


ระหว่างตัวอักษร ในการเขียนเราจะเขียนเครื่องหมาย Bar เอาไว้ขา้ งบน

AA End Of Line
AAA Full Stop
AC @ symbol used in email addresses
AR End of message
AS Stand by; wait
BT Separation (break) between address and text; between text and signature.
HH (Error in sending. 8 dits - Transmission continues with last word correctly sent.)
II Short form of above <HH>
IMI Repeat; I say again. (Difficult or unusual words or groups.)
KN Invitation to a specific station to transmit
NR Number follows
SK Out; clear (end of communications, no reply expected.)
คาย่อในกิจการวิทยุสมัครเล่น
ABT About
ADEE Addressee
ADS Address
ADR Address
AGN Again
ANI Any
ANT Antenna
B4 Before
BK Break (สัญญาณ Break ใช้สาหรับ Break เพื่อหยุดการส่ง )
BT - (สัญญาณแยกข้อความในการติดต่อทาง CW)
BTH Both
BURO Bureau
C Yes

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 23


CFM Confirm
CL Closing Station ปิดสถานี ปิดเครื่องรับ - ส่ง
CUL See you later
DA Day
DE From, This Is
DIFF Difference
DLD Delivered
DLVD Delivered
DN Down
DR Dear
DSW Russian CW abbreviation for goodbye.
DWN Down
DX Distance
ES And
FB Fine business
GA Go ahead (ใช้หลังการ CQ หรือเมื่อสิน้ สุดการส่ง เพื่อเชิญให้สถานีต่าง ๆ เรียกเข้ามาได้)
GA Good afternoon
GB Good bye
GB God bless
GE Good evening
GG Going
GM Good morning
GN Good night
GND Ground
GUD Good
HI Laughter
HI High
HR Here; hear
HV Have
HW How; how copy
K Go, invite any station to transmit
LID A poor operator (พนักงานอ่อนหัด)
LSN Listen
LW Long Wire., Long Wave

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 24


MSG Message
N No
NIL Nothing
NR Number
NW Now
OB Old boy
OM Old man
OP Operator
OT Old timer; old top
PBL Preamble
PKG Package
PSE Please
PT Point
PWR Power
PX Press, Prefix
R Received as transmitted; Are;
R Decimal Point (with numbers)
RC Ragchew
RCD Received
RCVR Receiver
RE Concerning; Regarding
REF Refer to; Referring to; Reference
RFI Radio frequency interference
RIG Station equipment
ROTFL Rolling on the floor laughing
RPT Repeat, Report
RTTY Radio teletype
RST Readability, strength, tone
RX Receive, Receiver
SED Said
SEZ Says
SIG Signal
SK Clear (เลิกการติดต่อ ใช้เพื่อเสดงว่าจบการติดต่อแล้ว ยังเปิดสถานีอยู่)
SKED Schedule

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 25


SRI Sorry
TMW Tomorrow
TNX Thanks
TT That
TU Thank you
TVI Television interference
TX Transmitter
UR; URS Your; Yours
VERT Vertical
VY Very
WKD; WKG Worked; working
WL Will
WUD Would
WX Weather
XMTR Transmitter
YF; XYL Wife
YL Young lady
33 Fondest Regards
55 Best Success
73 Best regards
88 Love and kisses
? question (เหมือนกับ QRL?)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 26


การติดต่อสื่อสารในระบบ PHONE (SSB) หรือ แบบเสียงพูด (กรณี เป็ นผู้ตงั ้ CQ)

มีเพื่อน ๆ หลาย ๆ ท่านสอบถามผมมาว่า ผมเขียนบทความเกีย่ วกับเรื่อง CW อย่างเดียวหรือ


ไม่เห็นมีบทความทีเ่ กีย่ วกับการติดต่อสื่อสารแบบ PHONE หรือ แบบเสียงพูดเลย เพราะบางท่านอยาก
ติดต่อสื่อสารแบบ PHONE แต่ไม่ทราบว่าจะเริม่ ต้นยังไง

ผมเลยต้องจัดให้ตามคาขอของเพื่อน ๆ จะได้ไม่น้อยหน้ากันกับใน MODE CW ซึ่งการ


ติดต่อสื่อสารแบบ PHONE นัน้ ก็ไม่ต่างอะไรกับ CW เท่าไรนัก FORMAT ในการติดต่อก็มสี ่วนคล้าย ๆ
กัน เพียงแต่ปรับเปลีย่ นอะไรเล็กน้อยให้เหมาะสมครับ เกริน่ น้ าไปเยอะแล้ว ตามมาดูกนั ดีกว่าว่า หาก
เราต้องการทีจ่ ะติดต่อใน MODE PHONE นัน้ เราจะมี FORMAT อะไรบ้าง ซึ่งเมื่อเพื่อน ๆ มีความ
ชานาญขึน้ แล้ว ก็อาจปรับเปลีย่ นได้ตามความต้องการของเพื่อน ๆ ครับ บทความทีผ่ มเขียน เขียน
ขึน้ มาเพื่อเป็นแนวทางให้กบั เพื่อนๆ ได้นาไปใช้ปฏิบตั กิ นั ครับ

กรณี ที่เราเป็ นฝ่ ายเรียก CQ มีลาดับขัน้ ตอนดังต่อไปนี้ (ช่วงแรก)

1. อันดับแรกเลยทีถ่ อื เป็นมารยาทในการใช้ความถี่ ก่อนจะใช้ความถีไ่ ม่วา่ จะในย่านใด โหมดใด ก็ตาม


มารยาททีส่ าคัญในการใช้ความถีเ่ ลย ก็คอื ต้องถามว่า " ความถีว่ า่ งหรือไม่ครับ
จาก CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) เช่นเดียวกันในการติดต่อสือ่ สารย่าน HF ใน MODE
PHONE เราก็ตอ้ งถามอย่างนี้เหมือนกัน คือ
" IS THE FREQUENCY IN USE PLEASE FROM CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา)

2. จากนัน้ ส่งสัญญาณ เสียงพูดเรียก CQ ไม่เกิน 3 ครัง้ ดังนี้


CALLING CQ CQ CQ THIS IS .................... .................... .................... CALLSIGN (สัญญาณ
เรียกขานของเรา) CALLING CQ AND STANDING BY.

3. จากนัน้ หยุดฟงั ถ้ายังไม่มผี ใู้ ดตอบมา ก็ทาตาม 2 ใหม่จนกว่าจะมีผเู้ รียกเข้ามา

4. กรณีมผี เู้ รียกเข้ามา ให้ปฏิบตั ดิ งั นี้


4.1 เมื่อผูเ้ รียก เรียกเข้ามา เขาจะเรียกเรามาดังนี้ .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของ
เรา) THIS IS E21IZC E21IZC OVER หรือ E21IZC OVER

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 27


5. ดาเนินการติดต่อสื่อสารตาม PHONE FORMAT ดังนี้ (1)

E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) RETURNING


THANKS YOU FOR COMING BACK TO MY CALL
YOUR SIGNAL REPORT IS .................... (ระดับสัญญาณที่เรารับได้ รายงานค่าสัญญาณ
ระบบ RST เช่นรับได้ 59 ให้บอกว่า 5 BY 9)
I REPEAT I COPY YOU .................... (ทวนระดับสัญญาณที่เรารับได้ให้เขาอีกครัง)้
YOU HAVE AN EXCELLENT SIGNAL HERE IN .................... (สมมติ ว่าเป็ น CHUMPHON)
I SPELL FOR YOU CHALIE HOTEL UNIFORM MILK PAPA HOTEL OSCAR
NOVEMBER (สะกดเป็ น PHONATIC ALPHABET)
CHUMPHON THE FIRST SOUNTHERN CITY OF THAILAND (อันนี้ อยู่ที่ลูกเล่นใครลูกเล่นมัน
ครับ เพื่อให้ค่สู ถานี เข้าใจที่ตงั ้ เราได้ดีที่สดุ )
MY NAME IS .................... (บอกชื่อเล่นของเรา หรือ ชื่อที่ใช้ในกิ จการวิ ทยุฯ สมมติ ชื่อ JOHN)
I SPELL JULIET OSCAR HOTEL NOVEMBER , JOHN (ชื่อเล่นของเรา หรือ ชื่อที่ใช้ในกิ จการ
วิ ทยุฯ)
BACK TO YOU AND HOW DO YOU COPY
E21IZC FROM .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา)

-------------------------------------------------------------------------------------------

คู่สถานี เราในที่นี้คือ E21IZC ก็จะตอบกลับมาดังนี้ (1) (ช่วงแรก)

.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา)THIS IS E21IZC


VERY FINE BUSINESS OLD MAN (OM แปลว่าเพื่อนเก่านะครับไม่ใช่แปลว่าพ่ออย่างที่แฮม
ไทยหลาย ๆ คนใช้กนั )
THANKS FOR THE 5 BY 9 REPORT (ขอบคุณเราสาหรับค่าสัญญาณที่เราแจ้งเขา)
YOUR REPORT IN BANGKOK (สมมติวา่ เป็น BANGKOK กรุงเทพฯ) IS 5 BY 7 (สัญญาณที่เขารับ
เราได้)
BUT I AM HAVING NO TROUBLE COPYING YOU JOHN (ชื่อของเรา)
MY QTH IS BANGKOK , BRAVO ALPHA NOVEMBER GOLF KILO OSCAR KILO (ที่อยู่ของ
เขา)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 28


MY NAME IS TONY TANGO OSCAR NOVEMBER YANKEE (ชื่อของเขา)
MY TRANCEIVER IS KENWOOD TS 50 S (เครื่องที่เขาใช้)
RUNNING 100 WATTS AND ANTENNA IS 3 ELEMENT YAGI (สายอากาศที่เขาใช้)
THE WEATHER HERE TODAY IS CLOUDY (อากาศที่บ้านเขา) (HOT = ร้อน , WARM = อากาศ
กาลังดี , CLOUDY = มีเมฆมาก , RAINY = มีฝนตก)
TEMPERATER 10 DEGREES CENSIUS. (อุณหภูมิที่บ้านเขา)
BACK TO YOU CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา)THIS IS E21IZC OVER

-------------------------------------------------------------------------------------------

จากนัน้ เรา ก็จะตอบเขาดังต่อไปนี้ (2) (ช่วงกลาง)

E21IZC THIS IS .................... CALLSING (สัญญาณเรียกขานของเรา) RETURNING


EXCELLENT COPY TONY (ชื่อของเขา)
YOUR TS 50 S IS DONING A FINE JOB (ทวนเครื่องวิ ทยุของเขา จะทวนก็ได้ไม่ทวนก็ได้)
MY TRANSCEIVER IS ....................RUNING .................... WATTS (บอกชื่อเครื่องวิ ทยุของเรา
และกาลังส่งที่เราใช้)
AND MY ANTENNA IS .................... UP ABOUT .................... METERS (บอกว่าเราใช้
สายอากาศอะไร ความสูงเท่าไร)
WEATHER HERE TODY HAS BEEN .................... (บอกสภาพอากาศที่บ้านเรา) (HOT = ร้อน
, WARM = อากาศกาลังดี , CLOUDY = มีเมฆมาก , RAINY = มีฝนตก)
TEMPERATURE IS STILL ABOUT .................... DEGREES CELSIUS AT .................... LOCAL
TIME .................... (บอกอุณหภูมิของเรา และเวลาท้องถิ่ น เช่น 10 คือ 10 นาฬิ กา และ บอก
ช่วงเวลาเช่น MORNING = ตอนเช้า , AFTERNOON = ตอนกลางวันTONIGHT = ตอนกลางคืน )
THAKN YOU FOR THE NICE QSO
IF YOU WOULD LIKE A QSL CARD IT IS OK VIA THE BUREAU (ถ้าเขาต้องการ
แลกเปลี่ยน QSL CARD ให้ส่งมาที่ HS QSL BUREAU ซึ่งก็คือ RAST นัน่ เอง) หรือ อาจจะ
ใช้ DIRECT VIA QRZ.COM คือให้ไปดูที่อยู่เราที่ WEBSITE QRZ.COM
SO I PUT IT BACK TO YOU FOR THE FINAL.
E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) OVER

-------------------------------------------------------------------------------------------

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 29


คู่สถานี เราในที่นี้คือ E21IZC ก็จะตอบกลับมาดังนี้ (2) (ช่วงจบ)

.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) THIS IS E21IZC RETURNING FOR THE


FINAL
OK JOHN (ชื่อของเรา) FINE ON YOUR WEATHER.
YOUR 100 WATTS IS DOING AN EXCELLENT JOB. (เขาทวนกาลังส่งของเรากลับมา)
I WILL SEND QSL CARD VIA BUREAU. (เขายืนยันจะส่ง QSL CARD มาให้เราผ่านสมาคมฯ)
I LOOK FORWARD TO RECEIVING YOUR CARD AS YOUR RE A NEW COUNTRY FOR MY
DXCC. (เขาจะรอ QSL CARD ของเราสาหรับประเทศใหม่ สาหรับการติ ดต่อของเขา)
.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) THIS IS E21IZC GOOD BY 73

-------------------------------------------------------------------------------------------

จากนัน้ เรา ก็จะตอบเขาดังต่อไปนี้ (3) (ช่วงจบ)

E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา)


THANKS FOR NICE QSO
HOPE TO SEE YOU AGAIN ON NEXT BAND
GOOD BY 73

เป็นอันจบการติดต่อสือ่ สารแบบสมบูรณ์ในการติดต่อใน MODE PHONE กรณีทเ่ี ราเป็นผูเ้ รียก CQ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 30


การติดต่อสื่อสารในระบบ PHONE (SSB) หรือ แบบเสียงพูด (กรณี เป็ นผู้ตอบ CQ)

กรณีทเ่ี ราได้ยนิ สัญญาณเรียก CQ ในความถีจ่ ากสถานี KF1I ด้วยระบบ PHONE ดังต่อไปนี้

CQ DX CQ DX CQ DX THIS IS KF1I KF1I KF1I CALLING CQ AND STANDING BY.

เราต้องการจะติ ดต่อสถานี E21IZC ก็จะต้องปฏิ บตั ิ ดงั ต่อไปนี้ (1) (ช่วงเรียก)

E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) OVER

หรือ

THIS IS .................... .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) OVER

สถานี ที่เรียก CQ (E21IZC) จะตอบกลับมาดังนี้ (1) (ช่วงแรก)

.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) THIS IS E21IZC RETURNING


.................... (กล่าวคาสวัสดี GOOD MORNING = สวัสดีตอนเช้า , GOOD AFTERNOON = สวัสดี
ตอนกลางวัน , GOOD EVENING = สวัสดีตอนเย็น) OLD MAN
THANK YOU FOR COMING BACK TO MY CALL.
YOUR SIGNAL REPORT IS .................... (ระดับสัญญาณที่เขารับเราได้ รายงานค่าสัญญาณ
ระบบ RST เช่นรับได้ 59 ให้บอกว่า 5 BY 9)
REPEAT 5 BY 9
YOU HAVE AN EXCELLENT SIGNAL HERE IN BANGKOK
MY QTH IS BANGKOK (ที่อยู่ของเขา)
I SPELL BRAVO ALPHA NOVEMBER GOLF KILO OSCAR KILO (สะกดเป็ น Phonatic
Alphabet)
MY NAME IS TONY
I SPELL TANGO OSCAR NOVEMBER YANKEE (สะกดเป็ น Phonatic Alphabet) IS MY NAME.
HOW DO YOU COPY BACK TO YOU
.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) THIS IS E21IZC OVER

-------------------------------------------------------------------------------------------

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 31


เราจะตอบ CQ E21IZC ตาม FORMAT ข้างท้าย ดังต่อไปนี้ (1) (ช่วงแรก)

E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา)


VERY FINE BUSINESS OM TONY
THANKS FOR 5 BY 9 REPORT (ขอบคุณเขาสาหรับ ค่าสัญญาณที่เขารับเราได้)
YOUER REPORT ALSO 5 BY 9 (กรณี ที่เรารับเขาได้เท่ากันกับที่เขารับเราให้ใช้ ALSO แต่ถ้า
เรารับได้ต่างจากที่เขารับเรา ไม่ต้องใช้ ALSO)
MY QTH IS CHUMPHON (สมมติวา่ เราอยู่ทช่ี มุ พร)
I SPELL CHALIE HOTEL UNIFORM MIKE PAPA HOTEL OSCAR NOVEMBER (สะกดเป็น
Phonatic Alphabet)
CHUMPHON THE FIRST SOUNTHERN CITY OF THAILAND (อันนี้ อยู่ที่ลูกเล่นใครลูกเล่นมัน
ครับ เพื่อให้ค่สู ถานี เข้าใจที่ตงั ้ เราได้ดีที่สดุ )
MY NAME IS JOHN (บอกชื่อของเรา สมมติ ชื่อ จอห์น)
I SPELL JULIET OSCAR HOTEL NOVEMBER (สะกดเป็ น Phonatic Alphabet)
MY RIG IS ICOM 718 RUNNING 100 WATTS (บอกเครื่องวิ ทยุที่เราใช้)
ANTENNA IS DIPOLE (บอกสายอากาศที่เราใช้)
THE WEATHER HERE TODAY IS SUNNY (บอกสภาพอากาศที่บ้านเรา) (HOT = ร้อน , WARM
= อากาศกาลังดี , CLOUDY = มีเมฆมาก , RAINY = มีฝนตก , SUNNY = มีแดดจัด)
TEMPERATURE ABOUT 32 DEGREES CENSIUS. (บอกอุณหภูมิ)
BACK TO YOU
E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) OVER

-------------------------------------------------------------------------------------------

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 32


สถานี ที่เรียก CQ ในที่นี้คือ E21IZC จะตอบกลับมาตาม FORMAT ข้างท้าย ดังต่อไปนี้ (2) ช่วง
กลาง

.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) THIS IS E21IZC RETURNING


EXCELLENT COPY JOHN (ชื่อของเรา)
YOUR ICOM 718 IS DONING A FINE JOB (ทวนเครื่องวิ ทยุที่เราใช้)
MY TRANSCEIVER IS A KENWOOD TS 50 S (เครื่องวิ ทยุที่เขาใช้)
RUNNING 100 WATTS (กาลังส่งที่เขาใช้)
ANTENNA IS 3 ELEMENT YAGI BY MY HOMEBREW (สายอากาศที่เขาใช้ ยี่ห้ออะไร)
UP ABOUT 20 METERS (ความสูงของสายอากาศ)
THE WEATHER HERE TODAY IS CLOUDY (อากาศที่บ้านเขา) (HOT = ร้อน , WARM = อากาศ
กาลังดี , CLOUDY = มีเมฆมาก , RAINY = มีฝนตก)
TEMPERATER 10 DEGREES CENSIUS. (อุณหภูมิที่บ้านเขา)
THANKS YOU FOR THE NICE QSO
IF YOU WOULD LIKE A QSL CARD (หากเราต้องการ QSL CARD เขา)
IT IS OK VIA BUREAU (ให้ส่งผ่านที่สมาคมฯ ของเขา)
SO I PUT IT BACK TO YOU FOR THE FINAL
.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) THIS IS E21IZC OVER

-------------------------------------------------------------------------------------------

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 33


เราจะตอบสถานี ที่ตงั ้ CQ ในที่นี้คือ E21IZC ดังข้อความต่อไปนี้ (2) ช่วงจบ

E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) RETURNING


FOR THE FINAL OK TONY (ชื่อของเขา)
FINE ON YOR WEATHER
YOUR TS 50 S IS DONING AN EXCELLENT JOB (ทวนชื่อเครื่องวิ ทยุของเขา และบอกว่ามัน
ใช้งานได้ดีมากรุ่นนี้ นะ)
I WILL SEND QSL CARD VIA BUREAU (ถ้าเขาต้องการ แลกเปลี่ยน QSL CARD ให้ส่งมาที่ HS
QSL BUREAU ซึ่งก็คือ RAST นัน่ เอง) หรือ อาจจะใช้ DIRECT VIA QRZ.COM คือให้ไปดูที่อยู่เรา
ที่ WEBSITE QRZ.COM
AND LOOKING FORWARD TO MEET YO AGAIN
BEST WITH TO YOU AND YOUR FAMILY
GOODBYE 73
E21IZC THIS IS .................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) OVER

-------------------------------------------------------------------------------------------

สถานี ที่เรียก CQ ในที่นี้คือ E21IZC จะตอบกลับมาตาม FORMAT ข้างท้าย ดังต่อไปนี้ (3) ช่วงจบ

.................... CALLSIGN (สัญญาณเรียกขานของเรา) THIS IS E21IZC


THANKS FOR THE NICE QSO WITH YOU
GOOD BYE JOHN (ชื่อของเรา) 73
-------------------------------------------------------------------------------------------

เป็นอันจบการติดต่อสือ่ สารแบบสมบูรณ์ในการติดต่อใน MODE PHONE กรณีทเ่ี ราเป็นผูต้ อบ CQ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 34


CW QSO FORMAT
กรณี เป็ นผูต้ งั ้ CQ
ส่งสัญญาณ CW เพื่อสอบถามว่าความถีว่ า่ งหรือไม่ หรือมีผใู้ ช้งานอยู่ในความถีน่ ้หี รือไม่โดย
QRL? DECALLSIGN(3 Times)
ส่งสัญญาณเรียก CQ ดังนี้
CQ CQCQDE CALLSIGNCALLSIGNCALLSIGNAR K
หยุดฟงั สมมติวา่ มีสญ
ั ญาณตอบกลับมาโดย HS7AT จะเป็นดังนี้
CALLSIGN DEE21XE21Xหรือ
DEE21X E21XK
สนทนาโต้ตอบกันดังนี้
(A) ฝัง่ ผูเ้ รียก CQ
……………………… DE ……………………..
(GM , GA , GE) TNX FER UR CALL BT
UR RST599 5NN
QTH IS ………………………………… (2 TIMES)
NAME IS ……………………………… (2 TIMES) HW?
……………………… DE …………………….. KN
(B) ฝัง่ ผูต้ อบ CQ
R ……………………….. DE …………………………..
(GM , GA , GE) DR………………………………….. OM FB
TNX FER NICE RPRT 5NN FM ……………………………. BT
UR ALSO 599 5NN
MY QTH IS ………………………………………….. (2 TIMES)
MY NAME IS ………………………………………… (2 TIMES)
HW COPY DR……………………………..
…………………… DE ……………………… KN

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 35


(A) ฝัง่ ผูเ้ รียก CQ
R ……………………… DE …………………………….
FB COPY DR…………………………… BT
QSL SURE VIA BURO BT
MY RIG IS …………………………..
RUNNING …………………………….. WATTS
ANT ……………………………………
UP ABT……………………………….. METERS BT
WX HR (SUNNY , CLOUDY , RAINNY)
TEMP ABT …………………………. C BT HW?
……………………………. DE ……………………………………
(B) ฝัง่ ผูต้ อบ CQ
R ………………………….. DE ………………………….
R UR RIG IS VY GUD JOB BT
MY RIG IS ………………………………..
RUNNING ……………………….. WATTS OUT PUT
ANT ………………………………..
UP ABT …………………………. METERS BT
OK SURE QSL VIA BURO BT
WX HR (SUNNY , CLOUDY , RAINNY)
TEMP …………………… C BT
TNX FER NICE QSO HPE TO CU AGN GB 73 SK
…………………… DE ……………………… TU

(A) ฝัง่ ผูเ้ รียก CQ


R …………………………. DE ……………………………
R CUL GB 73 TU SK E E

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 36


กรณี เป็ นผูต้ อบCQ
CALLSIGN ผูเ้ รียก CQDE.สัญญาณเรียกขานของเราหรือ
DE สัญญาณเรียกขานของเรา (2 TIMES) K

(B) ฝัง่ ผูเ้ รียก CQ


……………………… DE ……………………..
(GM , GA , GE) TNX FER UR CALL BT
UR RST 599 5NN
QTH IS ………………………………… (2 TIMES)
NAME IS ……………………………… (2 TIMES) HW?
……………………… DE …………………….. KN
(A) ฝัง่ ผูต้ อบ CQ
R ……………………….. DE …………………………..
(GM , GA , GE) DR………………………………….. OM
TNX FER NICE RPRT 5NN FM ……………………………. BT
UR ALSO 599 5NN
MY QTH IS ………………………………………….. (2 TIMES)
MY NAME IS ………………………………………… (2 TIMES)
HW COPY DR……………………………..
…………………… DE ……………………… KN

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 37


(B) ฝัง่ ผูเ้ รียก CQ
R ……………………… DE …………………………….
FB COPY DR…………………………… BT
QSL SURE VIA BURO BT
MY RIG IS …………………………..
RUNNING …………………………….. WATTS
ANT ……………………………………
UP ABT……………………………….. METERS BT
WX HR (SUNNY , CLOUDY , RAINNY)
TEMP ABT …………………………. C BT HW?
……………………………. DE ……………………………………
(A) ฝัง่ ผูต้ อบ CQ
R ………………………….. DE ………………………….
R UR RIG IS VY GUD JOB BT
MY RIG IS ………………………………..
RUNNING ……………………….. WATTS OUT PUT
ANT ………………………………..
UP ABT …………………………. METERS BT
OK SURE QSL VIA BURO BT
WX HR (SUNNY , CLOUDY , RAINNY)
TEMP …………………… C BT
TNX FER NICE QSO HPE TO CU AGN GB 73 SK
…………………… DE ……………………… TU

(B) ฝัง่ ผูเ้ รียก CQ


R …………………………. DE ……………………………
R CUL GB 73 TU SK E E

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 38


การใช้ภาษาถิ่นในการติดต่อสื่อสาร

เป็นเรื่องทีพ่ ูดคุยกันไม่จบมากเลย เรื่องการใช้ภาษาถิน่ ในการติดต่อสื่อสาร นับตัง้ แต่ผมเข้าสู่


กิจการวิทยุสมัครเล่นมาไม่น้อยกว่า 18 ปี และประสบการณ์ในด้านต่างประเทศก็ไม่น้อยกว่า 13 ปี ผม
ยังไม่เคยได้ยนิ เลยว่ามีการห้ามการติดต่อสื่อสารโดยใช้ภาษาท้องถิน่

อยากเรียนว่าไม่วา่ ภาษาไทยกลาง , ไทยอิสาน , ไทยเหนือ หรือไทยใต้ ต่างก็เป็นภาษาของคน


ไทยทัง้ นัน้ ครับ ในกิจการวิทยุสมัครเล่นสากล ผมก็เห็นเขาใช้ภาษากลางกันในการสนทนากับสถานีท่ี
เป็นต่างชาติ และ ใช้ภาษาของประเทศตนเองติดต่อกับเพื่อนนักวิทยุฯ ทีอ่ ยู่ในประเทศ

ถึงแม้นว่าจะเป็ นการติดต่อกันในความถี่ HF ก็แล้วแต่ แต่เมื่อไรที่เขาติดต่อกับสถานีจาก


ต่างประเทศ เขาก็จะใช้ภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสารแทบทัง้ สิน้

ดังนัน้ แล้วผมคิดว่า ไม่ได้เป็ นความผิดอะไรเลยที่นักวิทยุฯ ในพื้นที่ต่าง ๆ จะใช้ภาษาถิน่ ของ


ตนเองในการติดต่อสื่อสาร แต่ขอให้มมี ารยาทในการติดต่อสื่อสารเท่านัน้ เองครับ คงไม่มใี ครอยากจะเข้า
ไปคุยด้วยกับคนทีพ่ ูดจาไม่สุภาพเป็นแน่แท้ หากท่านเป็นคนทีม่ มี ารยาทในการติดต่อสื่อสารแล้ว

ผมมันใจว่
่ าแม้นว่าท่านจะใช้ภาษาอะไรในการติดต่อสื่อสาร ก็จะมีคนอยากสนทนากับท่านด้ วย
เป็นแน่แท้ แต่อยากฝากไว้แค่วา่ หากมีนักวิทยุฯ ต่างถิน่ เข้ามาขอติดต่อก็ควรที่จะเปลี่ยนการใช้ภาษา
มาเป็นภาษากลางเพื่อให้สามารถที่จะเข้าใจกันได้อย่างครบถ้วนมากกว่าครับ เพราะการติดต่อสื่อสาร
ทางวิทยุฯ ไม่เหมือนกับการพูดคุยแบบเห็นหน้ากัน บางครัง้ การได้ยนิ บางคาอาจจะมีการผิดเพี้ยนได้
จากสัญญาณคลื่นวิทยุครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 39


เรื่องเกี่ยวกับสายอากาศ เครื่องมือและอุปกรณ์ในสถานี วิทยุสมัครเล่นที่ควรทราบ

อันนี้มาเล่ากันถึงเรื่องสายอากาศกันบ้าง ท่านทราบหรือไม่ว่า ทาไมนักวิทยุฯ ไทย ถึงชอบใช้


สายอากาศ FOLDED DIPOLE กับมากมายครับ ตามผมมาแล้วผมจะเฉลยให้

ก็อย่างที่บอกครับ กิจการวิทยุฯ ไทย นัน้ เกิดจากกิจการวิทยุอาสาสมัคร และ พัฒนามาจาก


หน่วยงานราชการ ดังนัน้ แบบอย่างก็เลยมาจากสถานีวทิ ยุขา่ ยราชการซะเป็ นส่วนใหญ่ แต่เขาเหล่านัน้
จะทราบกันหรือไม่วา่ ทาไมสถานีวทิ ยุราชการเขาถึงใช้สายอากาศ FOLDED DIPOLE กัน ตามผมมา
ครับแล้วเราจะได้ทราบกัน

สายอากาศ FOLDED DIPOLE หรือ ตระกูลเดียวกันนัน้ FOLDED แปลว่าพับเข้าหากัน


DIPOLE แปลว่า สายอากาศ ทีม่ ี 2 ข้าง ชือ่ เต็ม ๆ ของสายอากาศประเภทนี้เขาเรียกว่า HALF WAVE
DIPOLE ครับ ก็คอื สายอากาศครึง่ ความยาวคลื่น โดยมี Feed อยู่ระหว่าง Quarter wave ของแต่ละอัน
ดังนัน้ วิธกี ารของสายอากาศ DIPOLE เขาจะคานวณโดย นาค่าความเร็วของแสง มา หาร ด้วยความถี่
ทีจ่ ะใช้งาน คิดง่าย ๆ ก็คอื เอา 300 / ความถี่

เช่นเราต้องการจะทาสายอากาศ DIPOLE ของ ความถี่ 28 MHz. ก็ทาโดย เอา 300 / 28 = 10


เมตร คือ FULL WAVE DIPOLE เมื่อเราต้องการทาให้เป็น HALF WAVE ก็นา 2 มาหาร จะได้ 5 เมตร
ทาเป็ น ข้างละ QUATOR WAVE ก็จะได้ ประมาณข้างละ 2.5 เมตร อันนี้คอื หลักการง่าย ๆ ของ
สายอากาศ DIPOLE

ทีน้ีมาว่ากันต่อ ถึงสายอากาศ FOLDED DIPOLE สายอากาศประเภทนี้ เขาเรียกกันว่า


REPEATER ANTENNA ครับ เพราะอะไร ก็เพราะว่า สายอากาศประเภทนี้จะสามารถติดต่อได้ในมุม
กว้าง เนื่องจากสถานีท่เี ป็ นสถานีหลักในการกระจายข่าวสาร จะต้องให้ลูกข่ายได้รบั ทราบข้อความที่
ตนเองส่งออกไป ดังนัน้ สถานีวทิ ยุฯ ของราชการสมัยก่อน ๆ จึงนิยมทีจ่ ะติดตัง้ สายอากาศประเภทนี้ไว้
ใช้งาน เพราะต้องการส่งข่าวถึงลูกข่ายของตน

พอเกิดขึน้ ของกิจการวิทยุฯ ในประเทศไทย ก็เลยเอาแบบอย่างจากสถานีวทิ ยุฯ ราชการ มาใช้


ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ เหล่านักวิทยุฯ ส่วนใหญ่มกั จะใช้สายอากาศ FOLDED DIPOLE กันซะเป็ นส่วนใหญ่
แล้วทีน้ี สถานีวทิ ยุฯ สมัครเล่น ไม่ได้มคี วามถีใ่ ช้งานแบบเดียวกับความถีร่ าชการ

สถานีวทิ ยุฯ สมัครเล่น มีชอ่ งความถีถ่ งึ 160 ช่องในการใช้งาน พอมาเจอกับสายอากาศที่มมี ุม


กว้ า งในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ก็ เ ลยท าให้ เ กิ ด การรบกวนกัน กระทบกระทั ง่ กั น ซึ่ ง แต่ ล ะท่ า น
ก็มกั ใช้ความรุนแรงในความถีต่ ่อว่ากัน แต่หาได้ศกึ ษาถึงเหตุและผลของสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ มาไม่

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 40


SWR METER และ ANTENNA TUNER (ATU)

สาหรับนักวิทยุฯ รุ่นใหม่ ๆ แล้ว นัน้ สิง่ ทีค่ วรมีไว้ในสถานีและเป็นสิง่ ทีน่ ่าจะมีความจาเป็นก็คอื


SWR และ ANTENNA TUNER (ATU) เมื่อกล่าวถึง 2 สิง่ นี้ นักวิทยุฯ หลาย ๆ ท่านก็จะงง ๆ ว่า SWR
เข้าใจว่ามันคืออะไร แล้ว เจ้า ATU นี่ละมันคืออะไรล่ะ แล้วมีประโยชน์อะไรหรือ ตามผมมาอีกแหละครับ

เราจะมาว่ากันด้วยเรือ่ งของ SWR กันก่อน SWR คือ STANDING WAVE RATIO เป็นตัวทีใ่ ช้
วัดระหว่างสายอากาศกับ เครือ่ งส่งวิทยุฯ เพื่อทีจ่ ะวัดอิมพิแดนซ์ของสายอากาศ ให้ได้เท่าหรือใกล้เคียง
กับเครื่องส่งวิทยุฯ อิมพิแดนซ์ของสายอากาศนัน้ ควรมีคา่ เท่ากับหรือใกล้เคียง 50 โอห์ม มากทีส่ ุด

วิธกี ารอ่านค่า SWR นัน้ เขาจะอ่านอันโดย อ่านอย่างนี้นะครับ เอาค่าทีไ่ ด้ขน้ึ ก่อน ตาม ด้วย ค่า
มาตรฐาน อย่างเช่น อ่านค่า SWR ได้ 1.5 ต้องอ่านค่าว่า 1.5 : 1 นะครับ ไม่ใช่อ่านว่า 1 : 1.5 หาก
ท่านอ่านอย่างนี้จะหมายความว่า ค่ามาตรฐานคือ 1.5 แล้ว ค่า SWR ทีท่ ่านอ่านได้คอื 1 นะครับ

ทีน่เี ราก็มาว่ากันถึงเรื่อง ATU กัน ATU ก็คอื อุปกรณ์ชนิดหนึ่งทีใ่ ช้สาหรับปรับแต่งค่าอิมพิ


แดนซ์ของสายอากาศให้ได้ใกล้เคียง 50 โอห์ม มากทีส่ ุด

ในบางกรณีท่านอาจจะทาสายอากาศใช้เอง หรือ ซื้อสายอากาศมาจากร้านค้า แต่บางทีการ


แมทช์ อาจจะให้ค่า SWR ได้ไม่ดเี ท่าทีค่ วร แต่ท่านอยากทีจ่ ะปรับแต่ให้ค่า SWR มีค่าทีเ่ ท่ากับ 50
โอห์ม หรือน้อยสุดเท่าทีจ่ ะทาได้ ดังนัน้ ATU ก็จะเป็นตัวช่วยสาหรับการปรับค่าอิมพิแดนซ์ และทาให้
เครื่องส่งวิทยุฯ ไม่ตอ้ งส่งแบบ MISMATCH (ในบางกรณีค่า SWR อาจจะสูงมาก ๆ จนกว่าเครื่องส่ง
วิทยุฯ จะรับได้)

ดังนัน้ ATU ก็จะเป็นตัวช่วย ในกรณีน้ี อาทิเช่น ฝนตกหนัก ๆ ติดต่อกันหลายวัน น้ าฝนทีต่ ก


หนักหลายวัน ก็อาจจะมีผลต่อค่า SWR ก็เป็นไปได้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 41


ปัญหาเรื่องการตัดสายนาสัญญาณ

เรื่องนี้เป็นปญั หามากสาหรับนักวิทยุสมัครเล่นไทย ผมไม่ทราบว่าสาเหตุจากอะไรนะครับแต่ผม


จะเล่าให้ฟงั และลองดูวา่ สิง่ ทีผ่ มพูดมันมีเค้าความเป็นจริงหรือไม่

ปญั หานี้เกิดกับนักวิทยุสมัครเล่นไทยมากคือ จะต้องใช้สายนาสัญญาณเส้นใหญ่ ๆ Low Loss


และมีราคาแพงมาก ๆ ไว้ใช้สาหรับติดในรถ บางท่านนาสายนาสัญญาณแบบ Hardline ใส่ไว้ในรถ
ซึ่งผมมองว่า มันไม่ได้มคี วามจาเป็ นขนาดนัน้ เลย อย่างที่ กล่าวเอาไว้ขา้ งต้นแล้วว่า วิทยุสมัครเล่นนัน้
หากเราไม่ ว่ า งเราก็ไ ม่ เ ล่ น เราจะเล่ น เมื่อ เป็ น เวลาว่า งเพราะมัน คือ หนึ่ ง ในงานอดิเ รกที่เ รารัก
ดังนัน้ ผมมองว่าไม่น่าจะมีความจาเป็ นสักเท่าไรที่จะต้องใช้ขนาดของสายนาสัญญาณที่ใหญ่ขนาดนัน้
เพราะการติดต่อสื่อสารนัน้ สิ่งที่เป็ นผลของการติดต่อก็คอื การรับฟงั ข้อความได้ครบถ้วน ก็ถอื ว่าการ
ติดต่อสื่อสารนัน้ บรรลุถงึ ผลสาเร็จแล้ว

ในการเดินสายนาสัญญาณในรถนัน้ มีขนาดสัน้ อยู่แล้วเนื่องจากตัวรถไม่ได้มคี วามยาวอะไรนัก


สายนาสัญญาณในรถนัน้ ไม่น่าจะเกิน 4-5 เมตรโดยประมาณ ซึ่งค่าความสูญ เสียในสายนาสัญญาณที่
ประมาณ 4-5 เมตรนัน้ แทบจะไม่มผี ลกระทบอะไรเลยซะด้วยซ้ า หรือจะเรียกว่าไม่มคี วามแตกต่างกัน
เลย

การใช้สายนาสัญญาณเส้นใหญ่ อาจจะเกิดปญั หามากกว่าซะด้วย เนื่องจากสายนาสัญญาณที่ม ี


ขนาดใหญ่จะมีปญั หาในการตอนติดตัง้ ในรถ บางครัง้ การคดเคี้ยวของการติดตัง้ อาจจะทาให้สายนา
สัญญาณหักในได้ซ่งึ จะส่งผลมากกว่าซะอีก

การลงทุ นจะมีข้อ แตกต่ า งกัน อย่ า งมากจนเห็น ได้ช ดั แต่ ป ระสิท ธิภ าพที่ไ ด้นัน้ ไม่ มีค วาม
แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญ

อยากฝากถึงเพื่อนๆ นักวิทยุฯ รุ่นใหม่ ๆ ครับว่า ไม่วา่ สายอากาศก็ดี สายนาสัญญาณก็ดี ควรดู


ถึงความพอเพียงและความพอดีของการใช้ครับ

หลักการของวิทยุสมัครเล่นคือ ทาเองให้มากทีส่ ุด ใช้ของทีม่ อี ยู่อย่างคุม้ ค่า ลดการซื้อให้น้อยลง


ครับ

เมื่อพูดถึงสายนาสัญญาณ บางท่านก็จะต้องบอกว่า ต้องตัดให้ลงแลมด้านะ ถ้าตัดไม่ลงแลมด้า


แล้วใช้ไม่ดนี ะ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 42


เคยมีบางท่านมาคุย กับผม ผมก็อธิบายว่า พี่ค รับ หากเงิน พี่หายไปสัก 0.25 สตางค์ แล้วพี่จะมา
เสียเวลาหาไม๊ครับ

ผมไม่ ไ ด้ส อนให้ไ ม่ รู้จ ัก ประหยัด นะครับ แต่ ผ มพยายามอธิบ ายว่า หากต้อ งเสีย เวลาเป็ น
เวลานานมากเพื่อทาอะไรทีผ่ ลตอบแทนกลับมาไม่คมุ้ ค่ากับสิง่ ทีเ่ ราลงทุนไป สู้ไม่ทาจะดีกว่าครับ อีกทัง้
สายนาสัญญาณทีเ่ ราใช้นนั ้ ส่วนใหญ่แล้วค่า อิมพิแดนซ์จะอยู่ทป่ี ระมาณ 50 โอห์ม อยู่แล้วไม่ว่าจะตัดใน
ความยาวเท่าใด ค่าอิมพิแดนซ์ทอ่ี อกมายังไงก็คอื 50 โอหม์ม ซึ่งค่าอิมพิแดนซ์จะผิดเพีย้ นจากนี้เป็ นไป
ไม่ได้หากสายนาสัญญาณนัน้ ๆ อยู่ในสภาพปกติ

การตัดสายนาสัญญาณ บางท่านจะต้องวัดให้ได้ขนาดเลย คานวณอย่างละเอียด แต่ผลทีไ่ ด้แทบ


ไม่แตกต่างเลยครับ

ผมจะคานวณให้ดู ยกตัวอย่างสายนาสัญญาณ RG58 มีค่า VR ที่ 0.66 หากต้องการตัดให้ได้ 1


แลมด้า ต้องตัดที่ 300 / 145 = 2.06 เมตร x ค่า VR ของ RG58 = 2.06 x 0.66 = 1.37 เมตร หากท่าน
ตัดที่ 2 เมตร หรือ 1.50 เมตร ก็ไม่มคี วามแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญครับ ค่า SWR ก็ยงั คงอยู่ระหว่างไม่
เกิน 1.3 ต่อ 1 อย่างแน่นอนหากวัดโดย Dummy Load ครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 43


สายอากาศหรือเสาอากาศ

ยังมีอกี หลายท่านไม่น้อยทีม่ กั จะเรียกอุปกรณ์สาหรับรับและส่งคลื่นความถี่วทิ ยุ ว่า เสาอากาศ


ซึ่งเป็นความเข้าใจทีไ่ ม่ถูกต้อง

สายอากาศ คือ อุปกรณ์สาหรับรับและส่งคลื่น ความถี่วทิ ยุ (radio frequency) ทาหน้าที่เปลี่ยน


พลังงานไฟฟ้ าเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า และในทางกลับกัน ก็เปลี่ยนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็ นพลังงาน
ไฟฟ้าเช่นกัน

สายอากาศมีหลายขนาดและรูปแบบ ขึ้นอยู่กบั การใช้งาน เช่น สายอากาศสาหรับเครื่องรับ


โทรทัศน์ในบ้าน ส่วนใหญ่เป็นสายอากาศ

ชนิด ยากิ-อุดะ มักติดตัง้ ไว้บนหลังคา ทาด้วยอะลูมเิ นียม เพราะน้ าหนักเบาและทนต่อสภาพ


อากาศได้ดีก ว่า โลหะทัว่ ไป สายอากาศของไมค์ล อย เป็ น เพีย งสายไฟสัน้ ๆ หรือ สายอากาศของ
โทรศัพท์มอื ถือ เป็นเพียงจุดเชือ่ มต่อเล็กๆ เท่านัน้

ค าว่า สายอากาศ เป็ นศัพ ท์เ ฉพาะด้านไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิ กส์ บัญ ญัติข ้นึ จากค าศัพท์ใ น
ภาษาอังกฤษ "antenna" หรือ "aerial" ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์อาจเขียนอักษรย่อ Ant. อย่างไรก็ตาม
บุคคลทัวไปนิ
่ ยมเรียกว่า เสาอากาศ อาจจะเป็นเพราะเดิมใช้เสาสูงๆ สาหรับติดตัง้ สายอากาศนันเอง ่

สายอากาศแบ่งตามรูปแบบการรับ-ส่งคลื่นได้ดงั นี้

สายอากาศแบบรอบตั ว สามารถรับ -ส่ ง คลื่ น ได้ ดี ใ นทุ ก ทิ ศ ทางเฉลี่ ย กัน ไปโดยรอบ (OMNI-
DIRECTIONAL ANTENNA)

สายอากาศแบบกึ่งรอบตัว สามารถรับ -ส่งคลื่นได้ดีเกือบรอบตัวแต่มีอตั ราขยายสูงกว่าแบบรอบตัว


สายอากาศแบบทิศทางเดียว สามารถรับ-ส่งคลื่นได้ดใี นทิศทางที่กาหนดและจะมีอตั ราขยาย (gain) สูง
กว่าประเภทอื่น (UNIDIRECTIONAL ANTENNA)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 44


ว่ากันด้วยเรื่องความเข้าใจเกี่ยวกับ Repeater

หลาย ๆ ท่านอาจจะคิดว่า Repeater นัน้ มีไว้ทาไม หากมีไว้กต็ ้องไว้ใช้คุยสิ จะปล่อยไว้ว่าง ๆ


ทาไมไม่ให้เกิดประโยชน์ ท่านทราบหรือไม่วา่ สิง่ ทีท่ ่านคิดนัน้ เป็นสิง่ ทีผ่ ดิ เอามาก ๆ เลย

Repeater หรือที่เราเรียกว่าสถานีทวนสัญญาณ จุดประสงค์ของ Repeater นัน้ ไว้ใช้สาหรับ


สถานีทใ่ี นกรณีปกติไม่สามารถที่จะติดต่อกันได้ในการติดต่อทางตรง จึงต้องมีสถานีทวนสัญญาณไว้เป็น
สื่อกลางในการติดต่อเพื่อที่จะให้สถานีท่ตี ดิ ต่อกันไม่ได้ ติดต่อกันได้โดยผ่านสถานีทวนสัญญาณ โดย
ปกติสถานีทวนสัญญาณมักจะติดตัง้ อยู่บนภูเขาหรือตึกสูง ๆ

ในปจั จุบนั กลับพบว่า ผูใ้ ช้งานสถานีทวนสัญญาณส่วนใหญ่ มักจะติดต่อกันได้ในทางตรง แต่ก ็


มักจะมาใช้งานในสถานีทวนสัญญาณกันเป็ นจานวนมาก ซึ่งผิดวัตถุประสงค์ของการใช้งาน Repeater
บางท่านคิดว่าทีต่ อ้ งมาใช้งาน Repeater ทัง้ ๆ ทีต่ ดิ ต่อกันได้เอง ก็เพราะต้องการให้คนอื่นทราบว่าตรง
นี้คอื Repeater นะ

สาเหตุต่าง ๆ ทีบ่ รรดาผูใ้ ช้งานใช้งานกันผิดประเภทนัน้ เกิดจากการที่ นักวิทยุฯ หลาย ๆ ท่าน


ต่างไม่สนใจทีจ่ ะศึกษา Band Plan ว่าตรงไหนเขาใช้ทาอะไรกัน เมื่อท่านไม่ทราบ Band Plan หรือไม่
ศึกษา Band Plan สิง่ ทีต่ ามมาก็คอื ทายังไงที่จะให้ทราบว่าตรงไหนคือ Repeater ก็คอื ต้องใช้การคุย
กันมาก ๆ ทีค่ วามถี่ Repeater

จริง ๆ แล้ว สถานีทวนสัญญาณ หรือ Repeater นัน้ มีประโยชน์ เป็ นอย่างมาก สามารถที่จะใช้
ประสานงานในยามเกิดเหตุฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากระบบ Network ทาได้อย่างสมบูรณ์แล้ว
จะสามารถทีจ่ ะเชือ่ มเครือข่ายได้ทวประเทศ
ั่ อีกทัง้ ยังสามารถที่จะ Cross Band หรือ ที่เรียกว่า Cross
Band Repeater ได้อย่างสมบูรณ์ทส่ี ุด

จึงอยากฝากผูท้ ่ใี ช้งาน Repeater ทุก ๆ ท่านช่วยประหยัดการใช้ความถี่เพื่อการถนอมเครื่อง


Repeater ไว้สาหรับการใช้งานในยามฉุ กเฉิน อย่าให้เป็ นเหมือนบางจังหวัดที่พอเกิดสถานะการณ์
ฉุกเฉินจริง ๆ กลับใช้งาน Repeater ไม่ได้ครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 45


Two Meters หรือ ทูมิเตอร์

หลายๆท่านมักจะเรียกเครื่องวิทยุวา่ ทูมเิ ตอร์ แต่จริงๆ แล้ว มันไม่ใช่ช่อื เรียกของวิทยุแต่อย่าง


ใด คาว่า ทูมเิ ตอร์ มาจาก การคานวณหาความยาวคลื่น ของ ความถี่ท่เี ราใช้งานเพื่อนาผลที่ได้รบั ไป
คานวณหาสิง่ อื่นๆ เช่น การตัดสายนาสัญญาณ , การทาสายอากาศ , ฯลฯ.

ทูมเิ ตอร์ มาจาก ความเร็วของแสง / ความถี่ ชึง่ ความถี่ของ ความยาวคลื่น 2 เมตร หรือ ทู
มิเตอร์นนั ้ . คือ ความถี่ 145.000 MHz. ดังนัน้ เมื่อเข้าสูตรคานวณ จะได้ . 300 (ล้านเมตร/วินาที) หาร
ด้วยความถี่ 145 MHz (MHz = ล้าน Hz) ก็จะได้เท่ากับ 300/145 = 2.06 เมตร. ซึ่งคือที่มาของคาว่า ทู
มิ เ ตอร์ หาก เราน าค าว่ า ทู มิ เ ตอร์ ไปใช้ เ รี ย กแทนเครื่ อ งวิ ท ยุ . ยกตั ว อย่ า งเครื่ อ งแดง
ความถี่. 245.000 MHz. นัน้ ความยาวคลื่นที่ได้จะเปลียนไป คือ 300000 / 245000 =. 1.22xxxxxx.
Meters.

ค่าทีไ่ ด้น้เี ราเรียกว่าค่าความยาวคลื่น . คือ 1 wave. หรือ. 1 แลมด้า ที่เรารู้จกั กัน ค่าที่ๆได้นนั ้
จะนามาใช้ในการประดิษฐ์อุปกรณ์ต่างๆ. เช่น สายอากาศ

อย่างเช่น หากจะทาสายอากาศควอเตอร์เวป ซึ่งก็คอื สายอากาศทีม่ ี 1/4 ความยาวคลื่น ก็นาเอา


ความยาวคลื่นทีไ่ ด้. คือ 2.06 /. 4 =. 0.50 เมตร (ค่าประมาณ).

จากนัน้ ก็นามาคูณด้วย ค่า velocity factor. ของ อุปกรณ์ท่จี ะนามาทาสายอากาศ ก็จะได้ขนาดของ


สายอากาศนัน้ ๆ หรือ การตัดสายนาสัณณาณเช่นเดียวกัน . ก็นาความยาวคลื่นที่คานวณได้น้ีมาใช้
เช่นเดียวกัน. เช่น ต้องการตัดสายนาสัญญาณ สาหรับใช้งานความถี่. 145.000MHz. ก็ เอา 2.06 x VR
ของ สายนาสัญญาณ เช่น RG. 58. หรือ RG 8มีค่า VR ที่ 0.66 ก็จะได้ 1 ความยาวคลื่นประมาณ 2.06
x 0.66 =. 1.36. เมตร ดังนัน้ จะใช้ความยาวสายนาสัญญาณเท่าไร ก็ตดั ให้ได้ใกล้เคียงความยาวคลื่น
เช่นจะตัดประมาณ 10 เมตร ก็ จะต้องให้ได้ประมาณ 8 ความยาวคลื่น คือ 1.36 x. 8 = 10.92. เมตร

ทีน้กี ต็ ้องมาทราบกันต่ออีกว่า . ทาไมต้องมีการคานวณ. เนื่องมาจาก เครื่องวิทยุนนั ้ มีค่าอิมพิ


แดนซ์ อยู่ ท่ีป ระมาณ 50 โอห์ ม สายอากาศและสายน าสัญ ญาณ ก็ต้อ งให้ ใ กล้ เ คีย งกัน ด้ ว ย .
ดังนัน้ การทีจ่ ะทาให้สายอากาศและสายนาสัญญาณใกล้เคียงก็ตอ้ งใช้สูตรการคานวณนี้ โดยการทีท่ า่ นใช้
SWR. เป็นตัววัด. ซึ่งค่าทีอ่ อกมาก็จะยู่ประมาณ 1.1- 1.5: 1

อันนี้คอื วิธกี ารอ่านค่านะครับ . ไม่ใช่อ่านว่า 1 : 1.1-1.5 นะครับ เพราะเราจะต้องเอาค่าที่ได้อยู่


หน้า. ค่ามาตรฐานครับ. หากไม่ทาดังนี้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 46


สิง่ ทีต่ ามมาหากสายอากาศหรือสายนาสัญญาณ มีค่าทีส่ ูง หรือทีเ่ ราเรียกว่า mismatch แล้วนัน้
จะส่งผลถึงการเกิดปญั หาของเครื่องวิทยุส่อื สาร.

ดังนัน้ หากท่านอยากทาสายอากาศอะไรใช้ก็เริม่ จากตรงนี้ได้เลย ทาแบบง่ายๆก่อนแล้วค่อย


ขยับมาทาแบบยากๆ. ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดนี้คอื หลักการคร่าวๆ ครับ ไม่ว่าสายอากาศพิสดารแค่ไหนอยู่
บนพืน้ ฐานของหลักการนี้ทงั ้ สิน้ ครับ

ที่มาของคาว่า " ยากิ "

สายอากาศแบบยากิ-อูดะ (Yagi-Uda) หรือสายอากาศก้างปลา ออกแบบโดย ศจ. ฮิเดจุกุ ยากิ


และ ศจ. ชินทาโร อูดะ แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพีเรียล จึงตัง้ ชือ่ สายอากาศแบบนี้เพื่อเป็นเกียรติแก่
ท่านทัง้ สอง แต่ปจั จุบนั จะเรียกติดปากกันสัน้ ๆ เหลือเพียงแค่ " สายอากาศยากิ "

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 47


ฝึ กรหัสมอร์ส Style Tony

รหัสมอร์สนัน้ หากเปรียบได้กค็ อื ภาษา ๆ หนึ่ง เช่นภาษาอังกฤษ , ฝรังเศส


่ , จีน ฯลฯ ดังนัน้
วิธกี ารฝึกแบบการพูด หรือ Conversation นัน้ วิธกี ารฝึกจะไม่ใช้การจารูป ยกตัวอย่างเช่น การฝึก
ภาษาอังกฤษทีถ่ กู ต้องสาหรับการพูดคือ หาภาพประกอบการสอน กับ ภาษาอังกฤษ อาทิเช่น หากจะ
สอนคาว่า DOG ทีแ่ ปลว่าสุนขั ก็ตอ้ งหาภาพสุนขั มาประกอบ และเพือ่ ให้ผเู้ รียนได้ทราบว่าสิง่ นี้คอื อะไร

แต่ปจั จุบนั การสอนภาษาอังกฤษในบ้านเราใช้การสอนแบบ ไทย เป็น อังกฤษ ดังนัน้ สมองของ


เราจาต้องมีการแปลภาษาทัง้ ก่อนและหลัง คือ ภาษาอังกฤษ เป็น ภาษาไทย ในการรับ และ การตอบ ก็
เป็น ภาษาไทย เป็น ภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นการฝึกทีผ่ ดิ ทีถ่ ูกต้องคือ จะต้องเป็น ภาษาอังกฤษ ในการรับ
และ ภาษาอังกฤษในการตอบ เช่นเดียวกับการฝึกรหัสมอร์ส ก็เช่นเดียวกัน ผูฝ้ ึกไม่ควรทีจ่ ะใช้การจา
ภาพของรหัสมอร์ส เช่น E คือ หนึ่งจุด I คือ 2 จุด อะไรประมาณนี้

เพราะหากท่านฝึกแบบดังกล่าวแล้ว สมองของผูฝ้ ึกจะจาภาพแบบการเรียนภาษาอังกฤษ คือ


ฟงั เสียงรหัสมอร์ส - แปลภาพออกมาเป็นตัวอักษร - นึกคาตอบภาษาไทย - แปลเป็นภาษาอังกฤษ (ใน
กรณีการติดต่อสือ่ สาร) ฟงั เสียงรหัสมอร์ส - แปลภาพออกมาเป็นตัวอักษร - เขียนบนกระดาษ (ในกรณี
การสอบ)

ซึ่งหากท่านฝึกในลักษณะดังกล่าวแล้ว การรับฟงั ของท่านจะมีปญั หาทันที เพราะต้องประมวล


เสียงและแปลออกมาเป็นภาพ จะทาให้ขนั ้ ตอนในการรับมีเพิม่ ขึน้ มาอีก 1 Step ซึ่งจะส่งผลในการรับฟงั
ตัวอักษรถัดไป เมื่อตัวอักษรตัวแรกยังต้องแปลอยู่ ตัวอักษรตัวที่ 2 ก็ต่อเนื่องเข้ามาแล้ว ปญั ญหาเหล่านี้
มักจะเกิดขึน้ เสมอ ๆ ในการสอบในหลาย ๆ ครัง้ ทีผ่ า่ นมา ผูผ้ า่ นการสอบภาคทฤษฎี แต่ไม่สามารถผ่าน
ภาคปฏิบตั ไิ ด้ แม้นแต่มาซ่อมแล้ว ก็ยงั ไม่สามารถผ่าน เพราะได้รบั การฝึกทีผ่ ดิ ๆ มาโดยตลอด

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 48


ดังนัน้ วิธกี ารฝึกอย่างลัดแบบง่าย ๆ ภายใน 2 อาทิตย์ เพือ่ เตรียมตัวสอบ และการปรับ Speed
เพื่อไปเล่นความเร็วทีส่ ูงขึน้ สิง่ ทีค่ วรจะทาควรจะทาดังนี้

1. หาโปรแกรมเสียงรหัสมอร์สทีม่ ตี วั อักษรครบทัง้ 26 ตัวอักษร ไว้ 1 ชุด แบบ Random และ


ตัวเลข 1 ชุด แบบ Random
2. เปิดฟงั ประมาณ 2-3 วัน โดยอาจจะเปลีย่ นจากการฟงั เพลงมาฟงั รหัสมอร์สแทน โดยไม่ตอ้ ง
ไปอ่านอักษรภาพอะไรทัง้ สิน้ แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งการคือ ให้แยกให้ออกว่าใน 1 ตัวอักษรนัน้ คาแรกเตอร์เป็น
อย่างไร และ เสียงไหนคือ เสียงสัน้ และ เสียงไหนคือเสียงยาว
3. หลังจาก วันที่ 3 ผ่านไป ให้ทดสอบตัวเองอีกครัง้ ว่า ตนเองแยกเสียงรหัสมอร์สออกแล้วหรือ
ยัง เพราะบางท่านไม่สามารถแยกเสียงออกได้เลย ระหว่างเสียงสัน้ กับ เสียงยาว
4. หากทาได้ดงั นั้นแล้
้ ว ให้บนั ทึกอักษรในกลุ่มแรก ทีเ่ ป็นตัวอักษร E ไว้ 1 ชุด I 1 ชุด S 1 ชุด
และ H 1 ชุด ตามลาดับ และ T , M และ O เปิ ดฟงั แต่ละครัง้ จนสามารถจาได้วา่ หากตัวอักษรนี้ คือ
เสียงนี้ ตัวอักษรนี้ คือ เสียงนี้ ทาอย่างนี้สกั 2 วัน จากนัน้ ให้นาตัวอักษรเหล่านัน้ มาผสมกันและ อัดเป็น
Random เปิดฟงั โดยทุกครัง้ ในการฟงั ให้ตอบออกมาเป็นคาพูดว่าตัวอักษรเหล่านัน้ คือตัวอะไร ไม่ตอ้ ง
ใช้วธิ กี ารจด ฝีกอย่างนี้อกี สัก 2 - 3 วัน
5. เมื่อได้แล้ว ให้ฝึกกลุม่ คาใหม่ คือ A , W , J , N , G , D , B , U , V , K , R ทาเช่นเดียวกัน
สัก 2 วัน
6. จากนัน้ ให้อดั ใหม่ โดยรวมกลุ่มคาเข้าด้วยกัน คือ E , I , S , H , T , M , O , A , W , J , N ,
G , D , B , U , V , K , R และทาเป็น Random โดยทุกครัง้ ในการฟงั ให้ตอบออกมาเป็นคาพูดว่า
ตัวอักษรเหล่านัน้ คือตัวอะไร ไม่ตอ้ งใช้วธิ กี ารจด
7. หากในกลุ่มคาแรกยังไม่สามารถทีจ่ ะจาได้วา่ เป็นตัวอักษรอะไรเมือ่ สัญญาณรหัสมอร์สปล่อย
ออกมา ให้เริม่ ฝึกตัง้ แต่ขอ้ 4 ใหม่อกี ครัง้
8. หากมันใจแล้
่ วว่า ใน 2 กลุ่มคา ไม่วา่ จะเป็น Random ของทัง้ 2 กลุ่มคา เมื่อเสียงรหัสมอร์
สปล่อยออกมา เราสามารถทีจ่ ะบอกได้เลยว่าคือเสียงอะไรแล้วให้เริม่ กลุ่มคาที่ 3
9. กลุ่มคาที่ 3 ให้อดั เสียงตัวอักษร C , F , L , P , Q , X , Y , Z อัดอย่างละตัว แต่ให้ปล่อย
เสียงหลาย ๆ ครัง้ เปิดฟงั แต่ละครัง้ จนสามารถ จาได้วา่ หากตัวอักษรนี้ คือ เสียงนี้ ตัวอักษรนี้ คือ เสียง
นี้ ทาอย่างนี้สกั 2 วัน จากนัน้ ให้นาตัวอักษรเหล่านัน้ มาผสมกันและ อัดเป็น Random เปิดฟงั โดยทุก
ครัง้ ในการฟงั ให้ตอบออกมาเป็นคาพูดว่าตัวอักษรเหล่านัน้ คือตัวอะไร ไม่ตอ้ งใช้วธิ กี ารจด ฝีกอย่างนี้
อีกสัก 2 - 3 วัน
10.จากนัน้ ให้บนั ทึกใหม่ โดยรวมกลุม่ คาทัง้ หมดเข้าด้วยกัน และทาเป็น Random โดยทุกครัง้
ในการฟงั ให้ตอบออกมาเป็นคาพูดว่าตัวอักษรเหล่านัน้ คือตัวอะไร ไม่ตอ้ งใช้วธิ กี ารจด ฝึกอย่างนี้อกี สัก
3-5 วัน

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 49


11. หลังจากนัน้ ให้ทดสอบว่าเมื่อรวมตัวอักษรทัง้ หมด เราสามารถทีจ่ ะตอบได้อย่างทันท่วงที
หรือไม่ หากไม่ให้ดูวา่ ในกลุม่ อักษรไหนทีเ่ รายังไม่คล่องให้กลับไปหัดในกลุม่ อักษรเหล่านัน้ อีกเพิม่ ขึน้
12. หากสามารถรับได้คล่องและสามารถท่องเป็นตัวอักษรออกมาได้แล้ว ให้ฝึกเป็นกลุม่ คา หรือ
หาคาทีม่ คี วามหมาย นามาอัดใหม่และเปิดฟงั แต่คราวนี้ไม่ตอ้ งท่องออกมาเป็นตัวอักษร ให้ฟงั จนจบใน
กลุ่มคานัน้ ๆ และบอกออกมาหลังจากจบกลุ่มคาว่ามีตวั อักษรอะไรบ้าง เช่น S C H O O L เมื่อรับฟงั
ได้ครบให้บอกออกมาเลยว่า SCHOOL
13. จากนัน้ ก็เริม่ ฝึกตัวเลข โดยดาเนินการแบบเดียวกันตามข้อ 4.
14. เมื่อใดทีท่ า่ นฝึกได้จนถึงข้อ 12. และในการรับของท่านไม่มขี อ้ บกพร่องแล้ว ให้ฝึกอย่างนี้
ออกไปอีกสัก 1 เดือน จนเกิดความชานาญ จากนัน้ ค่อยเพิม่ Speed ในการรับ
15. การเพิม่ Speed ในการรับนัน้ อย่างน้อยในการฝึกการเพิม่ Speed จะต้องฝึกใน Speed นัน้
ๆ อย่างน้อย 1 เดือนขึน้ ไป
16. Speed แรกในการฝึกอยากให้ฝึกอยู่ท่ี 5 คาต่อนาที จะดีทส่ี ุดเพราะเป็น Speed ทีไ่ ม่เร็ว
จนเกินไปนัก และ ไม่ชา้ จนเกินไปนัก
17. เน้นเรื่องสุดท้ายคือ ไม่จาเป็นต้องฝึกส่งควบคู่กนั ไปนะครับ ให้ฝึกแต่เฉพาะรับอย่างเดียว
เท่านัน้ เมื่อท่านรับได้กจ็ ะสามารถส่งได้

ปล. ในการติดต่อสือ่ สาร หากท่านสามารถส่งได้เร็ว แต่เมื่อคูส่ ถานีสง่ กลับมาตามความเร็วที่


ท่านส่ง แล้วท่านรับไม่ได้นนั ้ จะเป็นการเสียมารยาทมากในการติดต่อสื่อสาร

ขอให้ประสบความสาเร็จกับการฝึก และเป็น A1 Operator ทีด่ ไี ด้ในอนาคตครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 50


เทคนิ คการใช้ Paddle Key สาหรับ การเล่นรหัสมอร์ส

วันนี้จะขอพูดถึง การใช้ Paddle Key กับ เพื่อน ๆ ทีจ่ ะใช้ Paddle Key สาหรับการเคาะเพื่อ
รับส่งรหัสมอร์ส กันสักหน่อย

ในการใช้ Paddle Key นัน้ คาว่า Paddle Key หมายความว่า คียใ์ บพาย นันเอง

การใช้งาน Paddle Key นัน้ อยู่ทผ่ี ใู้ ช้งาน ซึ่งจะมีดา้ นขวา และ ด้านซ้ายของใบพาย ซึ่งจะ
กาเนิดเสียงโดยผ่าน Morse Keyer โดยการใช้งานของคนถนัดขวา จะให้ใบพายด้านซ้าย เป็นเสียง ดิท
และ ให้ใบพายด้านขวา เป็นเสียง ดาท์ และคนทีถ่ นัดซ้าย จะให้ใบพายด้านซ้าย เป็นเสียง ดาท์ และให้
ใบพายด้านขวา เป็นเสียงดิท

แต่ทงั ้ นี้กอ็ ยู่ทผ่ี หู้ ดั ว่าจะต้องการทีจ่ ะ reverse ใบพายหรือไม่ ซึ่งสุดแต่ความสะดวกของผูใ้ ช้งาน

เมื่อเป็นคียใ์ บพาย ดังนัน้ วิธใี ช้งาน เราจะใช้งานโดยการบีบ ใบพายสองใบเข้าหากัน เพื่อให้


กาเนิดเสียงเป็นเสียงตัวอักษรของรหัสมอร์ส

ในทีน่ ้จี ะพูดในกรณีทค่ี นถนัดขวา


ดังเช่น
ตัว K วิธกี ารใช้คยี ใ์ บพาย คือ การบีบจาก ใบพายขวา และ บีบ ใบพายซ้าย และปล่อย ทัง้ สอง
ใบพาย
ตัว C วิธกี ารใช้คยี ใ์ บพาย คือ การบีบจาก ใบพายขวา และบีบ ใบพายซ้ายตาม และปล่อยใบ
พายขวา ก่อนใบพายซ้าย

ลองนาไปฝีกดูนะครับ ผูเ้ ริม่ ฝึกใหม่ ๆ ควรทีจ่ ะเริม่ ฝึกอย่างถูกวิธคี รับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 51


การถามความถี่ว่างหรือไม่ใน MODE CW

QRL? DE CALLSIGN K

มารยาทในการใช้ความถี่ จะต้องถามก่อนว่ามีใครใช้ความถีอ่ ยู่หรือไม่ ทัง้ ใน MODE PHONE และ CW


ในทีน่ ้เี ป็นการถามในโหมด CW โดยการเคาะ

QRL? DE E21IZC K

ความหมายคือ มีใครใช้ความถีอ่ ยู่หรือไม่ จาก E21IZC

การย่อตัวเลขด้วยตัวอักษรในรหัสมอร์ส

โดยทัวไป
่ การรายงานสัญญาณ RST ในการส่งรหัสมอร์l มักจะใช้รูปแบบย่อในตัวเลข เช่นรับ
สัญญาณได้ 599 เราจะ แทนด้วย 5NN (N แทนเลข 9 ) เป็นการประหยัดเวลาในการส่ง

การย่อตัวเลขด้วยตัวอักษรในรหัสมอร์ส
1 = A, 2 = U, 3 = V, 4 = 4, 5 = E, 6 = 6, 7 = B, 8 = D, 9 = N, 0 = T

เพื่อน ๆ จะได้พบเจอในการแข่งขัน ทีส่ งิ่ แลกเปลีย่ นเป็น Running Number เช่น CQ WW


WPX CW Contest. เป็นต้น

การเคาะแบบเล่นคาใน Mode CW (Roger / R)

มือ CW มือใหม่ ๆ เวลาออกอากาศจริงๆ ในย่าน HF อาจจะได้ยนิ คู่สนทนาเคาะตอบมา แล้ว


ฟงั ออกเป็นเสียง ตัว E N สัก 2-3 ครัง้ จะออกอาการงง ๆ ว่า มันคือคาย่ออะไร

จริงๆ แล้วคู่สนทนาตัง้ ใจเคาะตัวอักษร R ซึ่ง หมายความว่า Roger แต่เป็นการเล่นคาของ


A1 OP. เขา เสียงทีฟ่ งั ออกมาสาหรับมือใหม่ๆ จะได้ยนิ เป็น E N ครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 52


SOUNDCARD INTERFACE FOR DIGITAL MODE

Introduction :

Soundcard Interface หรือ Audio Interface คือ อุปกรณ์ทใ่ี ช้สาหรับการเชือ่ มต่อการ์ดเสียงของ


คอมพิวเตอร์เพื่อสาหรับการรับและส่ง สัญญาณเสียงโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการส่งและรับ
สาหรับ Digital Mode เช่น SSTV , RTTY , PSK31 , JT9 , JT65 และ echolinks

Soundcard Interface หรือ Audio Interface ไม่ได้ทาหน้าที่ เป็ น Data Controllers หรือ เป็ น
TNC หรือใช้ในการประมวลผลสัญญาณ (Signal Processors)

Soundcard Interface หรือ Audio Interface ทาหน้าที่ ดังนี้


- Couple สัญญาณเสียงจากภาครับวิทยุ (Radio receiver) ไปที่ ภาครับสัญญาณเสียงของ
คอมพิวเตอร์ (Computer sound input)
- Couple สัญญาณเสียงคอมพิวเตอร์ (Computer-generated audio) จาก Soundcard output
ไปทีภ่ าคส่งของภาคส่งวิทยุ (Radio transmitter)

ปจั จุบนั มีนักวิทยุสมัครเล่นขัน้ ต้น สอบผ่านเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขัน้


กลางกันขึน้ มามาก อีกทัง้ บางส่วนมาจากการเทียบประกาศนียบัตรนักวิทยุสมัครเล่น แห่งสหรัฐอเมริกา
ซึ่ง Digital Mode ก็เป็ นทางเลือกอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถที่จะใช้งานได้ แต่อาจจะติดด้วยเรื่องของ
อุปกรณ์จะทาอย่างไรดี ซึ่งต่างก็มีหลากหลายวงจรมากในการที่จะสร้าง Soundcard Interface หรือ
Audio Interface ตัวนี้

ซึ่งในทีน่ ้ผี มได้นาวงจรของต่างประเทศแบบง่าย ๆ มาดัดแปลงและใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่หาได้ใน


บ้านเรา โดยPCB ทีใ่ ช้ ใช้เป็นแผ่นปรินท์อเนกประสงค์ เพื่อให้ง่ายต่อการสร้างวงจรนี้ โดยการประกอบ
วงจร ก็สามารถดูตาม Layout บนแผ่นปรินท์แบบอเนกประสงค์ทผ่ี มได้ออกแบบไว้ได้เลย ซึ่งไม่ยากนัก
สาหรับนักวิทยุสมัครเล่น มือใหม่ทเ่ี พิง่ เริม่ หัดการบัดกรี ก็สามารถทีจ่ ะสร้าง Homebrew Ham Toy Kit
เองได้

ในการสร้างวงจรทีจ่ ะกล่าวต่อไปนี้ ผูใ้ ช้งานจะต้องจัดทาปลักที


๊ ่ต่อเข้าเครื่องเอง โดยดูจากการ
PIN MIC ของ แต่ละเครื่องวิทยุนนั ้ ๆ ก็จะสามารถใช้งานได้ ในวิทยุทุกรุ่น

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 53


Soundcard Interface Part list :

Item Code Description Quantity


1 T1 , T2 Ferrite Core Isolation Transformer 600:600 Ohm. 2
Resister 47 K Ohm. +/- 5% (Yellow , Violet ,
2 R1 1
Organge)
3 R2 Resister 1 K Ohm. +/- 5% (Brown , Black , Red) 1
4 R3 Resister 1.2 K Ohm. +/- 5% (Brown , Red , Red) 1
5 D1 Diode 1N4148 1
6 C1 Electrolytic Capacitor 3.3 uF 50V. 1
7 VR VR A1K 1
4N25-LITEON PHOTOTRANSISTOR OUTPUT
8 IC1 1
VCE=30V,IC=150MA
9 D2 LED 1
10 Connecter DB9 (Female) 1
11 Cover Cover Connecter DB9 1
12 P1 , P2 , P3 Plug Mono 3.5 mm. (Male) 3
13 Knob VR A1K 1
14 Multipurpose PCB 1

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 54


เริ่ มการประกอบ :

1. เริม่ จากการลงอุปกรณ์บนแผ่นปรินท์อเนกประสงค์ ตาม Layout โดยเริม่ จาก Part I คือ T1


2. จากนัน้ จะเป็น Part II คือ VR A1K , R1 , T2 , C1
3. ต่อด้วย Part III คือ D1 , D2 , R2 , R3 , IC1
4. จากนัน้ จึงมาต่ออุปกรณ์ในชุด Connecter ซึ่งประกอบด้วย P1 , P2 , P3 , DB9
5. จากนัน้ จึงมาประกอบ สายต่อเข้าเครื่องวิทยุ (ตามแต่การใช้งานในแต่ละรุ่น)

ข้อควรระวังในการประกอบวงจร :

1. ขัว้ +/- ของ D1


2. ขัว้ +/- ของ D2 กรณีประกอบผิด Standby ไฟจะติด เวลาส่งไฟจะดับ ทีถ่ ูกต้องคือ Standby
ไฟจะดับ เวลาส่งไฟจะติด
3. ขาการทางานของ VR A1K กรณีประกอบผิด การหมุนจะกลับทิศทางกัน

วิ ธีการใช้งาน :

1. ต่ออุปกรณ์ทงั ้ หมดเข้าทีเ่ ครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องวิทยุ


2. โปรแกรมการใช้งานมีหลายโปรแกรม อาทิเช่น JT65-HF , MMTTY , Airlink Express ,
WSJT-X หรือ โปรแกรมอื่น ๆ ที่แต่ ละท่านสะดวกในการใช้งาน โดยก่อ นการใช้อย่าลืม Config
Comport ให้ตรงกับ Comport ทีเ่ ราใช้งาน

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 55


Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 56
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 57
OIKey-F88 Morse Keyer

ที่มา :-

OIKey-F88 เป็น Morse Machine และ Simulator ในตัวมันเอง พัฒนาโดยนักวิทยุสมัครเล่น


ชาวญี่ปนุ่ MR.Hidaka สัญญาณเรียกขาน JA1HHF ถูกตีพมิ พ์ในหนังสือ CQ HAM RADIO เดือน
มิถุนายน ปี 2008 เป็น Keyer ทีป่ รับ speed ช้า-เร็วแบบ VR volume หมุน เพื่อสะดวกในการใช้งาน
จริง สามารถส่งแบบ repeat รวมทัง้ มี 4 channel message memory บันทึกตัวอักษร & ตัวเลข ไว้เรียก
CQ ใช้แข่งขัน contest หรือข้อความทีใ่ ช้บ่อยๆ ได้ 4 ช่อง memory ข้อมูลไม่ถูกลบแม้ไม่มไี ฟเลีย้ ง,
สามารถบันทึก-ลบข้อมูลได้ลา้ นครัง้ และสามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ 40 ปี

นอกเหนือจากการใช้งานเป็น Keyer ตามปกติทวไปยั ั ่ งสามารถ random สัญญานเรียกขานนัก


วิทยุสมัครเล่นทั ่วโลกสาหรับการฝึกรับฟงั ได้ดว้ ยซึ่งการใช้งานนัน้ ผูใ้ ช้สามารถทีจ่ ะใช้เป็นตัวสร้าง
สัญญาณรหัสมอร์สแบบปกติ , แบบการอัดไว้ลว่ งหน้า และสาหรับการฝึกรับ โดย OIKey-F88 นี้จะ
Random สัญญาณเรียกขานต่าง ๆ จากทุกมุมโลกออกมาให้ท่านได้ฝึกรับ เสมือนท่านอยู่ในบรรยากาศ
ใกล้เคียงการติดต่อจริง

Modified by HSTEAM :-

หลังจากนาต้นฉบับมาประกอบใช้งาน ทาง HSTEAM ได้ทาการปรับแต่งบางอย่างจากเดิม เพื่อ


เพิม่ ความดังของลาโพง Buzzer ให้ดงั ขึน้ และสามารถปรับ Speed ได้มากขึน้ กว่าเดิม และปรับแต่งปุม่
การใช้งานต่าง ๆ ให้ง่ายต่อการใช้งานจริง และอุปกรณ์ทม่ี จี าหน่ายภายในประเทศ ดังต่อไปนี้
1. บ้านเรา ไม่มี XTAL แบบ 3 ขา แนะนาให้ใช้ XTAL แบบธรรมดา ทีม่ ขี ายในบ้านเราได้ แต่ท่ี
มีขายในบ้านเราเป็นแบบ 2 ขา ต้องใช้ C เซรามิค 30pf 16V ขึน้ ไป มาต่อ คล่อมทีข่ า 1 กับ ขา 2 และ
ขา 2 กับ ขา 3 (ใช้ 2 ตัว) (เครดิตอาจารย์ต๊อบ / HS0NNU)
2. Voltage Regulator TA48M05F บ้านเราก็ไม่มเี ช่นกัน ให้ใช้ LM2940CT-5.0 แทน มีขายที่
electronics Source (เครดิตอาจารย์ตอ๊ บ / HS0NNU)
3. Buzzer ให้ใช้เบอร์ OBO-1206C-A2 ที่ electronics source เช่นเดียวกัน (เครดิต
อาจารย์ตอ๊ บ / HS0NNU)
4. Variable resistor ให้ใช้ B5K แทนได้ และจะได้ speed มากกว่า
5. อุปกรณ์อ่นื ๆ หาได้ตามบ้านหม้อทัวไป
่ (ดู Part List ในตารางด้านท้าย)
6. ปุม่ สวิทย์ แนะนาให้ใช้สวิทย์นอกจะดีกว่า เพราะกดสะดวก ใช้เป็นแบบ 2 ขา ดูบนแผ่น
ปรินท์ จะ Jump แค่ 2 ขาเท่านัน้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 58


7. Jack Radio and Jack Paddle เช่นเดียวกัน ต่อลอยจะสวยกว่า ดูจากหลังปรินท์ จะเป็นจุด
ทีใ่ ช้ ซึ่ง Jack Radio ใช้ 2 เส้น ส่วน Jack Paddle ใช้ 3 เส้น
8. แนะนาให้ต่ออุปกรณ์ลอยจะดีกว่า เพราะทาให้ลงกล่องง่ายขึน้ วิธกี ารเจาะกล่อง ให้ทาแผ่น
Plate ขึน้ มาก่อน โดยอาจจะวาดจากในคอม แล้วปรินท์ดว้ ยกระดาษสติกเกอร์ จากนัน้ ให้เอาสติกเกอร์
ใส หุม้ ทับอีกทีจะดูสวยงามมาก
9. การเจาะกล่องหากเป็นกล่องอลูมเิ นียม (กล่อง YM-130 หรือ YM-150 จากญี่ปนุ่ ) แนะนาให้
ใช้อุปกรณ์ทเ่ี ป็นแบบกลมจะดีกว่า เพราะเจาะง่าย หากเป็นสีเ่ หลีย่ ม จะทาให้การเจาะยาก และจะไม่
ค่อยสวย

คาแนะนาในการประกอบ :-

ต่อ C Ceramic 30pf 16V ต่อ คล่อมทีข่ า 1


กับ ขา 2 และ ขา 2 กับ ขา 3 (ใช้ 2 ตัว)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 59


KF1I-OIKey-F88 / PART LIST

No. Product Name Quantity Type and Constants


1. U1 Voltage Regulator (TA48M05F 5V 500mA) 1 LM2940CT-5.0 (ES)
2. U2 Microcontroller 1 Microchip PIC16F88-I/P (ES)
3. IC Pin DIP Socket 1 18 -Pin (ISS18T1-03) (ES)
4. TR1 , TR2 Transistor 2 2SC1815GR (ES)
5. LED LED Light-emitting diode 1 5mm (209300415012-NPE)
6. J1 2.1 mm DC Jack (MJ-179P) 1
7. J2 , J3 3.5 mm stereo pin jack (MJ-352W-C) 2 (263370604001-NPE)
single-pole double-throw ON-
8. SW0 Toggle switch 1
OFF(240370300001-NPE)
single-pole double-throw ON-
9. SW5 Toggle switch 1
OFF-ON (180371700011-NPE)
10. SW1,2,3,4 Tact switch (type 4 pin) (TVDP01-100-6mm) 4
15mm B-type knob with 5K Ohm
11. VR1 Variable resistor 1
(241260101018-NPE)
1 KΩ (1/4) (068352144100-
12. R1 Fixed resistor (Brown-Black-Red) 1
NPE)
4.7 KΩ (1/4) (068352144470-
13. R2 , R6 Fixed resistor (Yellow-Violet-Red) 2
NPE)
47 KΩ (1/4) (068352145470-
14. R3 , R4 Fixed resistor (Yellow-Violet-Orange) 2
NPE)
10 KΩ (1/4) (068352145100-
15. R5 Fixed resistor (Brown-Black-Orange) 1
NPE)
5.6 KΩ (1/4) (068352144560-
16. R7 Fixed resistor (Green-Blue-Red) 1
NPE)
1.2 KΩ (1/4) (068352144120-
17. R8 Fixed resistor (Brown-Red-Red) 1
NPE)
0.1μF (104) 25V
18. C1 , C3 , C5 Ceramic capacitor 3
(183291108410 - NPE)
33μF 16V
19. C2 Electrolytic capacitor 1 (EGS336M1ED11RRSHP-ES)
(237293003633-NPE)
0.01μF (103) 25V
20. C4 , C6 , C7 Ceramic capacitor 3
(183291108310 - NPE)
30pf 16V (T300KSLE052B-T
21. C8 , C9 Ceramic capacitor 2
(ES))

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 60


No. Product Name Quantity Type and Constants
22. OSC XTAL (10 MHz. ceramic resonator) 1 10 MHz. (TXC 10.0R30F) (ES)
Buzzer (with buit-in oscillation circuit For
23. BZ 1 OBO-1206C-A2 (ES)
DC5V)
24. PCB PCB 1
25. Special Small wire (2 Meters) 1
26. Special Plastic Box 1
27. Special VR Volume Knob 1
28. P1 , P2 3.5 mm. Plug Mono (Male) 2
29. Special Cable Line (for P1&P2) 1
30. Special DC 9 V. Line 1
31. Special DC-IN Plug 1
32. Special Paper Sheet 1

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 61


Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 62
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 63
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 64
คู่มือการใช้งาน OIKEY-F88 / แปลโดย (พี่ป้อม E21AOY Also JE6HAM , KE2Y)
เรียบเรียงและพิ มพ์ โดย MR.Tony / E21IZC

วิ ธีการบันทึกข้อความ (Write message)

1. ตัวอย่างถ้าต้องการบันทึก CQ DE JE6HAM K ลงใน (memo-1) กด sw1 ค้างไว้ 3 วินาที


KEYER จะส่งสัญญานรหัสมอร์ส _ . . . _ จากนัน้ จึงเริม่ ดาเนินการเคาะ
1.1 เคาะ CQ หยุดรอ เครื่องจะส่งเสียง [ ปีป ]
1.2 เคาะ DE หยุดรอ จะส่งเสียง [ ปีป ]
1.3 เคาะ JE6HAM หยุดรอ จะส่งเสียง [ ปีป ]
1.4 สุดท้ายเคาะ K หยุดรอ จะส่งเสียง [ ปีป ]
กด SW1 สัน้ ๆเพือ่ จบการความบันทึกข้อความ
จากนัน้ KEYER จะส่งรหัสมอร์สยืนยัน CQ DE JE6HAM K OK ? กด SW1 สัน้ ๆ 1 ครัง้ เพือ่ ยืนยัน

2. ในกรณีถา้ ข้อความยาวเกินไป KEYER จะส่งรหัสมอร์ส " NO ROM " โดยความจุของ memory แต่
ละ CHANNEL คือ
- Channel 1, 2, 3 = 63 byte
- Channel 4 = 62 byte
- 1 byte = 4 dot 4 space หรือ 4 dash 4 space
- 1 space = 2 dot

3. ข้อความทีเ่ ขียนลงใน MEMORY จะถูกเก็บไว้ใน EEPROM ใน CHIP PIC16F88 ข้อมูลจะถูกเก็บไว้


ได้ถงึ 40 ปี แม้ไม่มไี ฟเลีย้ ง และสามารถเขียนทับได้เป็นล้านครัง้

4. การใช้งาน REPEATEDLY CALL (เรียกซ้า ๆ) เมือ่ ต้องการใช้งานในโหมดดังกล่าว ให้โยก SW5


ไปทีต่ าแหน่ง REPEAT กด MEMO (ปุม่ SW1,2,3,4) KEYER จะส่งข้อความซ้าไปเรื่อย ๆ จนกว่าเรา
จะกดทีค่ ยี เ์ พือ่ หยุด

5. การ Erasing the messages (ลบข้อความ) เมื่อต้องการลบข้อความให้กดปุม่ MEMORY CHANNEL


(ปุม่ SW1,2,3,4) ค้างไว้สกั พัก KEYER จะส่งรหัสมอร์ส _ . . . _ เมื่อจบสัญญาณแสดงว่าข้อความใน
MEMORY นัน้ ๆ ได้ถกู ลบไปแล้ว

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 65


6. KEY FUNCTION SETTINGS
6.1 Off monitor buzzer กด SW1 ค้างไว้แล้วเปิดเครื่อง (SW0) keyer จะส่ง " BZ OFF "
6.2 On monitor buzzer กด SW1 ค้างไว้แล้วเปิดเครื่อง (SW0) keyer จะส่ง " BZ ON "
6.3 Off input paddle storage กด SW2 ค้างไว้แล้วเปิดเครือ่ ง (SW0) keyer จะส่ง " PM OFF "
6.4 On input paddle storage กด SW2 ค้างไว้แล้วเปิดเครือ่ ง (SW0) keyer จะส่ง" PM ON "
6.5 Bug key mode on กด SW3 ค้างไว้แล้วเปิดเครื่อง (SW0) keyer จะส่ง " BUG ON "
6.6 Bug key mode off กด SW3 ค้างไว้แล้วเปิดเครื่อง (SW0) keyer จะส่งรหัสมอร์ส " BUG OFF "
6.7 Clear all setting (reset) กด SW4 ค้างไว้แล้วเปิ ดเครื่อง (SW0) keyer จะส่ง " RESET "
6.8 Random Callsign โยก SW5 ไปที่ R.Call เมื่อต้องการให้ Keyer สุ่มส่ง callsign รหัสมอร์สเพื่อฝึกรับ
สามารถ RANDOM ได้กว่า 10 ล้าน CALLSIGN

7. PADDLE MEMORY ON/OFF


7.1 PM OFF คือใช้ PADDLE ส่งได้อย่างเดียว ไม่สามารถใช้ PADDLE ในการบันทึก MEMORY ได้
7.2 PM ON ก็ใช้ PADDLE ส่งและใช้บนั ทึก INPUT MEMORY ได้

*************************************************

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 66


KF1I-PIX001 : QRP Transceiver CW 7.023 MHz. KIT

Introduction :

ปจั จุบนั มีนักวิทยุสมัครเล่นขัน้ ต้น สอบผ่านเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขัน้


กลางกันขึน้ มามาก อีกทัง้ บางส่วนมาจากการเทียบประกาศนียบัตรนักวิทยุสมัครเล่น แห่งสหรัฐอเมริกา
ซึ่งบางท่านอาจจะคิดว่าเครื่องวิทยุรบั -ส่ง ในย่าน HF มักจะมีราคาแพง บางท่านสอบได้แต่กไ็ ม่มโี อกาส
ได้ออกอากาศเพราะติดปญั หาเรื่องเครื่องวิทยุ

KF1I-PIX001 : QRP Transceiver CW 7.023 MHz. KIT จึงเป็ นทางเลือกอีกทางเลือกหนึ่งที่


เพื่อน ๆ นักวิทยุฯ ทีผ่ า่ นการสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นขัน้ กลาง จะสามารถที่
จะประกอบและใช้งานได้

ซึ่ง KF1I-PIX001 : QRP Transceiver CW 7.023 MHz. KIT มีขนาดเล็กกะทัดรัดเหมาะ


สาหรับนักวิทยุฯ มือใหม่ทส่ี นใจต้องการหัดประกอบเครื่องเอง เพื่อศึกษา และสามารถใช้งานได้จริง ไม่
ต้องมีค วามรู้ทางด้านอิเลคทรอนิกส์ ก็สามารถประกอบได้ ขอเพียงให้มีค วามสามารถในการบัดกรี
เท่านัน้

KF1I-PIX001 : QRP Transceiver CW 7.023 MHz. KIT เป็ นเครื่องรับ-ส่ง แบบ QRP โหมด
CW กาลังส่งประมาณ 1.2 Watts ที่ไฟ 12 Volts. ความถี่ 7.023 MHz. Mode CW อย่างเดียว (ไม่มี
กล่อง) โดยผมได้นาวงจรของต่างประเทศแบบง่าย ๆ มาดัดแปลงและใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่หาได้ในบ้าน
เรา และผมได้เขียนคาอธิบ ายวิธีการประกอบไว้อ ย่า งชัดเจน ซึ่ง ไม่ ยากเกินไปนักส าหรับนักวิท ยุ
สมัครเล่น มือใหม่ทเ่ี พิง่ เริม่ หัดการบัดกรี ก็สามารถทีจ่ ะสร้าง Homebrew Ham Toy Kit เองได้

ในการสร้างวงจรที่จะกล่าวต่อไปนี้ ผู้ใช้งานจะต้องจัดหากล่อง , สายอากาศ และแหล่งจ่าย


พลังงานเอง

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 67


KF1I-PIX001 Part list :

Item Code Description Quantity


1 R1 Resister 47K Ohm +/- 5% (Yellow-Violet-Orange) 1
Resister 33K Ohm +/- 5% (Orange-Orange-
2 R2 1
Orange)
3 R3 Resister 1K Ohm +/- 5% (Brown-Black-Red) 1
4 R4 Resister 470 Ohm +/- 5% (Yellow-Violet-Brown) 1
5 R5 Resister 10K Ohm +/- 5% (Brown-Black-Orange) 1
6 R6 Resister 100K Ohm +/- 5% (Brown-Black-Yellow) 1
7 R7 Resister 10 Ohm +/- 5% (Brown-Black-Black) 1
8 W1 Variable Resister 47K(503) (R เกือกม้า) 1
Color ring inductance 22uH (Red-Red-Black-Gold-
9 L1 1
Silver)
Color ring inductance 1uH (Brown-Black-Gold-
10 L2 1
Gold-Silver)
Color ring inductance 100uH (Brown-Black-Brown-
11 L3 1
Gold-Silver)
12 C1 Ceramic Capacitor (104) 1
13 C2,C4,C8,C11 Ceramic Capacitor (103) 4
14 C3,C7 Ceramic Capacitor (101) 2
15 C5,C6 Ceramic Capacitor (471) 2
16 C9,C10 Ceramic Capacitor (473) 2
17 CP1 Electrolytic Capacitor 100uF/16V. 1
18 CP2,CP3,CP4 Electrolytic Capacitor 10uF/16V. 3
19 D1,D2 Diode 1N4001 2
20 D3 Diode 1N4148 1
21 Q1 9018 1
22 Q2 8050 1
23 U1 IC LM386(8PIN) 1
24 Y1 XTAL 7.023 MHz. 1
25 J1 DC-IN 1

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 68


KF1I-PIX001 Part list :

Item Code Description Quantity


26 SOCKET IC Socket 1
27 J2 BNC 1
28 J3 3.5 MM Plug for KEY and Phone 2
29 PCB 1
30 Paper Sheet 1

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 69


เริ่ มการประกอบ :
1. เริม่ จากการลงอุปกรณ์เล็ก ๆ ประเภทอุปกรณ์ท่ไี ม่มขี วั ้ (ดูสตี ามรายละเอียดใน Part List)
ตามลาดับดังต่อไปนี้
1.1 IC Socket
1.2 R1 , R2 , R3 , R4 , R5 , R6 , R7
1.3 W1
1.4 L1 , L2 , L3
1.5 C1
1.6 C2 , C4 , C8 , C11
1.7 C3 , C7
1.8 C5 , C6
1.9 C9 , C10
2. จากนัน้ ลงอุปกรณ์ป ระเภทมีข วั ้ +/- คือ Electrolytic Capacitor , DIODE และ
TRANSISTER ดังต่อไปนี้
2.1 CP1 , CP2 , CP3 , CP4 (สังเกตทีอ่ ุปกรณ์จะมีขวั ้ (-)เขียนบอกไว้ ด้านที่ไม่เขียน
คือ ขัว้ (+)

2.2 D1 , D2 (1N4001) ซึ่ง DIODE จะเป็ นอุปกรณ์ท่มี ขี วั ้ (ดูขวั ้ ของ DIODE ตาม
ั่
ภาพประกอบว่าฝงไหนคื ั่
อ Anode (+) ฝงไหนคือ Cathode (-))

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 70


2.3 จากนัน้ ก็มาลงอุปกรณ์ประเภท TRANSISTOR คือ Q1 (9018) ซึ่งเป็น Transistor
แบบ NPN และ , Q2 (8050) ซึ่งเป็น Transistor แบบ PNP

3. จากนัน้ ลงอุปกรณ์ประเภท XTAL คือ Y1

4. จากนัน้ ลงอุปกรณ์ประเภท Connector ดังต่อไปนี้


4.1 J1 (DC-IN)
4.2 J2 (BNC)
4.3 J3 , J4 (3.5mm KEY และ PHONE)

5. จากนัน้ ค่อยนา U1 มาเสียบบน Socket เป็ นอันเสร็จสิ้นการประกอบ โดยจะเป็ นดังภาพนี้


(ภาพประกอบ)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 71


6. จากนัน้ ก็หากล่องมาประกอบใส่ให้เรียบร้อยก็จะได้เครื่องรับ -ส่งวิทยุท่เี ราประกอบขึน้ มาเอง
โดยอาจจะหากล่องขนมที่มีขายตามร้านสะดวกซื้อมาเป็ นกล่องของเจ้าตัวนี้ก็ได้นะครับ ก็สวยไปอีก
อย่างหนึ่ง และหาอุปกรณ์ง่าย

ภาพอุปกรณ์ ต่าง ๆ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 72


ข้อควรระวังในการประกอบวงจร :
1. ขัว้ +/- ของ CP1 , CP2 , CP3 , CP4
2. ขัว้ +/- ของ D1 , D2 , D3
3. ขาของ Q1 , Q2 (ให้ดูท่ี PCB จะบอกด้านของ Q1 , Q2 ให้ลงอุปกรณ์ตาม PCB)
4. ขาของ U1 (ดูท่ี PCB จะมีภาพบอกการใส่ ให้ใส่อุปกรณ์ตาม PCB)

วิ ธีการใช้งาน :
1. ต่อสาย DC-IN ระวังอย่าให้ไฟเกิน 12 Volts. แนะนาให้ใช้ 9V. Battery จะดีทส่ี ุด
2. ต่อลาโพงนอกทีช่ อ่ งลาโพงเพื่อใช้ฟงั หรือ เสียบหูฟงั
3. ช่อง KEY ถ้าใช้ Straight Key ต่อเข้าได้เลย แต่ถ้าต้องการใช้ Paddle Key จะต้องมี
MORSE Keyer (KF1I-OIKey-F88) อีกตัวหนึ่งถึงจะสามารถใช้งาน Paddle Key ได้ (ภาพประกอบ)
4. Variable Resister ใช้สาหรับจูนภาครับปรับให้รบั ได้สญ ั ญาณทีช่ ดั เจนทีส่ ุด
5. เพื่อนๆ สามารถทีจ่ ะปรับเพิม่ ไฟแสดงสถานะ และ SWITCH ON-OFF ให้กบั KF1I-PIX001
ได้อกี ด้วย โดยไฟแสดงสถานะเพียงเพิม่ หลอด LED และ R1K Ohm. นามาต่ออนุ กรมกัน โดยR1K ต่อ
อนุกรมทีข่ า + (Anode) ของ LED (ภาพประกอบ)

ภาพการต่อ Plug 3.5 mm. ที่ Paddle Key ภาพการต่อไฟแสดงสถานะ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 73


SCHEMATIC ของวงจร KF1I-PIX001

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 74


ปัญหาเรื่องการรบกวน และการแก้ไขปัญหา

มารู้จกั Channel Spacing กันดีกว่าครับ

Channel Spacing นัน้ แปลตามตัวก็หมายถึงช่องว่างระหว่างช่อง นันเอง


่ อดีตได้กาหนดช่วง
ว่างระหว่างช่องไว้ท่ี 25 KHz. สาหรับ VHF FM โดยมาตรฐานจะอยู่ท่ี 16 KHz. ในเครื่องวิทยุฯ
สมัยก่อน และจะเป็นแบบ WIDE BAND ดังนัน้ จะเห็นว่า การรบกวนกันนัน้ ไม่ค่อยมีเหมือนในปจั จุบนั
เพราะ Channel Spacing จะห่างกันมากในแต่ละช่องความถี่

ปจั จุบนั ได้มกี ารแก้ไขให้ Channel Spacing เหลือเพียง 12.5 KHz. ดังนัน้ จะเห็นได้ว่า มักจะ
เกิดปญั หาการรบกวนกันเนื่องจากหาก Channel Spacing ต่ ากว่ามาตรฐานแล้ว การรบกวนระหว่าง
สถานี ท่ใี กล้เคียงกันจะมีมากขึ้น ซึ่งในวิท ยุฯ รุ่นใหม่ ๆ จึง ได้พ ัฒนาจาก WIDE BAND มาเป็ น
NARROW BAND ซึ่งจะเห็นได้จากวิทยุฯ รุ่นใหม่ ๆ เช่น FT2800 เป็นต้นมา แต่กม็ กั จะไม่มใี ครค่อยใช้
กันสักเท่าไร เพื่อลดปญั หาการรบกวนดังกล่าว

การปรับเปลี่ยน Channel Spacing ในประเทศไทยนัน้ ผมมองว่าจริง ๆ แล้วเป็ นการแก้ไข


ปญั หาไม่ ถูก จุ ดอย่ างยิ่ง การแก้ป ญั หาดังกล่ าว เกิด จากการที่จ านวนนัก วิทยุ ฯ มีเ พิ่ม มากขึ้น แต่
หน่วยงานกากับดูแล ไม่สามารถทีจ่ ะเพิม่ ช่องความถีใ่ ห้เพิม่ ขึน้ ตามจานวนนักวิทยุฯ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ได้ ดังนัน้
จึงใช้การแก้ปญั หาโดยการลด Channel Spacing ลง ซึ่งหากที่จะทาดังกล่าวนัน้ สิง่ ที่ควรต้องเพิม่ ให้ก็
คือ การใช้ Tone ในการติดต่อสื่อสาร หรือ การอนุญาตให้ใช้เครืองวิทยุคมนาคม แบบ ALL MODE แต่
ก็อกี นัน่ แหละ เพราะปจั จุบนั เครื่องแบบดังกล่าว มักจะมีความที่ 50 MHz. ที่ หน่ วยงานกากับดูแลยัง
ไม่ได้อนุญาตให้นกั วิทยุฯ ไทย ได้ใช้กเ็ ลยยังเป็นปญั หาอยู่

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 75


WIDE BAND & NARROW BAND ทาไมต้องมี และ จะใช้ยงั ไง

พอดีวนั นี้มเี พื่อนสงสัยเรื่อง Wide Band กับ Narrow Band เลยมาเล่าให้ฟงั กันสักนิดนึงเพื่อทา
ความเข้าใจกัน

สมัยก่อนเครื่องวิทยุสมัครเล่นรุ่นเก่าส่วนใหญ่จะเป็ น Wide Band อย่างเดียวโดย Wide band


ความกว้างของการผสมคลื่นจะอยู่ท่ี 16 KHz. เท่ากับมาตรฐานของ Channel Spacing ดังที่ผมเคยเล่า
ให้ฟงั มาแล้วในก่อนหน้านี้

ดังนัน้ เมื่อ Channel Spacing ของกิจการวิทยุสมัครเล่นไทย อยู่ท่ี 25 KHz. มันจึงไม่เกิดการ


รบกวนกัน เพราะคลื่นความถีท่ ผ่ี สมออกไปมีความกว้างแค่ 16 KHz.

สรุปง่าย ๆ คือ มาตรฐานกาหนด 25 KHz. แต่ Max ของเครื่องเพียง 16 KHz. (ไม่มปี ญั หา) แต่
เมื่อมีการเปลี่ยน Channel Spacing เป็ น 12.5 KHz. เมื่อเครื่องรุ่นเก่ามีความกว้างของการผสมคลื่นที่
16 KHz. มันก็ไม่สามารถผสมคลื่นที่ 12.5 KHz. ได้

สรุปง่าย ๆ คือ มาตรฐานกาหนด 12.5 KHz. แต่ Max ของเครื่องยังคงเดิมคือ 16 KHz. (มี
ปญั หาแน่นอน)

ดัง นั น้ มัน จึง เกิด การรบกวนกัน เลยท าให้ เ กิด การล้ น ไปช่อ งข้า งเคีย ง จนท าให้ เ กิด การ
กระทบกระทังกั ่ นในความถี่ตามที่เรา ๆ เคยได้ยนิ ได้ฟงั กันมา แต่ Narrow Band ความกว้างของการ
ผสมคลื่นจะอยู่ท่ี 8 KHz. หากใช้ Channel Spacing เป็น 12.5 มันก็ไม่ลน้ ไปช่องอื่น

สรุปคือ มาตรฐานกาหนด 12.5 KHz. Max ของเครื่อง 8 KHz.(ลดการแก้ปญั หาได้) โดยที่ทงั ้


สถานีส่งและสถานีรบั จะต้องเป็ นเครื่องที่ปรับเป็ น Narrow Band ทัง้ คู่ หากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด เป็ น
Narrow Band และอีกฝา่ ยหนึ่งเป็น Wide Band เสียงทีอ่ อกมามันจะมีลกั ษณะของเสียงทีอ่ อกอู้ ๆ ครับ

หากเอาภาพทีใ่ ห้เห็นชัด ๆ นะ ผมยกตัวอย่างประตูรวั ้ ก็แล้วกันนะครับ สมมติวา่ ประตูรวั ้ มีความ


กว้าง 25 เมตร และ รถเรามีความกว้าง 16 เมตร รถก็สามารถทีจ่ ะผ่านถนนไปได้โดยยังมีพน้ื ที่เหลืออีก
9 เมตร พอเปลีย่ นประตูรวั ้ ให้เล็กลงโดยให้มคี วามกว้าง 12.5 เมตร แต่รถยังมีความกว้างเท่าเดิม คือ 16
เมตร ดังนัน้ รถมันก็เข้าไม่ได้ ส่วนที่เกินก็จะล้ ารัว้ ออกไป เพื่อต้องการพื้นที่ส่วนต่างอีก 3.5 เมตร
เปรียบเทียบกับความถี่ ก็คอื ล้นไปช่องด้านบน และ ด้านล่าง

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 76


แต่หากเราซื้อรถใหม่ทเ่ี ป็น City Car ทีม่ คี วามกว้าง 8 เมตร คราวนี้กเ็ ข้าประตูรวั ้ สบายขึน้ คือ
รัว้ 12.5 เมตร รถ 8 เมตร ก็ยงั มีพน้ื ทีเ่ หลืออีก 3.5 เมตร ซึ่งก็ดกี ว่าครับ

ดังนัน้ Narrow Band ไม่ได้เป็นการลดการรบกวนครับ แต่เป็ นการปรับสมดุลเพื่อความกว้างที่


ปรับลดลงจาก 25 KHz. เป็น 12.5 KHz. เท่านัน้ ครับ

ปล. หากสถานีหนึ่งใช้ WIDE BAND อีก สถานีหนึ่งใช้ NARROW BAND เสียงที่ฝ่าย WIDE
BAND ส่ง และ NARROW BAND รับ จะเป็นเสียงออก อู้ ๆ

ในทางกลับกัน หากสถานีหนึ่งใช้ WIDE BAND อีก สถานีหนึ่งใช้ NARROW BAND เสียงที่


ฝา่ ย NARROW BAND ส่ง และ WIDE BAND รับ เสียงทีร่ บั ได้จะเป็นเสียงปกติ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 77


วิ ธีแก้ปัญหากับ QRM

คาว่า QRM นัน้ เกิดจากการรบกวนที่ทาโดยมนุ ษย์ บางครัง้ ผู้กระทาไม่ได้มคี วามจงใจที่จะ


กระทา เพียงแต่อาจเป็นความประมาทเลินเล่อ หรือ เผลอไปชัวขณะหนึ
่ ่ง

โดยธรรมชาติข องมนุ ษย์แ ล้วนัน้ เมื่อ มีอะไรมากระทบกระทัง่ ก็จ ะต้อ งมีก ารตอบโต้ หรือ
ตอบสนอง เช่นเดียวกัน

QRM ก็มลี กั ษณะทางจิตแบบเดียวกัน เพราะเขาคือมนุ ษย์คนหนึ่งเหมือนกัน ดังนัน้ เมื่อเขา


สามารถที่จะทาอะไรเพื่อเป็ นการขัดขวางการติดต่อสื่อสาร ได้ เขาก็มกั จะทา และเมื่อใดที่พบกับการ
ตอบโต้ อย่างค่อนข้างรุนแรง จน ถึง รุนแรง ก็ทาให้เขาเกิดความสะใจในสิง่ ทีก่ ระทา

วิธีการที่จะหยุดปญั หา QRM นัน้ มีวธิ ีการหลีกเลี่ยงได้หลากหลายรูปแบบ เช่น หยุดการ


สนทนา , ย้ายความถีใ่ หม่ , ฯลฯ มีหลากหลายวิธที ท่ี ่านสามารถจะทาได้ เพราะการสนทนานัน้ ไม่ได้มี
อะไรทีเ่ ร่งด่วน ปจั จุบนั การติดต่อสื่อสารได้พฒ
ั นาอย่างกว้างไกล ในหลาย ๆ รูปแบบ ในรูปของ Social
Network , โทรศัทพ์ ฯลฯ ดังนัน้ เมื่อเขาไม่สามารถทีจ่ ะรบกวนหรือทาให้ท่านเกิดการโกรธ หรือ โมโห
ได้ เขาก็จะเลิกลาการเป็น QRM ไปในทีส่ ุด โดยทีท่ ่านไม่ตอ้ งต่อล้อต่อเถียง เพื่อให้เรื่องราวต่าง ๆ บาน
ปลายออกไป และท่านเองหรือคนรอบข้างเองซะอีกทีจ่ ะเป็นคนหงุดหงิดต่อสิง่ ทีเ่ กิดขึน้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 78


Intermodulation คือ Freq1 + Freq2 = Freq3

Intermodulation คือ ความถีส่ องความถีม่ าผสมกัน ทาให้เกิดความทีข่ น้ึ ใหม่

Intermodulation หรือที่เรียกสัน้ ๆกันทัวไปว่


่ า intermod (อินเตอร์ม้อด) เป็ นธรรมชาติของคลื่นความถี่
เมื่อมีความถีส่ องความถีท่ เ่ี กิดจากสถานีสองสถานีตงั ้ ใกล้กนั วิง่ มาผสมกันทาให้เกิดเป็นความถี่ขา้ งเคียง
ขึน้ มา

ให้ท่านนึกถึงการโยนก้อนหินลองน้ า 1 ก้อน ก็จะเกิดคลื่นแพร่กระจายเป็นระลอกออกไปยังขอบสระนัน่


คือภาพการแพร่กระจายคลื่นหนึ่งสถานี และหากโยนหินสองก้อนลงน้ าพร้อมกัน นันก็ ่ จะมีแหล่งกาเนิด
คลื่นสองแหล่ง และเมื่อคลื่นน้ าจากสองแห่งแพร่กระจายเป็นวงออกมาพบกัน คลื่นเกิดการประสานกันก็
จะเกิดคลื่นใหม่ขน้ึ อื่นอีกต่อๆ กันไป นันคื
่ อภาพจาลองให้เห็นถึงแหล่งกาเนิดคลื่นและการเกิด อินเตอร์
ม้อด

ยกตัวอย่างเช่น

เมื่อมีความถีจ่ ากสถานีหนึ่งออกอากาศที่ 150 MHz และอีกสถานีออกอากาศที่ 151 MHz เกิดอินเตอร์


ม้อด และมีความถีข่ า้ งเคียงเป็น Harmonic เลขคีอ่ อกมา นันหมายความว่
่ าธรรมชาติของคลื่นสองคลื่น
เมื่อลอยมาชนกันในอาณาบริเวณ จะทาให้เกิดความถี่ใหม่ขน้ึ ออกมา โดยมีกาลังสัญญาณลดลงเป็ น
ลาดับ

ซึ่งจะเกิดความถี่ 149 MHz ความถี่ 152 MHz ไล่ไปเป็ นลาดับ และขนาด (Amplitude) ลดลงเรื่อยๆ

ในทางปฏิบตั ภิ าควงจรรับของอุปกรณ์โทรคมนาคมก่อนทาการถอดสัญญาณคลื่นพาห์ออก จะต้องผ่าน


วงจรกรองความถี่ (Filter) ก่อนเพื่อกรองความถี่ขา้ งเคียงก่อนก่อนที่จะทาการ Demodulate สัญญาณ
FM ก็ตอ้ งผ่านวงจรกรองความถี่ เพื่อกรองความถี่ขา้ งเคียงที่เกิดจากทัง้ ฮาร์มอนิก และ อินเตอร์ม้อด
หรือความถีอ่ ่นื ๆ เช่นกัน ในภาคส่งหรือในการ Modulation FM ก็ตอ้ งมี Spurious Emission ขึน้ มา เป็น
ธรรมชาติของคลื่นที่เรียกกันว่าเกิด Side band ดังนัน้ ในการออกแบบภาคส่ง (Transmitter) ของ
อุปกรณ์โทรคมนาคมต่างๆ นัน้ ต้องมีวงจรกรองความถี่ท่มี ปี ระสิทธิภาพสูง เพื่อกรองความถี่ขา้ งเคียง
ออก ให้สามารถควบคุมอุปกรณ์กาเนิดความถีแ่ ละแพร่กระจายคลื่นให้ตรงตามทีต่ อ้ งการเท่านัน้ ได้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 79


อินเตอร์ม อด นัน้ ค านวนง่ ายๆ คือ เมื่อ มีค วามถี่ 2 สถานี เปรีย บสถานี ท่ี 1 ก าเนิด ความถี่ f1
และสถานีท่ี 2 กาเนิดความถี่ f2 อินเตอร์มอ้ ดจะกาเนิด 2 ความถีท่ ่ี แอมปลิจูดสูงสุดเป็นดังนี้

2 (f1)-f2=fx

2(f2)-f1= fy

ตัวอย่างให้เห็นภาพเข้าใจง่ายทีส่ ุด

เช่น f1= 2 MHz และ f2=3 MHz จะเกิดความถี่ Intermodulation Products 2 ความถี่คอื 1 MHz และ 4
MHz

ยกอีกตัวอย่าง

สถานี A ความถี่ f1 (144.300 MHz) สถานี B ความถี่ f2 (145.725 MHz) จะเกิด Intermodulation
Products เป็นความถีใ่ หม่ คือ

ความถี่ f1 = 2(144.300)-145.725 = 142.875 MHz และความถี่ f2 = 2(145.725) – 144.300 =


147.150 MHz

หวังว่าคงพอจะเข้าใจบ้างนะครับ และสามารถนาสูตรนี้ไปคานวณหาได้เลย ว่าหากท่านออกอากาศถี่


ความถีน่ ้ี จะเกิด Intermodulation ทีค่ วามถีเ่ ท่าไร หากมีคนแถวบ้านท่านใช้ความถีอ่ กี ความถีห่ นึ่งอยู่

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 80


Electronic Reference

มีประโยชน์มากๆ สาหรับพวกเรานักวิทยุทช่ี อบประกอบชุดคิท อุปกรณ์เกีย่ วกับวิทยุกนั ตาราง


นี้จะแสดงถึงสิง่ ทีค่ วรรูก้ บั เจ้าอุปกรณ์ต่างๆ เช่น LED , Transister , Resister etc.

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 81


เรื่องทัว่ ๆ ไปที่เมื่อเป็ นนักวิทยุสมัครเล่นที่ควรทราบ

เกี่ยวกับ QSL CARD

QSL CARD เมื่อพูดถึง QSL CARD หลาย ๆ ท่านทีเ่ ป็นนักวิทยุสมัครเล่นรุ่นใหม่ ๆ ก็มกั จะถามว่า มัน
คืออะไรล่ะ แล้วต้องมีดว้ ยหรือ

QSL Card ก็คอื บัตรยืนยันการติดต่อสื่อสารครับ ซึ่งมีไว้เพื่อยื่นยันว่า สถานี A และ สถานี B ได้มกี าร


ติดต่อกันจริง โดยอาจจะเก็บไว้เป็นทีร่ ะลึกสาหรับการทีต่ ดิ ต่อกัน หรือ เก็บไว้เพื่อขึน้ รางวัลสาหรับวิทยุ
ก็ได้ ซึ่งมีหลากหลายรางวัลมากมายในกิจการวิทยุสมัครเล่นสากล

โดยจะขอยกตัวอย่างรางวัลใหญ่ ๆ มาพอสังเขปคือ

1. DXCC รางวัลสาหรับการติดต่อได้ครบ 100 ประเทศ


2. WAC รางวัลสาหรับการติดต่อได้ครบทุกทวีป
3. WAZ รางวัลสาหรับการติดต่อได้ครบทุก โซน เป้นต้น นอกจากนัน้ ยังมีอกี กหลากหลาย
รางวัล ทีส่ มาคมวิทยุแต่ละประเทศกาหนดขึน้ เพื่อดึงดูดความสนใจให้นกั วิทยุทวโลกเข้
ั่ ามาขอรางวัล

บัตรยืนยันการติดต่อสื่อสารนัน้ โดยปกติตามมาตรฐานสากล จะใช้อ้างอิงเพื่อขึ้นรางวัลได้นนั ้ จะต้อง


ติดต่อกันไม่น้อยกว่า RS 33 ถึงจะใช้ในการขึน้ รางวัลได้ ต้องมีอะไรบ้างในบัตรยืนยันการติดต่อสื่อสาร
โดยปกติแล้วบัตรยืนยันการติดต่อสื่อสารนัน้ สิง่ ทีจ่ ะต้องมีคอื

1. สัญญาณเรียกขานของผูส้ ่ง QSL CARD

2. ทีต่ งั ้ ของสถานีผสู้ ง QSL CARD

3. CQ Zone (ถ้าเป็นไปได้)

4. ITU Zone (ถ้าเป็นไปได้)

5. Grid Locator (ถ้าเป็นไปได้)

6. สัญญาณเรียกขานผูท้ ต่ี ดิ ต่อได้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 82


7. วันเดือนปีทต่ี ดิ ต่อ

8. โหมดทีใ่ ช้ในการติดต่อ

9. เวลาทีต่ ดิ ต่อ

10. ความถีท่ ต่ี ดิ ต่อ

11. เครื่องวิทยุฯ ทีใ่ ช้

12. สายอากาศทีใ่ ช้

13. กาลังส่งทีใ่ ช้

14. ลายเซ็นต์ของผูส้ ่ง QSL CARD

15. ทีอ่ ยู่ของเจ้าของ QSL CARD

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 83


มารู้จกั DX กันครับ

DX หมายถึง การติดต่อทางไกล (Long Distance)

DXpedition หมายถึง การออกอากาศจากสถานีทอ่ี ยู่ไกล , ไม่ค่อยมีผใู้ ดไปออกอากาศ

DXer หมายถึง ผูท้ อ่ี อกอากาศจากสถานีทอ่ี ยู่ไกล , ไม่ค่อยมีผใู้ ดไปออกอากาศ

DX - pedition คือ การเดินทางไปยังสิง่ ที่ถอื ว่าเป็ นสถานที่ท่แี ปลกใหม่โดยนักวิทยุสมัครเล่น โดยที่นนั ้


ๆ อาจจะอยู่ห่างไกลหรือเพราะมีนกั วิทยุสมัครเล่น อยู่น้อยมากทีอ่ อกอากาศจากสถานทีน่ นั ้ ๆ ซึ่งอาจจะ
เป็นเกาะทีม่ ปี ระเทศ หรือ เป็นเพียงแค่จุดเล็ก ๆ ในตารางทางภูมศิ าสตร์

DX - peditions จะต้องมีการวางแผนและการจัดการที่ดี จาเป็ นต้องติดต่อกับที่ๆ จะออกอากาศจาก


สถานทีน่ นั ้ ๆ ซึ่งมีหลาย ๆ ท่านที่ต้องการติดต่อกับสถานี DX นัน้ ๆ เพื่อต้องการใช้สาหรับอ้างอิงใน
การขึน้ รางวัลที่นักวิทยุฯ ทัวโลกต้
่ องการมีไว้ประดับฝาบ้านของตนในชีวติ หนึ่งของการเป็ นนักวิทยุ
สมัครเล่น ก็คอื รางวัด DXCC

(DX Century Club) ซึ่งออกรางวัลโดย สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งสหรัฐอเมริกา (ARRL) ซึ่งการนับ


ประเทศนัน้ จะถูกกาหนดโดย ARRL เช่นกัน

ยกตัวอย่างเช่น Alaska , Hawai ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริกาเช่นเดียวกัน ยังถูกจัดแบ่งให้


เป็น 1 DXCC หรือแม้นแต่นครวาติกนั , สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) และ UN (องค์การ
สหประชาติ) ก็ถูกจัดเป็น 1 DXCC เช่นเดียวกัน นับเป็น 1 ประเทศ หรือเช่น แอนตาร์กติกา หรือ ซาฮา
ราตะวันตก

หลาย DX - peditions มักจะออกอากาศจากสถานที่ท่ไี ม่มแี หล่งจ่ายไฟและไม่มอี ุปกรณ์ท่ใี ช้ในการ


กาเนิดพลังงาน หรือหลาย ๆ ครัง้ ที่มกี ารออกอากาศจากประเทศที่ไม่มกี จิ การวิทยุสมัครเล่น และไม่
อนุญาตให้มกี จิ การวิทยุสมัครเล่น ซึ่งผูอ้ อกอากาศจะต้องนาอุปกรณ์ในการออกอากาศ และ อุปกรณ์อ่นื
ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องไปเอง อาทิเช่น เกาหลีเหนือ , เยเมน, และอิหร่าน หรือบางที่ ๆ ไม่สามารถเข้าไปได้เลย
อาทิเช่น เกาะ Peter I Island ซึ่งเป็ นเกาะน้ าแข็ง , Clipperton Island , เกาะนาวาสซา หรือ เกาะ
Desecheo

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 84


ซึ่งพวกนักวิทยุฯ ทีไ่ ปออกอากาศนัน้ ต้องขออนุญาตจากหน่วยงานที่ รบั ผิดชอบ ซึ่งอาจเป็ นเรื่องที่ยาก
มากในการทีจ่ ะขออนุญาตได้สกั ครัง้ เมื่อได้รบั อนุ ญาตแล้วสิง่ ที่ตามมาคือค่าเดินทางที่ทงั ้ มีราคาที่แพง
และอันตราย บางสถานทีเ่ ช่น BS7H / Scarborough Reef ทีม่ ปี ะการังจมอยู่ใต้น้ า

การ DX-Pedition จะมุ่งถึงการติดต่อให้ได้มากที่สุดเพื่อให้สญ ั ญาณครอบคลุมไปทัวโลก ่ ซึ่งเป็ นสิง่ ที่


หลีกเลีย่ งไม่ได้ในการไม่ให้เกิด PILEUPS ซึ่งหมายถึงการทีผ่ ทู้ ต่ี อ้ งการทีจ่ ะติดต่อมีการติดต่อหรือเรียก
เข้ามาพร้อมกันอย่างมากมายเพียงเพื่อติดต่อกันให้ได้และรายงานค่าสัญญาณ และแลกเปลี่ยนบัตร
ยืน ยัน การติด ต่ อ สื่อ สารกัน เพื่อ ส าหรับ ขึ้น รางวัล เพื่อ ความภู มิใ จในชีว ิต หนึ่ ง ของการเป็ น นัก วิท ยุ
สมัครเล่น

ในบางครัง้ เคยมีผถู้ ามผมว่า ในชีวติ การเล่นวิทยุฯ ของผมนัน้ ผมติดต่อได้ไกลที่สุดคือประเทศไหน ผม


กลับตอบไปว่าผมสามารถทีจ่ ะติดต่อประเทศสหรัฐอเมริกาได้ทุกวัน คุณว่ามันไกลไม๊ แต่ผมกลับบอกว่า
ประเทศเพื่อนบ้านเรานันแหละคื
่ อสถานี DX ของผม พม่า , ลาว , กัมพูชา หรือแม้นกระทังเวี ่ ยดนาม มี
ผูอ้ อกอากาศยังน้อยกว่านักวิทยุจากอเมริกา ในทุกวันซะอีก คาว่า DX นัน้ ไม่จาเป็ นที่จะต้องออกไป
ออกอากาศจากนอกสถานทีก่ ไ็ ด้ อย่างประเทศไทย ในความถี่ HF ก็ถูกจัดว่าเป็นสถานี DX เพราะจะได้
ยินสถานีทอ่ี อกอากาศจากประเทศไทยจานวนน้อยมาก ๆ ในความถีด่ ง้ กล่าว เมื่อคราวใดมีผอู้ อกอากาศ
จากประเทศไทย ก็จะมีผทู้ ร่ี อติดต่ออยู่เยอะมาก ในบางครัง้ ก็เกิดเป็น Pileups ได้เช่นเดียวกัน

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 85


คาว่า DXpedition มันต้องมีกฎเกณฑ์ในการใช้อย่างไร จึงจะเรียกว่า DXpedition

ความหมายของคาว่า DXpedition

หลาย DX-Peditions มักเกิดจากสถานที่ ที่ยากต่อการที่จะเดินทางเข้าไป และอาจจะรวมถึงที่ ๆ ไม่มี


กิจการวิทยุสมัครเล่น หรือ การออกใบอนุ ญาตเพื่อกิจการวิทยุสมัครเล่นเป็ นสิ่งที่ ยากมาก และบาง
สถานที่อาจไม่มไี ฟฟ้า หรือ สาธารณู ปโภคที่จาเป็ น ซึ่งดังกล่าวเป็ นเรื่อ งยากมากที่จะสัญญาณวิทยุ
ออกอากาศมาจากสถานทีเ่ หล่านัน้

ในบางประเทศมีขอ้ กาหนดทีเ่ ข้มงวดมากในการอนุ ญาตให้มกี ารสื่อสารออกมาจากที่นนั ้ ๆ อาจรวมถึง


การนาอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วกับการสื่อสารเข้าไปในประเทศเหล่านัน้ ซึ่งเป็ นไปไม่ได้เลยที่จะมีการอนุ ญาตให้
สาหรับกิจการวิทยุสมัครเล่น อาทิเช่น ประเทศเกาหลีเหนือ , เยเมน

อีกทัง้ บางประการก็อาจจะเป็นสถานทีท่ ก่ี ารเดินทางเข้าไปมีความยากลาบาก ซึ่งต้องได้รบั อนุ ญาตจาก


เจ้าของพืน้ ที่ การขออนุญาตอาจจะต้องได้รบั การอนุญาตจากฝา่ ยการเมือง ถึงแม้นว่าบางสถานทีอ่ าจจะ
อยู่ในประเทศทีม่ เี สรีภาพในกิจการวิทยุสมัครเล่น เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ในบางพื้นที่กอ็ าจจะเป็ น
เรื่องยากทีจ่ ะได้รบั การอนุญาต

อีกทัง้ เมื่อได้รบั อนุญาตให้ตงั ้ สถานีวทิ ยุสมัครเล่นได้แล้ว ปจั จัยทีต่ ามมาก็คอื ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน


, การขนส่ง , อุปสรรคในการเดินทาง ซึ่งจะมีค่าใช้จ่ายทีอ่ ยู่ในอัตราทีส่ ูง และเสี่ยงต่อการเดินทางเข้าไป
ในพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ อาทิเช่น Scarborough Reef หรือ Peter I Island เป็นต้น

ดังนัน้ เมื่อสรุปคาว่า Dx-Peditions แล้ว คาจัดกัดความของคานี้ น่าจะหมายความว่า การออกอากาศใน


กิจการวิทยุสมัครเล่น จากพืน้ ที่ ๆ ยากต่อการเดินทาง , ไม่มคี ่อยความปลอดภัยต่อคณะเดินทาง , ไม่มี
กิจการวิทยุสมัครเล่นในสถานทีน่ นั ้ ๆ , มีขอ้ กาหนดในการตัง้ สถานีวทิ ยุสมัครเล่น และอาจจะมี หรือ มี
จานวนน้อยมาก ของนักวิทยุสมัครเล่นในพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ ตลอดจนมีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการในอัตราที่สูง
เกินกว่า บรรดานักวิทยุสมัครเล่นจะดาเนินการได้เพียงคนเดียว

ปล. มีเพื่อนถามผมมาว่า ถ้า CQ ในประเทศไทย ไม่ตอ้ งใช้คาว่า CQ DX ผมขออธิบายตรงนี้แล้วกันว่า


ในการ CQ นัน้ คือการเรียกแบบไม่เจาะจงสถานี สิง่ ที่ต่อท้าย CQ คือ การ เจาะจงลงไปอีกว่าเราจะ
เรียกแบบไม่เจาะจงสถานีทใ่ี คร อาทิเช่น

** Contest (การแข่งขัน) เราก็จะเรียกแบบไม่เจาะจงสถานี เพื่อการ Contest ซึ่งจะเรียก CQ โดย CQ


Contest this is (Callsign) สาหรับ Phone หรือ CQ TEST สาหรับ CW

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 86


** ต้องการเฉพาะทวีป ในกรณีท่เี ราต้องการเรียกแบบไม่เฉพาะเจาะจง เฉพาะทวีปอเมริกาเหนือ จะ
เรียก CQ โดย CQ NA สาหรับ CW และ CQ North America สาหรับ Phone

** ต้องการเรียกสถานี DX ก็จะเรียก CQ DX this is (Callsign) หรือ CQ DX ใน CW

ดังนัน้ กรณีสถานี HS / E2 ทาไมถึงไม่ต้อง CQ DX ก็เพราะว่า ประเทศไทย ยังจัดว่าเป็ นประเทศใน


กลุ่มประเทศที่มกี ารออกอากาศจาก สถานีวทิ ยุสมัครเล่นในย่านความถี่ HF อยู่น้อยมาก ดังนัน้ จึงยัง
จัดเป็นสถานี DX ซึ่งเมื่อตนเองเป็นสถานี DX จึงไม่มคี วามจาเป็นที่จะต้องเรียก CQ แบบไม่เจาะจงต่อ
สถานี DX แต่อย่างใด แต่ในอนาคตอันใกล้ อาจจะไม่เป็ นเช่นนัน้ ก็เป็ นไปได้ เมื่อมีการเพิม่ จานวนขึน้
ของนักวิทยุสมัครเล่นขัน้ กลาง และ นักวิทยุสมัครเล่นขัน้ ต้น ที่จะสามารถออกอากาศความถี่ 28 MHz.
ได้ ครับ

แต่หากมองใน Country Wanted List แล้วจะเห็นว่าวันนี้เราหลุด Top 100 ไปแล้วนะครับ ดังนัน้ การ
CQ DX ก็ไม่ใช่เรื่องผิด หากมองจาก Country Wanted List ครับ ก็อยู่ทแ่ี นวความคิดของแต่ละคนครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 87


มารู้จกั IRC Coupon กับ Green Stamp กันเถอะ

บางท่ า นอาจถามว่ า มั น คื อ อะไรกั น ล่ ะ ไม่ รู้ ดิ ไม่ เ คยมี ใ นข้ อ สอบ ไม่ รู้ จ ัก เลย ถู ก ต้ อ งครับ
มันไม่เคยมีในข้อสอบเพื่อรับประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น

แต่ ม ัน มีใ นการติด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า งประเทศ และมัน ก็มีอ ยู่ ใ นประเทศไทยมาช้า นานมากแล้ ว
ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน สิ่งที่จะยืนยันการติดต่อสื่อสารได้กค็ ือการแลกเปลี่ยน QSL CARD
มารยาทในการส่งบัตรยืนยันการติดต่อสื่อสารก็คอื ผูส้ ่งจะต้องสอดซองเปล่าติดแสตมป์ถงึ ตัวท่านเอง
ให้กบั ผู้รบั เพื่อผู้รบั จะสามารถที่จะตอบกลับบัตรยืนยันการติดต่อสื่อสารมายั งผู้ส่งได้อย่างรวดเร็ว
และไม่ทาให้ผรู้ บั มีความลาบากในการส่ง (กรณีในประเทศ)

แต่ ก รณี ต่ า งประเทศนั น้ จะท าอย่ า งไรดีล่ ะ เพราะผู้ส่ ง ไม่ ส ามารถที่จ ะง่ า ยนั ก ในการหาแสตมป์
ต่างประเทศ นันคื ่ อทีม่ าของ IRC COUPON ครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 88


IRC COUPON หรือ INTERNATIONAL REPLY COUPON หรือ วิมยั บัตร (ภาษาไทย)

วิมยั บัตร (International reply coupon, IRC) เป็ นบัตรที่สามารถใช้แลกเป็ นแสตมป์ค่าจดหมายไป


ต่างประเทศ หนักไม่เกิน 20 กรัม วิมยั บัตรสามารถหาซื้อและแลกเป็ นแสตมป์ได้จากไปรษณีย์ท่เี ป็ น
สมาชิกสหภาพสากลไปรษณียท์ วโลก ั่

จุ ด ประสงค์ ก ารใช้ ว ิ ม ัย บั ต รคื อ การส่ ง จดหมายไปยั ง ผู้ ร ับ ต่ า งประเทศพร้ อ มทั ง้ ค่ า ส่ ง กลับ


ซึ่งถ้าหากเป็นจดหมายในประเทศก็เพียงสอด แสตมป์ หรือซองเปล่าติดแสตมป์ไปพร้อมกับจดหมาย
แต่ ก รณี จ ดหมายต่ า งประเทศ การหาซื้ อ แสตมป์ ของประเทศผู้ ร ับ ปลายทางจะไม่ ส ะดวก
จึงใช้วธิ ีซ้ือวิมยั บัตรและสอดไปพร้อมกับจดหมาย ผู้รบั ปลายทางก็สามารถนาวิมยั บัตรไปแลกเป็ น
แสตมป์ได้ท่ี ณ ทีท่ าการไปรษณีย์เพื่อติดบนจดหมายตอบกลับ วิมยั บัตรมีประโยชน์หลายด้านสาหรับ
ส่งไปยังเพื่อนหรือครอบครัวทีอ่ ยู่ต่างประเทศ และไม่ตอ้ งการให้เสียเงินค่าตอบจดหมายใช้ในการติดต่อ
สาหรับบุคคลทีไ่ ม่รจู้ กั หรือไม่สนิท เช่นต้องการแลกเปลีย่ นของสะสม หรือส่งบัตรยืนยันการติดต่อของ
นักวิทยุสมัครเล่น

วิมยั บัตรควบคุมโดยสหภาพสากลไปรษณีย์ ยังมีหน่วยงานอื่นทีอ่ อกในลักษณะเดียวกับวิมยั บัตร แต่ใช้


ในวงแคบกว่า เช่น Arab Postal Union ในกลุ่มประเทศอาหรับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 89


Green Stamp หรือ เงินดอลล่าร์สหรัฐ ทุกท่านคงมีคาถามว่า อ้าวแล้วมันมาเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่น
ได้อย่างไรล่ะ ก็เป็ นอันทราบกันดีว่า เงินดอลล่าร์สหรัฐนัน้ จะมีค วามเสถียรสูงสุดในหมู่เงินในสกุล
ต่าง ๆ ทัวโลก
่ ดังนัน้ จึงมักที่จะใช้เงินดอลล่าร์สหรัฐ แทน IRC ก็ได้ เพื่อเป็ นการสะดวกต่อการ
ส่งบัตรยืนยันการติดต่อสื่อสาร และมีมูลค่าทีถ่ ูกกว่าการซื้อ IRC

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 90


ความตกลงต่างตอบแทนว่าด้วยพนักงานวิ ทยุสมัครเล่นกับประเทศไทย (reciprocal
agreement)

ปจั จุบนั ประเทศไทย มีการจัดทาความตกลงต่างตอบแทนว่าด้วยพนักงานวิทยุสมัครเล่นกับประเทศไทย


(สัญญาต่างตอบแทน / reciprocal agreement) กับประเทศต่าง ๆ เป็นจานวน 10 ประเทศแล้ว โดยมี
รายละเอียด ดังต่อไปนี้

1. UNITED STATE OF AMERICA / สหรัฐอเมริกา (K)


2. SWITZERLAND / สวิตเซอร์แลนด์ (HB)
3. AUSTRIA / ออสเตรีย (OE)
4. SWEDEN / สวีเดน (SM)
5. UNITED KINGDOM / สหราชอาณาจักร (G)
6. GERMANY / เยอรมนี (DL)
7. LAXEMBOURG / ลักเซมเบิรก์ (LX)
8. BELGIUM / เบลเยียม (ON)
9. FRANCH / ฝรังเศส
่ (F)
10. DENMARK / เดนมาร์ก (OZ)

ดังนัน้ หมายความว่า หากท่านใดทีไ่ ปยังประเทศดังกล่าวข้างต้น สามารถทีจ่ ะขอเทียบสัญญาณเรียก


ขาน ได้ โดยติดต่อผูร้ บั ผิดชอบในประเทศนัน้ ๆ หรือ นักวิทยุฯ ประเทศนัน้ ๆ ดังกล่าวข้างต้น เดินทาง
มาประเทศไทย ก็สามารถทีจ่ ะเทียบสัญญาณเรียกขาน ในประเทศไทยได้เช่นกัน

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 91


CQ Zone คืออะไร และ CQ Zone ประกอบด้วยอะไรบ้าง

CQ Zone คือ การแบ่งโซนเพือ่ ใช้อา้ งอิงในการแข่งขัน โดยนิตยสาร CQ Magazine ของ USA ซึ่งเป็น
นิตยสารทีแ่ พร่หลายทัวโลก
่ และใช้ CQ Zone นัน้ เป็นสิง่ แลกเปลีย่ นในการแข่งขัน สาหรับการแข่งขัน
รายการทีจ่ ดั โดยนิตยสารฯ และหมายเลข CQ Zone นี้กเ็ ป็นทีน่ ยิ มทีจ่ ะพิมพ์ไว้เพื่อการอ้างอิงใน QSL
CARD ของนักวิทยุสมัครเล่นทุกคน

รายการแข่งขันทีใ่ ช้ CQ Zone ในการแลกเปลีย่ น คือ CQ WW DX CONTEST PHONE และ CQ WW


DX CONTEST CW ซึ่งจะจัดแข่งขันในสัปดาห์สุดท้ายของเดือน ตุลาคม และ พฤศจิกายน ของทุกปี
(ตามลาดับ) เป็นการแข่งขันในย่านความถี่ HF ซึงจะมีนกั วิทยุสมัครเล่นทัวโลกให้
่ ความสนใจเข้าร่วม
การแข่งขัน หรือ Check Log (หมายถึงการเข้าร่วมการแข่งขัน แต่ไม่ประสงค์ทจ่ี ะต้องการรับรางวัล ส่ง
LOG เพื่อให้ผจู้ ดั การแข่งขันใช้สาหรับตรวจสอบกับสถานีทต่ี ดิ ต่อได้จริง )

การแบ่ง CQ Zone ของ CQ Magazine

CQ Zone ถูกแบ่งออกเป็น 40 CQ Zone โดยเริม่ จาก Zone 1 Zone 1. Northwestern Zone of North
America และไปสิน้ สุดที่ Zone 40. North Atlantic Zone: JW (Svalbard), JX (Jan Mayen), OX
(Greenland), RI1FJ (Franz Josef Land), and TF (Iceland).

โดยประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ใน Zone 26 ทีเ่ รียกว่า Southeastern Zone of Asia: อันประกอบไปด้วย


3W (Vietnam), E2 (Thailand), VU (Andaman and Nicobar Islands), XU (Cambodia), XW (Laos),
XZ (Myanmar), and 1S/9M0 (Spratly Islands) รวม 7 DXCC Countries.

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 92


การแบ่ง CQ Zone ของ CQ Magazine

Zone 1. Northwestern Zone of North America: KL (Alaska), VY1 Yukon, VE8 the Northwest and
VY0 Nunavut Territories west of 102 degrees (Includes the islands of Victoria, Banks, Melville,
and Prince Patrick).

Zone 2. Northeastern Zone of North America: VO2 (Labrador), the portion of VE2 Quebec north
of the 50th parallel, and Nunavut Territories east of 102 degrees (Includes the islands of King
Christian, King William. Prince of Wales, Somerset, Bathurst, Devon, Ellesmere, Baffin and the
Melville and Boothia Peninsulas, excluding Akimiski Island, Bear Islands and East Pen Island in
Hudson Bay).

Zone 3. Western Zone of North America: VE7 (British Columbia), W6, and the W7 states of
Arizona, Idaho, Nevada, Oregon, Utah, and Washington.

Zone 4. Central Zone of North America: VE3 (Ontario), VE4 (Manitoba), VE5 (Saskatchewan),
VE6 (Alberta), VY0 Akimiski Island, and Bear Islands, and Fox Island and East Pen Island in
Hudson Bay. The W7 states of Montana and Wyoming, W0, W9, W8 (except West Virginia),
W5, and the W4 states of Alabama, Tennessee, and Kentucky.

Zone 5. Eastern Zone of North America: 4U1UN, CY9 (St. Paul Is.), CY0 (Sable Is.), FP (St.
Pierre Miquelon), VE1 (Nova Scotia) and VE9 (New Brunswick), VY2 (Prince Edward Is.), VO1
(Newfoundland) and the portion of VE2 Quebec south of the 50th parallel. VP9 (Bermuda), W1,
W2, W3 and the W4 states of Florida, Georgia, South Carolina, North Carolina, Virginia and the
W8 state of West Virginia.

Zone 6. Southern Zone of North America: XE (Mexico), XF4 (Revilla Gigedo).


Zone 7. Central American Zone: FO (Clipperton), HK0 (San Andres Is.), HP (Panama), HR
(Honduras), TG (Guatemala), TI (Costa Rica), TI9 (Cocos Is.), V3 (Belize), YN (Nicaragua) and
YS (El Salvador).

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 93


Zone 8. West Indies Zone: C6 (Bahamas), CO (Cuba), FG (Guadeloupe), FJ (St. Barts), FM
(Martinique), FS (Saint Martin), HH (Haiti), HI (Dominican Republic), J3 (Grenada), J6 (St.
Lucia), J7 (Dominica), J8 (St. Vincent), KG4 (Guantanamo Base), KP1 (Navassa Is.), KP2
Virgin Islands), KP4 (Puerto Rico), KP5 (Navassa Is.), PJ5 (Eustatius), PJ6 (Saba), PJ7 (Sint
Maarten). V2 (Antigua and Barbuda), V4 (St. Kitts and Nevis), VP2E (Anguilla), VP2M
(Montserrat), VP2V (British Virgin Is.), VP5 (Turks and Caicos Is.), YV0 (Aves Is.), ZF (Cayman
Is.), 6Y (Jamaica), and 8P (Barbados).

Zone 9. Northern Zone of South America: FY (French Guyana), HK (Colombia), HK0 (Malpelo
Is.), PJ2 (Curacao), PJ4 (Bonaire), PZ (Surinam), YV (Venezuela), 8R (Guiana),P4 Aruba and
9Y (Trinidad and Tobago Is.).

Zone 10. Western Zone of South America: CP (Bolivia), HC (Ecuador), HC8 (Galapagos Is.),
and OA (Peru).

Zone 11. Central Zone of South America: PY (Brazil), PY0 (Fernando de Noronha, PY0 (St.
Peter and Paul Rocks) and PY0 Trinidad Martin Vaz, ZP (Paraguay).

Zone 12. Southwest Zone of South America: CE (Chile), CE0 (Easter Is.), CE0(Juan Fernandez
Is.), CE0 (San Felix Is.), 3Y (Peter I) and some Antarctic stations (See Notes Below).

Zone 13. Southeast Zone of South America: CX (Uruguay), LU (Argentina), VP8 Falklands,
VP8 South Georgia, VP8 South Orkney, VP8 South Shetlands, VP8 South Sandwich and some
Antarctic stations (See Notes Below)

Zone 14. Western Zone of Europe: C3 (Andorra), CT (Portugal), CU (Azores Is.), DL


(Germany), EA (Spain), EA6 (Balearic Is.), El (Ireland), F (France), G (England), GD (Isle of
Man), GI (Northern Ireland), GJ (Jersey), GM (Scotland), GU (Guernsey), GW (Wales), HB
(Switzerland), HB0(Liechtenstein), LA (Norway), LX (Luxembourg), ON (Belgium), OY (Faroe
Is.), OZ (Denmark), PA (Netherlands), SM (Sweden), ZB (Gibraltar), 3A (Monaco) and 4U1ITU
(ITU, Geneva).

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 94


Zone 15. Central European Zone: E7 (Bosnia Herzegovina), ES (Estonia), HA (Hungary), HV
(Vatican), I (Italy), IS0 (Sardinia), LY (Lithuania), OE (Austria), OH (Finland), OH0 (Aland Is.),
OJ0 (Market Reef), OK (Czech Rep.), OM (Slovakia), S5 (Slovenia), SP (Poland), T7 (San
Marino), TK (Corsica), UA2,F,K, RA2,UB2-UI2 (Kaliningrad), YL (Latvia), YU (Serbia), ZA
(Albania), Z3 (Macedonia), 1A0 (SMOM), 4O (Montenegro), 9A (Croatia), 9H (Malta).

Zone 16. Eastern Zone of Europe: EW (Belarus), ER (Moldova), UA1, UA2(except for RA2 and
UA2-UI2), UA3. UA4, UA5,UA6, UA7,UA9,UA9 (S,T,W), and UR (Ukraine).

Zone 17. Western Zone of Siberia: EX (Kirgizstan), EY (Tajikistan), EZ (Turkmenistan), UA8,9


(A, B,C,D, F, G, J. K, L, M, N, Q,R, X), UK (Uzbekistan), UN (Kazakhstan).

Zone 18. Central Siberian Zone: UA8,9 (H,I,O,P,U, V,Y,Z),


and UAO (A, B, H, O,R, S,T, U,V, W)

Zone 19. Eastern Siberian Zone: UA0 (C, D, F, I, J, K, L, Q, X, Z)

Zone 20. Balkan Zone: E4 (Palestine), JY (Jordan), LZ (Bulgaria), OD (Lebanon), SV (Greece),


SV/A (Mt. Athos), SV5 (Dodecanese), SV9 (Crete), TA (Turkey), YK (Syria), YO (Romania),
ZC4 (UK Sov. Base), 4X (Israel) and 5B (Cyprus).

Zone 21. Southwestern Zone of Asia: A4 (Oman), A6 (United Arab Emirates), A7 (Qatar), A9
(Bahrain), AP (Pakistan), EK (Armenia), EP (Iran), HZ (Saudi Arabia), YA (Afghanistan), YI
(Iraq), 4J (Azerbaijan), 4L (Georgia), 7O (excluding Socotra I. and Abd al Kuri Is.) and 9K
(Kuwait).

Zone 22. Southern Zone of Asia: A5 (Bhutan), S2 (Bangladesh), VU (India), VU (Lakshadweep


Is.), 4S (Sri Lanka), 8Q (Maldives.), and 9N (Nepal).

Zone 23. Central Zone of Asia: JT (Mongolia), UA0Y, BY3G-L (NeiMenggu), BY9G-L (GanSu),
BY9M-R (NingXia), BY9S-Z (QingHai) and BY0.

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 95


Zone 24. Eastern Zone of Asia: BV9P (Pratas Is.), BV (Taiwan), BY1, BY2, BY3A-F (TianJin),
BY3M-R (HeBei), BY3S-X (ShanXi), BY4, BY5, BY6, BY7, BY8, BY9A-F (ShaanXi), VR (Hong
Kong), and XX (Macau).

Zone 25. Japanese Zone: HL (South Korea), JA (Japan), and P5 (North Korea).
Zone 26. Southeastern Zone of Asia: 3W (Vietnam), E2 (Thailand), VU (Andaman and Nicobar
Islands), XU (Cambodia), XW (Laos), XZ (Myanmar), and 1S/9M0 (Spratly Islands)

Zone 27. Philippine Zone: BS7 (Scarborough Reef), DU (Philippines), JD1 (Minami Torishima),
JD1 (Ogasawara), T8 (Palau), KH2 (Guam), KH0 (Mariana Is.), V6 (Fed. States of Micronesia).

Zone 28. Indonesian Zone: H4 (Solomon Is.), P2 (Papua New Guinea), V8 (Brunei), YB
(Indonesia), 4W (East Timor), 9M (West and East Malaysia) and 9V (Singapore).

Zone 29. Western Zone of Australia: VK6 (Western Australia), VK8 (Northern Territory), VK9X
(Christmas Is.), VK9C (Cocos-Keeling Is.) and some Antarctic stations :(See Notes Below)

Zone 30. Eastern Zone of Australia: FK/C (Chesterfield Is.), VK1 (Capital Territory), VK2 (New
South Wales), VK3 (Victoria) and VK4 (Queensland), VK5 (South Australia), VK7 (Tasmania),
VK9L (Lord Howe Is.), VK9M (Mellish Reef), VK9 (Willis Is.), VK0M (Macquarie Is.) and some
Antarctic stations (See Notes Below).

Zone 31. Central Pacific Zone: C2 (Nauru), FO (Marquesas), KH1 (Baker Howland Is.), KH3
(Johnson Is.), KH4 (Midway Is.), KH5K (Kingman Reef), KH5 (Palmyra Jarvis), KH6 (Hawaii),
KH7K(Kure), KH9 (Wake Is), T2 (Tuvalu), T30 (Western Kiribati), T31 (Central Kiribati), and
T32 (Eastern Kiribati),T33 (Bananba Is), V7 (Marshall Is.), and ZK3 (Tokelau)

Zone 32. New Zealand Zone: A3 (Tonga), E5 (North and South Cook Is.) FK New Caledonia
but NOT Chesterfield Is.), FO (French Polynesia and Austral Is. but NOT Marquesas and
Clipperton), FW (Wallis Is.), H40(Temotu), KH8 (American Samoa), KH8S (Swains), VK9N
(Norfolk Is.), VP6 (Pitcairn and Ducie), YJ (Vanuatu), ZK2 (Niue Is.), ZL (New Zealand), ZL7
(Chatham Is.), ZL8 (Kermadec Is.), ZL9 (Auckland and Campbell Is.), 3D2 (Fiji, Rotuma, and
Conway Reef), 5W (Western Samoa) and some Antarctic stations (See Notes Below).

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 96


Zone 33. Northwestern Zone of Africa: CN (Morocco), CT3 (Madeira Is), EA8 (Canary Is.), EA9
(Ceuta and/or Melilla), IG9 (Pelagic Is.), IH9 IG9 (Pantelleria Is. or Pelagic Islands), S0
(Western Sahara), 3V (Tunisia), and 7X (Algeria).

Zone 34. Northeastern Zone of Africa: ST (Sudan), SU (Egypt), Z8 (South Sudan) and 5A
(Libya).
Zone 35. Central Zone of Africa: C5 (The Gambia), D4 (Cape Verde Is.), EL (Liberia), J5
(Guinea Bissau), TU (Cote d’Ivoire), TY (Benin), TZ (Mali), XT (Burkina Faso), 3X (Guinea), 5N
(Nigeria), 5T (Mauritania), 5U (Niger), 5V (Togo), 6W (Senegal), 9G (Ghana) and 9L (Sierra
Leone).

Zone 36. Equatorial Zone of Africa: D2 (Angola), S9 (Sao Tome Principe), TJ (Cameroon), TL
(Central African Rep.), TN (Congo), TR (Gabon), TT (Chad), ZD7 (St. Helena Is.), ZD8
(Ascension Is.), 3C (Equatorial Guinea), 3C0 (Annobon Is.), 9J (Zambia), 9Q (Democratic Rep.
of Congo), 9U (Burundi) and 9X (Rwanda).

Zone 37. Eastern Zone of Africa: C9 (Mozambique), ET (Ethiopia), E3 (Eritrea), J2 (Djibouti),


T5 (Somalia), 5H (Tanzania), 5X (Uganda), 5Z (Kenya), 7O (Socotra and Abd al Kuri islands
ONLY) and 7Q (Malawi).

Zone 38. South African Zone: A2 (Botswana), V5 (Namibia), ZD9 (Tristan da Cunha Gough Is.),
Z2 (Zimbabwe), ZS (South Africa) and ZS8 (Marion Is), 3DA (Swaziland), 3Y (Bouvet Is.), 7P
(Lesotho), and some Antarctic stations (See Notes Below)

Zone 39. Madagascar Zone: D6 (Comoros), FH (Mayotte), FR (Reunion),FT-G (Glorioso), FT-


J&E (Juan de Nova and Europa), FT-T (Tromelin), FT-W (Crozet Is.), FT-X (Kerguelen Is.),
FT-Z (Amsterdam St. Paul Is.), S7 (Seychelles), VK0 (Heard Is.), VQ9 (Chagos), 3B6/7
(Agalega St.Brandon Is.), 3B8 (Mautitius Is.), 3B9 (Rodriguez Is.), 5R (Madagascar) and some
Antarctic stations (See Notes Below)

Zone 40. North Atlantic Zone: JW (Svalbard), JX (Jan Mayen), OX (Greenland), RI1FJ (Franz
Josef Land), and TF (Iceland).

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 97


Antarctic notes:

The boundaries of CQ zones 12, 13, 29, 30, 32, 38 and 39 converge at the South Pole.

Stations KC4AAA and KC4USN are at the South Pole, and will count for any one of the listed
zones.

Most Antarctic stations indicate their zone on the QSL card.

VK0GM 29, VP8ME 38; YB8ANT 38, and ZL5AA 30. The list changes frequently. Questions
regarding the zone of a particular Antarctic station should be directed to the WAZ Manager.

Ref. http://www4.plala.or.jp/nomrax/CQ/
http://www.cq-amateur-radio.com/…/cq_waz_a…/cq_waz_list.html

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 98


ITU ZONE

ITU Zone คือ การแบ่งโซน เพื่อใช้อา้ งอิงของ ITU (International Telecommunication Union)
เพื่อใช้ในการแข่งขัน และการให้รางวัลต่าง ๆ เป็นทีน่ ิยมพิมพไว้เพือ่ อ้างอิงใน QSL CARD คู่กบั CQ
ZONE ของนักวิทยุสมัครเล่นทุกคนเช่นกัน ซึ่งมีการแบ่งดังภาพด้านบน โดยเป็นการแบ่งตามภูมภิ าคทัง้
3 ของ IARU (International Amateur Radio Union)

IARU Region 1: Europe, Africa, Middle East and Northern Asia

IARU Region 2: The Americas

IARU Region 3: Asia-Pacific

โดยมีทงั ้ หมด 90 ITU Zone โดยประเทศไทยอยู่ใน ITU Zone 49 อันประกอบไปด้วย ไทย ,


ลาว , กัมพูชา , พม่า , เวียดนาม และ เกาะอันดามันและนิโคบา (Andaman and Nicobar Island)

ที่มา : http://www.itu.hamatlas.eu/menu.htm

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 99


Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 100
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 101
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 102
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 103
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 104
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 105
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 106
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 107
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 108
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 109
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 110
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 111
Cabrillo Format คืออะไร

เมื่อก้าวสู่วทิ ยุสมัครเล่นขัน้ กลาง หลังจากเล่นจนชัวโมงบิ


่ นสูง ๆ ขึน้ แล้ว คราวนี้เพือ่ น ๆ ก็
อยากจะเริม่ หาสิง่ แปลกใหม่ เข้ามาสู่ชวี ติ กันบ้างแล้ว

การแข่งขัน หรือ Contest ก็เป็นอีกวิธหี นึ่งทีจ่ ะทาให้สามารถติดต่อเพือ่ เพิม่ ประเทศใน List ของ
เราได้ เพราะการแข่งขันรายการใหญ่ ๆ หลาย ๆ รายการ เหล่าบรรดา DX'ER ต่าง ๆ ต่างก็รวมทีมกัน
เพื่อออกไปเล่นตามสถานทีต่ ่าง ๆ และสถานีใหญ่ ๆ ในหลาย ๆ ประเทศ ก็มกั จะเข้าร่วมการแข่งขันใน
ทุกรายการ Contest ใหญ่ ๆ ของโลกกันแทบจะทัง้ สิน้

ซึ่งเมื่อแข่งขันเสร็จ ก็จะต้องมีการส่ง Log เพื่อตรวจสอบคะแนนหรือ Check Log ซึ่ง Log ต่าง


ๆ ทีเ่ ป็น electronic Log ก็จะต้องมี Cabrillo Format แทบจะทุก Contest Log เนื่องจาก Cabrillo
Format หรือ Cabrillo File นัน้ คือ มาตรฐานของ Electronic Log สาหรับการแข่งขัน ทีบ่ รรดาผูเ้ ข้า
แข่งขันทีต่ อ้ งการส่ง Log เพื่อแข่งขัน หรือ เพื่อตรวจสอบ Log ผูส้ ่ง Log จะต้องแปลง Log format จาก
ADIF ให้เป็น Cabrillo Format ก่อนส่ง Log ทุกครัง้

จากข้อสอบ Extra Class


Q : What is the Cabrillo format?
A : A standard for submission of electronic contest logs

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 112


QSL MANAGER / ผูจ้ ดั การบัตรยืนยันการติ ดต่อสื่อสาร

พอดีนงแปลข้
ั่ อสอบ US Exam ขัน้ Extra Class ไปเรื่อย ๆ เพือ่ เก็บไว้เป็น Database สาหรับ
เพื่อน ๆ ทีจ่ ะสอบแต่ตอ้ งการลดเวลาการแปล ไปเจอข้อสอบข้อหนึ่งซึ่งดูน่าสนใจสาหรับ เพือ่ น ๆ ขัน้
กลางมือใหม่ เลยเอามาเล่าสู่กนั ฟงั เพราะเมื่อท่านเล่นวิทยุขนกลางไปเรื
ั้ ่อย ๆ ท่านอาจจะเจอคาถามนี้
ในความถี่

Q :What is the function of a DX QSL Manager?


A :To handle the receiving and sending of confirmation cards for a DX station

QSL Manager คือ ผูท้ ไ่ี ด้รบั การไว้วางใจจากเรา เพื่อให้มาจัดการ กับ การรับและการส่งบัตร
ยืนยันการติดต่อสื่อสาร (QSL Card)

ทาไมต้องมี QSL Manager ในบางครัง้ สถานี DX ได้รบั การติดต่อจากบรรดานักวิทยุฯ ทัวโลก ่


ในการออกอากาศแต่ละครัง้ ในการติดต่อแต่ละครัง้ หนึ่ง ไม่ต่ากว่า 1000 QSO's ซึ่งถ้าต้องเล่นด้วย และ
ตอบการ์ดด้วย ก็คงเป็นปญั หาใหญ่พอดูสาหรับเขาเหล่านัน้ ก็จะมีนกั วิทยุฯ บางท่าน ก็จะเสนอตัวเพื่อ
เข้ามาช่วยบริหารจัดการเรื่องดังกล่าวให้ เขาเหล่านัน้ เพื่อลดภาระในการ รับ ส่ง QSL Card ลงไป

แล้ว QSL Manager ได้อะไร QSL Manager ส่วนใหญ่เขาจะทางานด้วยใจรักในกิจการ ส่วน


ค่าตอบแทนก็จะได้จากส่วนต่างจาก Green Stamp หรือ การขาย IRC Coupon หลังการจ่ายค่าตอบ
กลับ QSL Card แล้ว พอเป็นสินน้ าใจ

เมื่อมีคาว่า QSL Manager ก็ตอ้ งอยากให้เพือ่ น ๆ ขันกลางใหม่


้ ๆ ได้รจู้ กั คาว่า QSL
Information ซึ่งหมายถึง ข้อมูลในการส่งบัตรยืนยันการติดต่อสือ่ สาร บางครัง้ ในวง Pile up ถ้าจะต้องมา
ถามถึงทีอ่ ยู่ของแต่ละคน จะทาให้กนิ เวลาในการติดต่อได้ เพราะ ความถี่ HF บางครัง้ สัญญาณอาจจะรับ
ได้ดมี าก แต่เพียงเสีย้ ววินาที อาจจะรับไม่ได้เลย (หรือบางท่านอาจจะเรียกว่า Band ปิด หรือ Band
Closed) ดังนัน้ QSL Information หรือ QSL Info เป็นสิง่ สาคัญมาก นักวิทยุส่วนใหญ่มกั จะไป
ลงทะเบียน QSL Info ของตนเองไว้ท่ี http://www.QRZ.com เพื่อเป็น information

ดังนัน้ เวลา ระหว่างการสนทนา และเพือ่ นถามถึง QSL Info เราก็สามารถตอบได้เลยว่า QSL


info VIA QRZ.COM อย่างนี้เป็นต้น ทัง้ PHONE และ CW

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 113


IOTA (Islands on the Air)

Islands on the Air (IOTA) เป็นการออกอากาศจากบนเกาะต่าง ๆ จากบนโลกนี้ โดยสมาคมวิทยุ


สมัครเล่นแห่งราชอาณาจักรอังกฤษ หรือ Radio Society of Great Britain (RSGB) เป็นผูก้ าหนด
หมายเลขเกาะต่าง ๆ โดยแบ่งตามทวีปเป็นดังนี้คอื NA , SA , AF , EU , AS , AN and OC ตามด้วย
Number 3 หลัก ตามลาดับการจัดสรร

การออกอากาศจากบนเกาะ หรือ Islands on The Air (IOTA) เป็นโปรแกรมทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ส่งเสริม


กิจกรรมเกีย่ วกับวิทยุสมัครเล่น ในการทีใ่ ห้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน และเป็นการสร้างความท้าทาย
ให้กบั นักวิทยุสมัครเล่นอีกทางหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจาก ARRL DXCC ทีเ่ ป็นการติดต่อระหว่างประเทศกับ
ประเทศ

แต่ IOTA (Islands On The Air) เป็นการติดต่อระหว่างนักวิทยุสมัครเล่น กับนักวิทยุสมัครเล่น ทีต่ งั ้


สถานีอยู่บนเกาะรอบโลก ซึ่งมีหลายร้อยหลายพันเกาะ โดย IOTA ได้แบ่งกลุ่มเกาะต่าง ๆ ออกได้เป็น
1200 เกาะ บางเกาะใน IOTA List มีเพียงเกาะเดียว แต่บางกลุม่ ของ IOTA ก็มอี ยู่หลายเกาะรวมกัน

ั ่ นดามัน โดย IOTA ได้แบ่งเกาะต่าง


ในประเทศไทยได้มเี กาะอยู่หลายเกาะในพืน้ ทีแ่ ถบอ่าวไทย และฝงอั
ๆ ในประเทศไทย ออกเป็น 6 กลุ่ม และหมายเลขเกาะต่าง ๆ ได้ดงั นี้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 114


1. AS053
Group Name: Malay Peninsula West group
Claimed by: 43.3% of participants.
Main prefix: HS
Location: 7.00N - 9.97N / 97.50E - 99.67E
DXCC: THAILAND
Group Contains:
Chan
Chang
Hai
Jum
Lanta Noi
Lanta Yai
Middle
Muk
Perforated
Phayam
Phi Phi
Phuket
Ra
Racha Noi
Racha Yai
Sayer
Yao Noi
Yao Yai
Similan Islands :
Bangu
Huyong
Miang
Payan
Payang
Payu
Similan

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 115


2. AS-101
Group Name: Malay Peninsula East group
Claimed by: 29.7% of participants.
Main prefix: HS
Location: 9.00N - 12.00N / 99.13E - 100.25E
DXCC: THAILAND
Group Contains:
Pha Luai
Phangan
Samui
Tao

3. AS107
Group Name: Gulf of Thailand North group
Claimed by: 28.1% of participants.
Main prefix: HS
Location: 12.00N - 13.50N / 99.95E - 102.00E
DXCC: THAILAND
Group Contains:
Khram
Lan
Pai
Samet
Si Chang

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 116


4. AS125
Group Name: Gulf of Thailand North East group
Claimed by: 25.6% of participants.
Main prefix: HS
Location: 11.50N - 12.50N / 102.00E - 102.92E
DXCC: THAILAND
Group Contains:
Chang
Kut
Mak

5. AS126
Group Name: Malay Peninsula South West group
Claimed by: 30.0% of participants.
Main prefix: HS
Location: 6.43N - 7.00N / 99.08E - 100.10E
DXCC: THAILAND
Group Contains:
Butang Group :
Adang
Bitsi
Bulon
Butang
Butang Group
Glang
Gra
Hin Ngam
Jabang
Kai
Lipe
Rawi
Tarutao
Yang

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 117


6. AS145
Group Name: Malay Peninsula South East group
Claimed by: 28.9% of participants.
Main prefix: HS
Location: 6.23N - 9.00N / 99.95E - 102.08E
DXCC: THAILAND
Group Contains:
Kra
Maeo
Nu

โดย IOTA ก็มรี างวัลเหมือนกับ DXCC ซึ่งหากนักวิทยุสมัครเล่นท่านใด สามารถติดต่อสถานีท่ี


ออกอากาศจากบนเกาะ และมีหมายเลขเกาะยืนยันใน QSL Card และถูกต้องตามกติกาของ IOTA
Rule แล้ว ตัง้ แต่ 100 เกาะ ขึน้ ไป ก็สามารถส่ง QSL Card ของท่าน ไปขึน้ รางวัลกับทาง IOTA Award
ได้เหมือนกับ DXCC

โดยเพื่อน ๆ สามารถทีจ่ ะหาข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับ IOTA ได้จากhttp://www.rsgbiota.org/info/

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 118


" Portable หรือ / (Slash) "

อันนี้กน็ ่าจะเป็นอีกเรื่องหนึ่งทีน่ กั วิทยุสมัครเล่นรุ่นใหม่ ต้องถามว่า มันคืออะไรครับ ไม่เห็นมีในการสอบ


อีกแล้ว แล้วพีไ่ ปเอามันมาจากไปล่ะ โม้หรือเปล่า

ถ้าอยากรูก้ ต็ ามมาอ่านดีกว่า จะได้รบั ประสบการณ์ใหม่ ๆ ทีบ่ างครัง้ เราอาจจะยังไม่ทราบก็เป็นไปได้


จริง ๆ แล้วเรื่องนี้มนั ไม่ใช่เรื่องใหม่ในกิจการวิทยุฯ เพียงแต่นกั วิทยุฯ ไทย ไม่ค่อยให้ความสนใจสัก
เท่าไร

Portable หรือ / นัน้ เป็นการ Identified อย่างหนึ่งสาหรับการออกอากาศนอกเขตทีต่ นเองมี License


ระบุอยู่ ยกตัวอย่างเช่น ผม E21IZC เป็นคนกรุงเทพฯ ได้ใบอนุญาตทีก่ รุงเทพฯ ต่อมาย้ายบ้านมาอยู่ท่ี
สมุทรสาคร กับ ทีช่ มุ พร

ดังนัน้ เมื่อผมออกอากาศ ผมจะต้องมี Identified ต่อท้ายสัญญาณเรียกขานผมเป็น E21IZC/7 กรณี


ออกอากาศทีส่ มุทรสาคร หรือ E21IZC/8 กรณีออกอากาศทีช่ มุ พร เพื่อบอกว่าตอนนี้ ผมมาออกอากาศ
ที่ เขต 7 หรือ เขต 8 นะครับ ไม่ใช่ออกอากาศอยู่ท่ี ๆ ได้ใบอนุญาต

ในบางครัง้ นักวิทยุฯ ขันกลาง


้ ใหม่ ๆ เมือ่ ออกอากาศ และติดต่อกับ นักวิทยุฯ ญี่ปนุ่ จะคงเคยเจอ
JA1???/1 คงสงสัยกันว่า เฮ้ย มันก็เขต 1 แล้วยังจะมา /1 กันทาไมอีก การ Identified สัญญาณเรียก
ขานแบบนี้ นันหมายถึ
่ งว่า เขาไม่ได้ออกอากาศจากที่ ๆ ได้รบั อนุญาตครับ เช่น ผมอาจจะได้รบั อนุญาต
ที่ กทม. แต่ไปออกอากาศที่ อยุธยา ผมก็ตอ้ ง Identified เป็น E21IZC/1 ประมาณนี้ครับ

ทีน้จี ากเรือ่ ง เขต มาเป็นเรื่องการออกอากาศจากสถานีทเ่ี คลือ่ นที่ เช่น ยานพาหนะ , เรือ , หรือ อากาศ
ยาน เขาก็มวี ธิ ใี ช้ดงั ต่อไปนี้ครับ
ยานพาหนะ = /M (Mobile)
เรือ = /MM (Maritime Mobile)
อากาศยาน = /AM (Aeronautical Mobile)

แต่หากเป็นการออกอากาศจาก Out Land เช่นการออกอากาศจากบนเกาะต่าง ๆ แล้ว มักจะใช้เป็น /p


หรือ Portable เช่น ผมวันดีคนื ดี นึกอยากไปเทีย่ วเกาะเต่า เพราะอยู่ใกล้บา้ น และนาวิทยุไปออกอากาศ
ด้วย เวลาผมขานสัญญาณเรียกขาน จะเป็น E21IZC/p

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 119


ยิง่ ในปจั จุบนั นี้ มีการรวมสัญญาณเรียกขานและออกเป็นหมวดเดียวทัง้ ประเทศ ทาให้ทุกวันนี้ไม่ทราบ
เลยว่า ใครอยู่จงั หวัดไหน เช่น ไปทางเหนือ ก็มี E23 ไปทางอิสาน ก็มี E23 ซึ่งจริง ๆ แล้ว E23 น่าจะ
เป็นทางอิสานตอนล่างหากเป็นการแบ่งเขตตามปกติ

ซึ่งจริง ๆ แล้วหากเป็นการรวมสัญญาณเรียกขานทัง้ ประเทศอย่างนี้ ในความคิดผมแล้ว ควรทีจ่ ะใช้ว ิธี


ปฏิบตั ติ ามสากลนี้ เพื่อทีจ่ ะได้ไม่สบั สนครับ

ความหมายของคาว่า A1 OPERATOR

ทาไมจึงเรียกมือ CW ทีเ่ ก่ง ๆ ว่า A1 Operator เพราะ A1 มาจาก class of emision ของ cw
คือ A1A หรือ on off keying จึงเป็นทีม่ าของคานี้ครับ

Why to call a excellent CW guy on A1 Operater? Because A1 is from class of emision


of CW "A1A " / on off keying. This is meaning of A1 Op.

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 120


WITH THE GROUP

With the group. คาๆ นี้ ผมไม่แน่ใจว่านักวิทยุสมัครเล่นรุน่ ใหม่ ๆ จะรูจ้ กั กันหรือไม่อย่างไร

ถ้าอยากรูก้ ต็ ดิ ตามมาอ่านกันครับ

With the group. หากแปลเป็นภาษาไทยแบบงู ๆ ปลา ๆ ของผมก็น่าจะแปลได้ประมาณว่า กับกลุ่ม


งงกันอะดิ ว่า แล้วมันมาเกีย่ วกับวิทยุได้ยงั ไง หลาย ๆ คน คงคิดว่าทาไมเมื่อเข้ามาอ่านในเพจของผม
ผมชอบมีอะไรมาเล่าในสิง่ แปลก ๆ ทีไ่ ม่เคยเจอเลยในการสอบ และการเป็นนักวิทยุฯ มาทัง้ ชีวติ

With the group เป็นการกล่าวขานหลังการขานสัญญาณเรียกขาน ในกรณีทเ่ี ราไม่ได้คยุ กันอยู่เพียงคู่


เดียวในความถี่ ยกตัวอย่างเช่น E21IZC กาลังสนทนากับ E27EK อยู่ในความถี่ โดยมี HS7UCQ และ
HS7TRW ก็ร่วมวงสนทนาอยู่เช่นกัน

ในระหว่างการสนทนา จาต้องมีการขานสัญญาณเรียกขานของเราและคู่สนทนาเพือ่ ให้ท่านอื่น ๆ ทีผ่ า่ น


ไปมา ได้ทราบว่าใครกาลังสนทนากับใคร

ผมก็จะขานสัญญาณเรียกขาน เป็นดังนี้ E27EK จาก E21IZC With the group.


ดังนัน้ คาว่า With the group จึงเป็นการแสดงถึงว่า ในความถีร่ ะหว่างทีผ่ มกาลังสนทนากับ E27EK นัน้
ยังมี HS7UCQ กับ HS7TRW อยู่ในความถีด่ ว้ ยนะครับ ไม่ใช่เพียงผมกับ E27EK คุยกันอยู่เพียงสอง
คน และเพือ่ เป็นการบอก เพื่อนด้วยว่าเรายังไม่ลมื ว่ายังมีพวกเขาอยู่ในความถีด่ ว้ ย

ทีน้กี ม็ บี างท่านไม่เข้าใจทีม่ าของคานี้เท่าไร ได้นาคานี้ไ ปใช้อย่างผิด ๆ ไม่มคี วามหมาย ดังเช่น มีบาง


กลุ่มเอาไปใช้ เป็น " มิตรตะกรุ๊ป " คือ นาคาไทยไปผสมกับภาษาอังกฤษซะงัน้ โดยนาไปเป็นชือ่ กลุ่มซะ
เลย เช่น " มิตรตะกรุ๊ปปากน้ า " หรือ มิสเตอร์กรุ๊ป อะไรประมาณนี้

คราวนี้เพือ่ น ๆ ก็คงพอทราบทีม่ าของคานี้แล้วนะครับว่า จริง ๆ แล้วทีม่ าของมัน มาจากคาว่าอะไร และ


ใช้อย่างไร มีความหมายอย่างไร หวังว่าคงจะใช้กนั ให้ถูกต้องขึน้ นะครับ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 121


ทาอย่างไรเมื่อ Prefix E2 หมดลง

เคยมีเพื่อนบางท่านมาถามผมว่า ถ้า Prefix E2 หมดแล้วเราจะทายังไง ผมตอบเพื่อนว่า อยูท่ ่ี


NBTC เพราะผมก็ไม่ทราบว่า NBTC ได้เคยคิดเรื่องนี้ไว้หรือยัง เพราะยังไม่เห็นมีความคืบหน้าในการ
ขอ Prefix ใหม่แต่อย่างใด มีแต่การยกเลิกสาหรับคนทีไ่ ม่ได้ตอ่ อายุเกิน 2 ปี และการออก Callsign แบบ
รวมเขต

เพื่อนบางท่านก็ถามผมว่าถ้าขอใหม่ เราจะใช้ E3 ได้หรือไม่ ผมก็ไปหาคาตอบมาให้เพื่อนๆ


แล้วครับว่า คงจะหมดโอกาสซะแล้ว เพราะเราไม่ขอตัง้ แต่แรก ๆ ให้มนั มาก ๆ เพื่อเพียงพอกับความ
ต้องการของการเพิม่ ขึน้ ของจานวนนักวิทยุสมัคเล่น เพราะคนไทยชอบความพอเพียงเป็นใหญ่ เลยเอา
แต่น้อยก็พอไม่เคยวางแผนระยะยาวแต่อย่างใด

นอกเรื่องไปแล้ว ทีน้มี าว่ากันถึง E3 เป็น Prefix ของ State of Eritrea ซึ่งเพื่อน ๆ ก็คงถามผม
ต่ออีกว่า แล้วมันอยู่ตรงส่วนไหนของโลกใบนี้ ไม่เคยได้ยนิ ชือ่ นี้เลย

ก็ลองไปดูแผนทีค่ รับ E3 State of Eritrea ตัง้ อยู่บนทวีป Africa อยู่ทางตอนกลางของทวีป ค่อน


มาทางเอเซีย

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 122


โดย

ทางเหนือ และ ตะวันตก ติดกับ ซูดาน


ทางใต้ ติดกับ เอธิโอเปีย และจิบูตี
ทางตะวันออก ติดกับ ทะเลแดง และฝงทวีั ่ ปเอเซีย ตรงข้ามกับ ซาอุดอิ าระเบีย และ เยเมน

เมื่อมองจากแผนทีจ่ ะเห็นว่า E3 จะอยูใ่ น Area ทีม่ คี วามปลอดภัยค่อนข้างน้อยมาก เพราะอยู่


ในกลุ่ม โซมาเลีย ทีเ่ คยมีขา่ วเรื่องโจรสลัด

E30FB มีทม่ี าอย่างไร

E30FB เกิดจาก การทางานของ มูลนิธเิ พื่อเด็กทัวโลก


่ หรือ SEISA Foundation for Global Children
ได้จดั ทา Eritrea Project 2015 ขึน้ ในประเทศ Eritrea

โดย กรรมการและสมาชิกของมูลนิธดิ งั กล่าว ส่วนหนึ่งก็เป็นนักวิทยุสมัครเล่น จึงได้วางแผนทีจ่ ะทางาน


พร้อมกับการออกอากาศจากประเทศทีย่ งั ไม่มกี จิ การวิทยุฯ ไปด้วย โดยออกอากาศระหว่างวันที่ 6 - 17
มีนาคม 2558

พวกเขาใช้เวลาดาเนินการหลายเดือนมากในการวางแผนและการเจรจากับการออกอากาศจาก E3 โดย
สัญญาณเรียกขายของวิทยุสมัครเล่น

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 123


ในการออกอากาศดังกล่าว พวกเขาใช้วทิ ยุ 4 เครื่อง ประกอบด้วย

- Elecraft K3 กับ KPA500 Amplifier จานวน 2 ชุด


- Kenwood TS590 กับ ACOM 1010 Linear Amplifier จานวน 2 ชุด

สาหรับสายอากาศ พวกเขาใช้สายอากาศทิศทาง สาหรับความถีย่ า่ น 10-20 Meter Band และ


สายอากาศแบบ Vertical 4 ชุด สาหรับ ความถี่ Low Band (30-160 Meter).
โดยมี Tim – M0URX เป็นผูจ้ ดั การบัตรยืนยันการติดต่อสื่อสาร / QSL Manager.

http://eritreaproject.net/

ทีน้กี ม็ เี พื่อนถามเข้ามาต่อว่า แล้ว E4 , E5 , E6 , E7 เราสามารถกันได้หรือไม่

ต้องตอบว่าไม่ได้ตราบใดทีย่ งั ไม่ได้รบั การจัดสรรจาก ITU แต่ทงั ้ นี้ E4-E7 ก็ได้รบั การจัดสรรไปแล้วดัง


รายละเอียดด้านท้าย

E4 จัดสรรให้กบั Palestine อยู่ในโซนเอเชีย (AS)


E5 จัดสรรให้กบั North Cook Is. และ South Cook Is. อยู่ในโซนโอเชเนีย (OC)
E6 จัดสรรให้กบั Niue อยู่ในโซนโอเชเนีย (OC)
E7 จัดสรรให้กบั Bosnia-Herzegovina อยู่ในโซนยุโรป (EU)

ซึ่งหากจะได้รบั การจัดสรร Prefix ใหม่ ก็คงจะเริม่ ได้จาก E8 เป็นต้นไปครับ

ทีม่ าของข้อมูล : http://www.arrl.org/files/file/DXCC/2015_Current_Deleted.txt

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 124


ทาความเข้าใจกับคาย่อของนักวิ ทยุฯ ว่าเราควรจะใช้อะไรดี

มีเพื่อน ๆ หลาย ๆ คนถามมาทีผ่ มเป็นอย่างมากว่า คุณโทนี่ เมื่อเราเป็นนักวิทยุฯ แล้วเราควร


เรียกตัวเราเองว่าอะไรดี ระหว่าง VR / AR / HAM หลาย ๆ ท่านก็คงอยากรูเ้ หมือนเพื่อน ๆ ใช่ไม๊ครับ
ว่า แล้วเราควรเรียกตัวเราว่าอะไรดี ระหว่างคาดังกล่าวข้างต้น

ก่อนอืน่ เราก็ตอ้ งมารูท้ ม่ี าของคาเหล่านี้ก่อนว่า มันมีทไ่ี ปทีม่ าอย่างไร ซึง่ คงต้องเล่าประวัตขิ อง
กิจการวิทยุสมัครเล่นไทยอย่างคร่าว ๆ ก่อนว่าวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย เป็นกิจกรรมอดิเรกที่
เริม่ ต้นครัง้ แรกเมื่อได้มกี ารก่อตัง้ สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย

เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 แต่กจิ การวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย ยังไม่ได้รบั การ


รับรองจากสากลในขณะนัน้ กระทังได้ ่ รบั การรับรองอย่างถูกต้องตามกฎหมายอย่างแท้จริงเมือ่ วันที่ 4
สิงหาคม พ.ศ. 2530 จากการประกาศใช้ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่
วิทยุแห่งชาติวา่ ด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ. 2530

ก่อนหน้านัน้ กิจการวิทยุสมัครเล่น มีขน้ึ ในประเทศไทยหลายสิบปีแล้ว ซึ่งมากกว่า 60 ปี แต่ก ็


ไม่ได้รบั ความสนใจจากทัง้ ประชาชนทัวไปและจากรั
่ ฐบาลเท่าใดนัก นับจากก่อตัง้ เป็นเวลากว่า 40 ปีท่ี
ได้รบั ความสนใจจากประชาชนทัวไปมากขึ
่ น้ เป็นลาดับ โดยทีส่ มาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย มี
วัตถุประสงค์ " เพื่อเป็นสมาคมของนักวิทยุสมัครเล่นทีม่ ใิ ช่เพื่อการค้า แต่รวมกันเพื่อส่งเสริมความสนใจ
เกีย่ วกับการทดลองวิทยุเพือ่ ความก้าวหน้าทางศิลปการวิทยุ และผดุงไว้ซ่งึ ชือ่ เสียงของนักวิทยุ
สมัครเล่น ทัง้ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ และเพื่อแลกเปลีย่ นความรูค้ วามคิดเห็นซึ่งกันและกัน
โดยไม่เกีย่ วข้องกับการเมือง"

สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย พยายามดาเนินการกิจการวิทยุสมัครเล่นในประเทศไทย
ให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยขออนุญาตทากิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจการวิทยุสมัครเล่นมาโดย
ตลอด เช่น การเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมแข่งขัน ระดับนานาชาติในรายการแข่งขันวิทยุสมัครเล่น
ต่างๆ รวมทัง้ เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันรายการต่างๆ หลายรายการ นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2520 เป็น
ต้นมา ซึ่งได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถีว่ ทิ ยุแห่งชาติในสมัยนัน้
ให้มกี ารจัดตัง้ สถานีชวคราวขึ
ั่ น้ ได้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 125


จุดเริ่ มต้นของคาที่นักวิ ทยุฯ ชอบใช้แทนตัวเองว่า " VR "

ต่อมามีการจัดตัง้ "ชมรมวิทยุอาสาสมัคร" ในปี พ.ศ. 2524 ขึน้ โดย พล.ต.ต.สุชาติ เผือกสกนธ์


ซึ่งดารงตาแหน่งอธิบดีกรมไปรษณียโ์ ทรเลขในขณะนัน้ และได้มกี ารจัดให้มกี ารสอบเพือ่ รับ
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่นเป็นครังแรกในประเทศไทย ้ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524
ซึ่งในครัง้ นัน้ มีการกาหนดสัญญาณเรียกขานเป็น " VR " (ย่อมาจาก Volunteer Radio : นักวิทยุ
อาสาสมัคร) โดยเริม่ จาก VR001 ไปเรื่อยๆ มีผสู้ มัครสอบประมาณ 500 คน และสอบผ่าน 311 คน ผูท้ ่ี
สอบได้จะเรียกตัวเองว่า " นักวิทยุอาสาสมัคร " แต่เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ นักวิทยุอาสาสมัครได้ใช้ความถี่
วิทยุสมัครเล่น ช่วยเหลือสังคม และงานต่างๆ ของทางราชการตลอดมา ซึ่งก็เป็นครัง้ แรกทีป่ ระชาชน
ทัวไปได้
่ มสี ทิ ธิใช้งานความถีว่ ทิ ยุ ซึ่งไม่เกีย่ วข้องกับธุรกิจการค้า การเมือง และศาสนา ซึ่งหลังจากนัน้
คณะกรรมการชมรม ได้จดทะเบียนเป็นนิตบิ คุ คลในรูปแบบของสมาคม ภายใต้ชอ่ื " สมาคมวิทยุ
อาสาสมัคร " มีชอ่ื ภาษาอังฤษว่า " Voluntary Radio Association (VRA) " ในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.
2526 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นศูนย์รวมนักวิทยุอาสาสมัคร ช่วยเหลือสังคมและสาธารณประโยชน์
แลกเปลีย่ นความรูท้ างเทคนิคระหว่างสมาชิกและพัฒนาวิชาการด้านวิทยุคมนาคม โดยการปฏิบตั กิ าร
ติดต่อสื่อสารของสมาชิกทัง้ หมดไม่เกีย่ วข้องกับธุรกิจหรือศาสนา และไม่มวี ตั ถุประสงค์เกีย่ วข้องกับ
การเมือง

กาเนิ ดกิ จการวิ ทยุสมัครเล่นไทยอย่างถูกต้ องตามกฎหมาย

" กิจการวิทยุสมัครเล่น " ได้รบั การรับรองอย่างถูกต้องตามกฎหมายอย่างแท้จริงเมือ่ วันที่ 4


สิงหาคม พ.ศ. 2530 จากการประกาศใช้ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่
วิทยุแห่งชาติ ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ. 2530 นับได้วา่ เป็นการเปิดโอกาสให้มกี ารติดต่อสื่อสาร
แบบ " นักวิทยุสมัครเล่น " อย่างแท้จริงขึน้ ในประเทศไทย โดยกาหนดสัญญาณเรียกขานทีเ่ ป็นสากล
ตามข้อกาหนดของ สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ซึ่งกาหนดให้ประเทศไทยใช้สญ ั ญาณเรียก
ขานทีข่ น้ึ ต้นด้วย " HS " และในเวลาต่อมาได้กาหนดสัญญาณเรียกขาน " E2 " เพิม่ ให้กบั ประเทศไทย

จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น นี่เองคือทีม่ าของคาว่า " VR " ทีน่ กั วิทยุสมัครเล่นไทย ต่างใช้คาย่อ " VR
" นี้ แทนตัวเองอย่างตลอดมา เสมือนหนึ่งคาว่า " VR " คือ คาแปลว่านักวิทยุสมัครเล่น แต่แท้จริงแล้ว "
VR " นัน้ การกาหนดสัญญาณเรียกขาน จะถูกจัดสรรโดย สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ
ITU เป็นผูก้ าหนดคานาหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สาหรับสถานีวทิ ยุและสถานีโทรทัศน์ทุก
ชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศทีจ่ ะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนัน้ เป็นการผสมกัน
ระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกาหนดให้ขน้ึ ต้นด้วยคานาหน้าสัญญาณเรียกขานที่
กาหนดมาสาหรับประเทศนัน้ ๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวธิ กี ารกาหนดสัญญาณเรียกขานให้กบั ผูใ้ ช้ท่ี
อาจแตกต่างกันออกไป

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 126


โดย PREFIX " VR " นัน้ ITU ได้กาหนดให้กบั สาธารณรัฐประชาชนจีน / เขตการปกครองพิเศษฮ่องกง
มิใช่เป็น PREFIX ของไทยแต่ประการใด

ดังนัน้ เมื่อ กิจการวิทยุสมัครเล่นไทย ได้รบั การรับรองอย่างถูกต้องตามกฎหมายแล้ว เมื่อ วันที่


4 สิงหาคม 2530 ตัง้ แต่นนั ้ เป็นต้นมา นักวิทยุสมัครเล่นไทย ทีเ่ คยได้รบั สัญญาณเรียกขานของ " นัก
วิทยุอาสาสมัคร " ก็จะได้สญ ั ญาณเรียกขานทีเ่ ป็นสากลถูกต้องตามระเบียบ แต่ทงั ้ นี้กย็ งั คงมีนกั วิทยุ
อาสาสมัครบางท่าน ทีย่ งั คิดว่า การใช้สญ ั ญาณเรียกขานสากล ดูไม่ขลังเท่า การใช้ สัญญาณเรียกขาน
ของ " นักวิทยุอาสาสมัคร " จึงยังคงทีจ่ ะคงไว้ในการเรียกขานสัญญาณเรียกขานตัวเองเป็น " VR " แต่
หารูไ้ ม่วา่ ในสากลแล้ว PREFIX " VR " ไม่ใช่ของประเทศไทยแต่อย่างใด

อีกทัง้ ค่านิยมของนักวิทยุสมัครเล่นไทย ยังคงเป็นค่านิยมที่ CONSERVATIVE หรือ เป็น


ค่านิยมโบราณ โดยจะวัดความเก่าของ การเป็นนักวิทยุสมัครเล่นจากสัญญาณเรียกขาน มากกว่า ขันที ้ ่
สูงกว่าของการเป็นนักวิทยุสมัครเล่น ซึง่ ก็เป็นอะไรทีถ่ อื ยึดติดต่อกันมาจากรุ่น สู่รุ่น และถือปฏิบตั กิ นั
เป็นค่านิยมทีผ่ ดิ ๆ มาโดยตลอด และนี่เอง จึงเป็นเหตุให้นกั วิท ยุสมัครเล่นไทยมักนิยมทีจ่ ะเรียกแทน
ตัวเองว่า " VR " มาโดยตลอด

ในปจั จุบนั เมือ่ กระแสเรือ่ งการเรียกตนเองของนักวิทยุสมัครเล่นไทย ทีเ่ รียกตัวเองว่า " VR "


เริม่ มีกระแสแรงขึน้ ก็มกี ารบัญญัตคิ าย่อใหม่ขน้ึ มาอีกว่า ตัวเองคือ " AR " หรือ AMATEUR RADIO ซึ่ง
คาย่อนี้ ในกิจการวิทยุสมัครเล่นระหว่างประเทศแล้ว ไม่ได้มกี ารบัญญัตไิ ว้แต่อย่างใด

ในกิจการวิทยุสมัครเล่นแล้ว คาแสลง ทีใ่ ช้เรียกแทนตัวเองของนักวิทยุสมัครเล่นมีอยู่คาเดียวคือ


HAM หรือ แฮม โดย HAM นัน้ เป็นคาแสลงหมายถึง นักวิทยุสมัครเล่น ซึ่งเป็นทีย่ อมรับกันโดยทัวไป่
และถูกบรรจุลงในพจนานุกรมแล้ว

ส่วนคาว่า RADIO AMATEUR นัน้ เป็นคาปกติทห่ี มายถึง นักวิทยุสมัครเล่น และ คาว่า


AMATEUR RADIO หมายถึง(กิจการ) วิทยุสมัครเล่น

*** ดังนัน้ หากจะใช้คาย่อแทน นักวิทยุสมัครเล่น น่าทีจ่ ะใช้คาว่า RA จะถูกกว่าหรือไม่ แทนที่


จะใช้ AR ทีม่ าจากคาย่อของ กิจการวิทยุสมัครเล่น *** (ความเห็นของผูเ้ ขียนแต่เพียงผูเ้ ดียว)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 127


คาว่า HAM นัน้ ไม่มที ไ่ี ปทีม่ าอย่างชัดเจนว่ามีทไ่ี ปทีม่ าว่ามาจากคาใด ซึ่งมีหลากหลายทีม่ า
โดยคุณ เฟรดเดอริค โอ มาไออา CALLSIGN W5YI ได้รวบรวมข้อสันนิษฐานต่าง ๆ เกีย่ วกับคาว่า
HAM ลงในวารสาร CQ ของอเมริกา ฉบับประจาเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2529 เขาเล่าว่ามีขอ้ สันนิษฐานที่
ร่าลือกันมากอยู่หลายอย่าง อย่างแรกคาดว่า H-A-M นัน้ เป็นตัวอักษรทีม่ าจากอักษรตัวแรกของ
นามสกุลของนักวิทยุสมัครเล่นในย่าน เมืองบอสตัน 3 คน เมือ่ ปี พ.ศ.2453 แต่ไม่มรี ายละเอียดเพิม่ เติม
ว่าทาไมจึงครึม้ อกครึม้ ใจเอาตัวอักษรของ 3 คน นัน้ มาผสมเป็นคาว่า HAM

ข้อสันนิษฐานทีส่ องคาดเดาว่า HAM เป็นคาทีน่ กั วิทยุสมัครเล่นยุคต้น ๆ รายหนึ่งนามาใช้เป็น


รหัสเรียกขานของตน ก่อนทีจ่ ะมีการกาหนดรหัสเรียกขานเป็นมาตรฐานเดียวกันตามพระราชบัญญัติ
วิทยุ (ของอเมริกา) ในปี พ.ศ. 2470 ต่อมาเมื่อเปลีย่ นรหัสเรียกขานกันตามกฎหมายแล้ว จึงขยายความ
หมายถึง นักวิทยุสมัครเล่นคนอืน่ ๆ ไปด้วย

ข้อสันนิษฐานทีส่ ามเล่าว่า นักวิทยุสมัครเล่นชาวอังกฤษสมัย ก่อนเรียกตัวเองสัน้ ๆ ว่า am’s


(อ่านว่า แอมส) ซึ่งย่อมาจากคาว่า amateurs (นักวิทยุสมัครเล่น) พอชาวอเมริกนั มาออกเสียงก็เลย
เพีย้ นกลายเป็น " แฮม " ซึ่งสะกดคาอ่านออกมาเป็น HAM ก็เลยยึดเป็นศัพท์แสลง และใช้นบั ตัง้ แต่นนั ้
มา

แต่ขอ้ สันนิษฐานทีเ่ ขาคิดว่าน่าเชือ่ ถือทีส่ ดุ มาจากการคาดเดาทีว่ า่ ในยุคสมัยก่อนพวกนักแสดง


สิง่ ละอันพันละน้อย พวกนักร้องนักดนตรี และพวกให้ความบันเทิงกึง่ อาชีพนัน้ ถูกเรียกเป็นคาแสลง (คา
ตลาด) ว่า HAM มาก่อนในยุคระหว่าง พ.ศ. 2460-2470 นัน้ การทดลองส่งกระจายเสียงยังไม่ถอื ว่าเป็น
สิง่ ผิดกฎหมาย จึงมีกลุ่มมือสมัครเล่นกลุ่มหนึ่งทีช่ อบส่งเสียงดนตรีออกอากาศไปให้คนอื่น ฟงั กัน เป็นที่
เชือ่ ถือได้มากกว่าคนกลุ่มนี้ (ซึ่งในสมัยก่อนถูกเรียกว่า HAM ด้วย) นี่แหละทีเ่ ป็นจุดเริม่ ต้นของกลุ่มที่
ชอบทดลองทางวิทยุ ซึ่งต่อมากลายเป็นนักวิทยุสมัครเล่น คาว่า HAM จึงถูกเรียกติดตามมาถึงนักวิทยุ
สมัครเล่นด้วย อย่างไรก็ตาม ทัง้ หลายนี้เป็นเพียงข้อสันนิษฐาน ซึ่งยังไม่มใี ครยืนยันได้วา่ ข้อสันนิษฐาน
ใดถูกต้องกันแน่

เมื่ออ่านกันมาถึงตอนสรุปสุดท้ายแล้ว ผมก็อยากทีจ่ ะให้ผทู้ ต่ี ดิ ตามอ่านบทความของผมทุกท่า น


ใช้วจิ ารณญาณของท่านเอาเองจากบทความนี้วา่ วันนี้ ท่านจะเรียกตัวท่านเองว่า VR / AR หรือ HAM ก็
ตามทีท่ ่าน ๆ ชอบได้เลยครับ แต่เมือ่ ท่านจะนาไปใช้ในกิจการวิทยุสมัครเล่นทีเ่ ป็นสากล กรุณาใช้ให้
ถูกต้องแล้วกันนะครับ จะได้ไม่เป็นทีข่ ายหน้ากับนักวิทยุฯ ชาติอน่ื ๆ

เห็นเพื่อน“ๆ“พูดกันถึงเปิ ด“AEC แล้วจะหมายถึงการเปิ ดของกิจการวิทยุสมัครเล่นด้วยหรื อไม่“ตามมาดูกนั ครับว่า“ทาได้หรื อไม่


Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 128
เปิ ด AEC แล้วถือเป็ นการเปิ ดกิ จการวิ ทยุสมัครเล่นได้ด้วยหรือไม่

คาถามที่ 1. " เขามาแต่ตวั " แล้วมาจัดหาเครื่องมือสื่อสารในการออกอากาศในประเทศไทย


คาตอบ เมื่อจะพูดถึงเรื่องการจัดหาเครื่องมือสื่อสารในการออกอากาศในประเทศไทย ต้องมาพูดถึง
เรื่อง สัญญาต่างตอบแทนกับประเทศไทยก่อน ปจั จุบนั ประเทศในแถบอาเซียนทัง้ หมด ไม่ว่า ไทย ,
สิงคโปร์ , ลาว , พม่า , อินโดนีเซีย , ฟิ ลปิ ปิ นส์ , บรูไน และมาเลเซีย ยังไม่มสี ญ
ั ญาต่างตอบแทนใน
เรื่องของวิทยุสมัครเล่น ซึ่งเมื่อไม่มสี ญ
ั ญาดังกล่าว เขาเหล่านัน้ ก็ไม่สามารถที่จะนาใบอนุ ญาตของเขา
เหล่านัน้ มาเทียบได้ ตามประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตและกากับดูแลกิจการวิทยุสมัครเล่น ฉบับใหม่ (วันที่
23 กรกฎาคม 2557 วันทีป่ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา) ภาคผนวก 4

ดังนัน้ การซื้อเครื่องวิทยุส่อื สารจึงไม่สามารถทีจ่ ะกระทาได้ (ณ ทีน้ผี มจะพูดถึงตามกฎหมาย) เพราะไม่


สามารถทีจ่ ะแสดงใบอนุ ญาตพนักงานวิทยุฯ ทีป่ ระเทศไทยออกให้ตามสัญญาต่างตอบแทนได้ นันเอง ่

คาถามที่ 2 " หรือ สามารถหอบหิว้ เข้ามาได้?" เพราะเท่าทีศ่ กึ ษาตามประสาคนอยากรู้ (เปล่าสอดรู)้ ยัง


ไม่เห็นข้อกฏหมายใดหรือระเบียบฉบับใดเปิดทางให้ทาได้ (หรือผมตาบอด หาไม่เจอ) วานผูร้ ชู้ ว่ ยเปิดหู
เปิดตาผมด้วย ผมอยากรูค้ รับ และก็เชือ่ ได้วา่ หลายคนอยากรู้ .
คาตอบ การนาเครื่องวิทยุส่อื สารเข้ามาในราชอาณาจักรไทย จะต้องทาใบนาเข้ามาในราชอาณาจักร
จาก กสทช. การจะทาใบนาเข้ามาในราชอาณาจักรได้ จะต้องกระทาตาม 1. มาก่อน คือนาใบอนุ ญาต
ของเขาเหล่านัน้ มาเทียบตามประกาศฯ ตามคาตอบข้อ 1.

ดังนัน้ คาตอบข้อนี้คอื จะต้องผ่านข้อ 1. มาให้ได้ก่อนจึงจะสามารถที่จะทาใบนาเข้าได้ (เหมือนกับนัก


วิทยุฯ ในประเทศทีม่ สี ญ
ั ญาต่างตอบแทนกับประเทศไทย) จากนัน้ เมื่อได้รบั สัญญาณเรียกขานไทย จาก
การเทียบเรียบร้อย จึงสามารถทีจ่ ะขออนุ ญาตนาเข้า (มีกาหนด 180 วันนับจากวันออก) จากนัน้ จึงนา
เครื่องเข้ามาในราชอาณาจักร และผ่านพิธกี ารศุลกากรเพื่อเสียภาษี , กรณีท่เี ครื่องนัน้ ๆ ไม่มี Type
Approved ต้องทา Type Approved ใหม่ (มีค่าใช้จ่ายเพิม่ ) , ทาใบอนุ ญาตใช้ , ทาใบตัง้ สถานี ซึ่งอันนี้
คือขัน้ ตอนในการนาเข้าเครื่องมาในราชอาณาจักร โดยที่ยงั ไม่มปี ระกาศฯ เรื่องการนาเข้าเครื่องแบบ
ชัวคราวแต่
่ อย่างใด ดังนัน้ จึงต้องทาตามประกาศฯ เดิมทีม่ อี ยู่

****** แต่คาตอบสุดท้ายของทัง้ 2 ข้อคือ ยังไม่สามารถที่จะทาได้ไม่ว่าใด ๆ ทัง้ สิ้น เนื่องจากยังไม่มี


สัญญาต่างตอบแทนกันนันเอง
่ *****

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 129


ปล.
1. แต่นกั วิทยุฯ ไทย ไป สิงคโปร์ , ลาว , มาเลเซีย , เวียดนาม สามารถขอเทียบสัญญาณเรียก
ขานได้ แต่อาจจะมีค่าใช้จ่ายสูงไปนัก เมีอ่ เทียบกับการออกอากาศชัวคราว

2. ปจั จุบนั ประเทศไทย มีการจัดทาความตกลงต่างตอบแทนว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่นกับ
ประเทศไทย (สัญญาต่างตอบแทน / reciprocal agreement) กับประเทศต่าง ๆ เป็นจานวน 10 ประเทศ
แล้ว โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

1. UNITED STATE OF AMERICA / สหรัฐอเมริกา (K)


2. SWITZERLAND / สวิตเซอร์แลนด์ (HB)
3. AUSTRIA / ออสเตรีย (OE)
4. SWEDEN / สวีเดน (SM)
5. UNITED KINGDOM / สหราชอาณาจักร (G)
6. GERMANY / เยอรมนี (DL)
7. LAXEMBOURG / ลักเซมเบิรก์ (LX)
8. BELGIUM / เบลเยียม (ON)
9. FRANCH / ฝรังเศส
่ (F)
10. Denmark / เดนมาร์ก (OZ)

ดังนัน้ หมายความว่า หากท่านใดทีไ่ ปยังประเทศดังกล่าวข้างต้น สามารถทีจ่ ะขอเทียบสัญญาณ


เรียกขาน ได้ โดยติดต่อผู้รบั ผิดชอบในประเทศนัน้ ๆ หรือ นักวิทยุฯ ประเทศนัน้ ๆ ดังกล่าวข้างต้น
เดินทางมาประเทศไทย ก็สามารถทีจ่ ะเทียบสัญญาณเรียกขาน ในประเทศไทยได้เช่นกัน

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 130


BAND PLAN

เรื่องของ Band Plan เป็นเรื่องทีน่ กั วิทยุสมัครเล่นทุกคนต้องรู้ และเข้าใจอย่างถ่องแท้ ทุกฝ่าย


ทัง้ ภาครัฐและตัวนักวิทยุ สมัครเล่นเอง จะต้องปฏิบตั ิตามอย่า งเคร่ งครัด เป็ นไปตามข้อบัง คับวิท ยุ
ระหว่างประเทศ (Radio Regulation)

Band Plan คืออะไร

Band Plan คือแผนการใช้ความถี่ หมายถึงการวางแผนการใช้งานความถี่วทิ ยุ ซึ่งจะกาหนด


ว่า ความถีท่ งั ้ หมดในโลกนี้มอี ะไรบ้าง แบ่งออกเป็ นกี่ย่านความถี่ และแต่ละย่านความถี่จะใช้ในกิจการ
อะไร และในกิจการนัน้ ที่ได้รบั อนุ ญาตให้ใช้ค วามถี่ จะสามารถใช้งานติดต่อสื่อสารในรูปแบบใด ผู้ท่ี
รับผิดชอบในเรื่องนี้คอื ฝ่ายบริหารความถี่วทิ ยุ สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ
โทรทัศน์ และกิจการโทรคมมนาคมแห่งชาติ

Band Plan มาจากไหน

สหภาพโทรคมนาคม International Telecommunication/ ITU เป็ นองค์กรผู้ชานาญการ


ทางด้านความถีว่ ทิ ยุของสหประชาชาติ มีรฐั บาลของแต่ละประเทศเป็ นสมาชิก มีการประชุมร่วมกันว่า
ด้วยเรื่อ งการจัดสรรความถี่วทิ ยุและข้อ บังคับวิทยุระหว่างประเทศ เดิมเรียกว่าการประชุม WARC
World Administration Radio Conference ต่อมาเรียกกว่า WRC World Radio Conference ก่อนหน้า
นี้ จะมีการประชุมกันทุก ๆ 10 ปี ในปจั จุบนั มีการประชุมกันทุก 2-3 ปี

ITU จะเป็ น ผู้ทาหน้ าที่ก าหนดว่า ความถี่ทงั ้ หมดที่มีอ ยู่ใ นโลกนี้ แบ่ง ออกเป็ นกี่ย่านความถี่
อะไรบ้างและในแต่ละย่านความถี่ ช่วงความถี่ไหน ควรจะนาไปใช้งานในกิจการใดบ้าง เช่น กิจการ
วิทยุกระจายเสียง โทรศัพท์ การเดินเรือ หรือวิทยุสมัครเล่นเป็นต้น

การกาหนด Band Plan เป็นเพียงการจัดสรรความถี่แยกประเภทการใช้งาน แต่ไม่ได้บงั คับว่า


รัฐบาลของประเทศสมาชิกจะต้องมีกจิ การนัน้ ๆ ด้วย จึงมีอกี หลายประเทศที่ยงั ไม่พร้อมที่จะมีกจิ การ
วิท ยุ ส มัค รเล่ น ในประเทศของตน หรือ มีแ บบไม่ เ ต็ม รู ป แบบ รัฐ บาลบางประเทศอาจมีห มายเหตุ
กับ ITU ว่า ความถีส่ าหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นอาจกาหนดให้เป็นกิจการรอง

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 131


IARU Band Plan

สมาพันธ์นกั วิทยุสมัครเล่นนานาชาติ International Amateur Radio Union/IARU เป็ นองค์กร


ผูช้ านาญการทางด้านวิทยุสมัครเล่น เป็นทีย่ อมรับของ ITU สมาชิกขององค์กรประกอบด้วยสมาคมหลัก
ทีเ่ กีย่ วกับกิจการวิทยุสมัครเล่น โดยในประเทศไทยคือสมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระ
บรมราชูปถัมภ์ / RAST สมาคมของประเทศสมาชิกก็จะมาประชุมร่วมกัน ในเรื่องต่าง ๆ อันเกี่ยวกับ
กิจการวิทยุสมัครเล่น ทาหน้าทีส่ ่งเสริมและปกป้องรักษาผลประโยชน์ของกิจการวิทยุสมัครเล่น

IARU ในฐานะทีม่ คี วามชานาญในเรื่องกิจการวิทยุสมัครเล่น ก็จะทาหน้าทีช่ ว่ ยเหลือภาครัฐใน


การกาหนดว่า ในแต่ละย่านความถี่ท่ไี ด้รบั มาจาก ITU นัน้ ควรจะใช้งานติดต่อสื่อสารรูปแบบใดบ้าง
เช่น Mode EME, CW, FM, DATA เป็ นต้น เพื่อเป็ นแนวทางให้กบั สมาคมฯ หลักของประเทศ หรือ
ภาครัฐดาเนินการเป็นรูปแบบเดียวกัน ในแต่ละประเทศจะกาหนดรายละเอียดเพิม่ เติมมากน้อยหรือไม่
ขึน้ อยู่กบั เหตุผลความจาเป็นของแต่ละประเทศ

โดยในประเทศไทยได้จดั สรรความถีด่ งั ต่อไปนี้

THAILAND AMATEUR RADIO BAND PLAN

1.800 - 1.825 (160 Meter)


3.500 - 3.540 (80 Meter)
7.000 - 7.200 (40 Meter)
10.100 - 10.150 (30 Meter)
14.000 - 14.350 (20 Meter)
18.068 - 18.168 (17 Meter)
21.000 - 21.450 (15 Meter)
24.890 - 24.990 (12 Meter)
28.000 - 29.700 (10 Meter)
144.000 - 146.000 (2 Meter)
435.000 438.000 (70 CM) FOR RECEIVE SATTLELITE ONLY

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 132


Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 133
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 134
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 135
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 136
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 137
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 138
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 139
ความถี่ WARC BAND

WARC BAND มาจากคาว่า World Administration Radio Conference Band ประกอบไปด้วย


3 ส่วนของความถี่คลื่นสัน้ (Shortwave radio spectrum) โดยผู้ใช้จะต้องได้รบั การอนุ ญาต หรือ
ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น

โดยความถีท่ ใ่ี ช้ได้ของ WARC BAND นัน้ จะเป็นความถี่ 30 เมตร (10.100-10.150 MHz.) , 17
เมตร (18.068-18.168 MHz.) และ 12 เมตร (24.890-24.990 MHz.) โดยใช้ช่อื ตามการประชุม World
Administration Radio COnference ในปี 1979 หรือ พ.ศ. 2522 เพื่อให้ใช้สาหรับนักวิทยุสมัครเล่น

โดยได้มกี ารเริม่ ใช้ความถี่ WARC Band กันในช่วงต้นปี 1980 หรือ พ.ศ. 2523 เป็นต้นมา แต่
ด้วย Bandwidth ทีไ่ ด้รบั การจัดสรรให้ใช้งานนัน้ มีชว่ งทีน่ ้อยมาก คือ อยู่ประมาณ 100 KHz. และได้มี
ข้อตกลงกันว่า การใช้งานความถี่ WARC Band นี้ไม่สามารถทีจ่ ะใช้ในการแข่งขันทีม่ ขี น้ึ สาหรับกิจการ
วิทยุสมัครเล่นได้ โดยข้อตกลงนี้ ได้รบั การบรรจุลงอย่างเป็นทางการ เช่นใน IARU ภูมภิ าคที่ 1 ได้ระบุ
ไว้ใน คูม่ อื HF Manager's Handbook เลยว่า " การแข่งขันทีม่ ขี น้ึ สาหรับกิจการวิทยุสมัครเล่น จะต้อง
ไม่มใี นความถี่ 10 , 18 และ 24 MHz.

ในทัวโลกความถี
่ ่ 30 เมตร หรือ (10.100-10.150 MHz.) ไม่อนุญาตให้ใช้ในการติดต่อสือ่ สารใน
ระบบเสียงพูด (PHONE) ยกเว้นในสถานะการณ์ฉุกเฉินเท่านัน้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 140


การเช็คเน็ ท คือ

การเช็คเน็ท เป็ นอีกกิจกรรมหนึ่งที่นักวิทยุสมัครเล่น ที่มกั จะทาเป็ นประจาเรื่อยมาตัง้ แต่อดีต


จนถึงปจั จุบนั การเช็คเน็ทฯ ก็คอื การทดสอบสัญญาณวิทยุของนักวิทยุสมัครเล่น ในแต่ละวันจะมีการ
ทดสอบกี่ค รัง้ ก็ได้ ไม่มีรูปแบบที่ตายตัวครับ แต่โดยปกติกจ็ ะวันละ 1 ครัง้ ซึ่งผู้ท่นี ัดทาการทดสอบ
สัญญาณส่วนใหญ่กจ็ ะเป็ นสถานีควบคุมข่ายหรือกลุ่ม / ชมรมต่างๆ ซึ่งในกลุ่มหรือชมรมอาจจะมีการ
หมุนเวียนผูท้ ท่ี าหน้าทีเ่ น็ทคอนโทรล เพื่อเป็นการฝึกการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นเน็ทคอนโทรลให้ชานาญ เผื่อ
ไว้ใช้ในยามฉุกเฉินนันเอง

การทดสอบสัญญาณวิทยุ นอกจากจะเป็นการทดสอบอุปกรณ์ในสถานีวทิ ยุฯ นัน้ ๆ ว่ายังคงใช้


งานได้เป็ นปกติหรือไม่แล้ว อีกประการหนึ่งก็คอื การเตรียมความพร้อมในการเป็ นเครือข่ายสื่อสาร
สารองฉุกเฉิน นอกจากจะเป็นการทดสอบอุปกรณ์แล้วยังเป็ นการฝึ กฝนการรับส่งสัญญาณแบบมีแบบ
แผนอีกด้วย

วัตถุประสงค์ของการเช็คเน็ท

1. เพื่อเตรียมอุปกรณ์ส่อื สารให้พร้อมสาหรับใช้ในยามฉุกเฉิน

2. เพื่อรับฝงั ข่าวสารจากสถานีควบคุมข่าย (สถานีควบคุมข่ายมักมีประกาศข่าวสารก่อนเริม่ ทดสอบ


สัญญาณ)

3. เป็นการแจ้งให้เพื่อน ทราบว่าเรายังออกอากาศอยู่

4. เพื่อเป็นการฝึกปฏิบตั ทิ าหน้าทีเ่ ป็นเน็ทคอนโทรล(แม่ขา่ ย) และผูร้ ่วมทดสอบสัญญาณ(ลูกข่าย)

การที่เรากดคีย์ ออกอากาศไปในความถี่ ซึ่งปจั จัยต่างๆ ครบ รวมทัง้ อุปกรณ์ รวมทัง้ สภาพ


อากาศ แต่ทาไมถึงส่งสัญญาณได้ไม่ดเี ท่าเมื่อวาน เมื่อพบความผิดปกติของการอกอากาศ เราจึงต้องมา
ตรวจสอบอุปกรณ์แล้ว โดยเริม่ ตรวจสอบ ตัง้ แต่ เครื่องวิทยุ , สายนาสัญญาณ , สายอากาศ ซึ่งอาจมี
ส่วนใดส่วนหนึ่งทีเ่ กิดความผิดปกติ การเช็คเน็ท จึงเป็นเหมือนกิจกรรมที่ให้เราทดสอบการทางานของ
เครื่องวิทยุไปในตัวนันเอง

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 141


Amateur Radio Contest / การแข่งขันในกิจการวิทยุสมัครเล่น

การแข่ง ขันในกิจการวิท ยุสมัครเล่น คืออะไร การแข่งขันในกิจ การวิทยุ สมัค รเล่นก็ค ือ การ


ติดต่อสื่อสารในเวลาทีก่ าหนด และแลกเปลีย่ นสิง่ ทีก่ ารแข่งขันกาหนด โดยให้ตดิ ต่อให้ได้จานวน QSO
ให้ได้เป็นจานวนมากทีส่ ุด

ก่อนการแข่งขัน ผูเ้ ข้าร่วมการแข่งขันควรจะต้องศึกษาถึงกฎระเบียบต่าง ๆ ของการแข่งขันให้


เข้าใจ เพื่อให้การแข่งขันดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย ยุตธิ รรม และความมีสปิ ริต และเพื่อไม่ให้เกิด
ปญั หาในภายหลังการแข่งขันจบ

ในการแข่งขันในกิจการวิทยุสมัครเล่น แต่ละการแข่งขัน จะมีการแบ่งเป็ น Class ต่าง ๆ อาทิ


เช่น
1. การแข่งเป็นทีม
1.1 ออกอากาศพร้อมกันทุก Band (Multi Multi Operator)
1.2 ออกอากาศเครื่องเดียว (Multi Single Operator)
2. การแข่งขันแบบคนเดียว
2.1 ออกอากาศคนเดียว ความถีเ่ ดียว (Single Operator Single Band)
2.2 ออกอากาศคนเดียว หลายความถี่ (Single Operator Multi Band)
3. การแข่งขันแบบคนเดียว กาลังส่งต่อ (Single Operator QRP)
4. การแข่งขันแบบคนเดียว มือใหม่ (Single Operator Rukee)

ผูเ้ ข้าแข่งขันแต่ละท่านจะต้องเลือก Class ที่จะแข่งขันที่เห็นว่าเหมาะสมกับตนเองมากที่สุด


โดยในการแข่งขันนัน้ เวลาอาจจะเป็ น 48 ชัวโมง่ หรือ 27 ชัวโมง
่ หรือ 24 ชัวโมง
่ หรือ 1 ชัวโมง
่ ก็
เป็นได้สาหรับการแข่งขันรายการเล็ก ๆ ซึ่งส่วนใหญ่มกั จะมีการแข่งขันตลอดทุกสัปดาห์ โดยรายการ
แข่งขันรายการใหญ่ ๆ จะเป็นการจัดโดย นิตยสาร CQ แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ในรายการ CQ WW
ซึ่งจะแยกเป็น CQ WW WPX และ CQ WW DX โดยแยกเป็น Mode คือ Phone , CW , RTTY

สิ่งสาคัญในการแข่งขันอีกประการหนึ่งก็ค ือ ผู้เข้าแข่งขันจะต้องทราบว่าอะไรคือ Multiplier


สาหรับการแข่งขันรายการนัน้ ๆ เพราะเจ้าตัว Multiplier นี่เองคือตัวทีจ่ ะทาคะแนนให้เราได้เป็ นอย่างดี
และหากผูเ้ ข้าร่วมการแข่งขันอยากทีจ่ ะได้รบั Award หรือ บัตรรางวัล จากผูจ้ ดั การแข่งขัน ก็ต้องมีการ
วางแผนให้ดี และศึกษาว่ามีใครเข้าแข่งขันใน Class ไหน และเราควรที่จะไปลงใน Class ไหน เพื่อไม่
ต้อ งชนกับ สถานี ใ หญ่ ๆ หรือ สถานี BIG GUN โดยการเข้า ไปดู ก าร announcement ได้ ท่ี
http://www.ng3k.com/Contest/

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 142


DXCC คือ อะไร

DXCC หรือ DX Century Club เป็ นรางวัลเกี่ยวกับวิทยุสมัครเล่นที่บรรดานักวิทยุสมัครเล่นทัวโลก ่


หลาย ๆ ท่านใฝ่ฝนั อยากจะได้มาไว้ในครอบครองสักครัง้ หนึ่งของการเป็ นนักวิทยุสมัครเล่น โดยการ
ติดต่อนักวิทยุสมัครเล่นทัวโลกตาม
่ DXCC List ให้ได้ครบ100 ประเทศขึน้ ไป หรือมากกว่า โดยรางวัล
DXCC นี้จะออกโดย สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ American Radio Relay
League (ARRL) โดยนักวิทยุสมัค รเล่นทั ่วโลกมีสทิ ธิ ์ที่จะขอขึน้ รางวัลนี้ได้ โดยส่งบัตรยืนยันการ
ติดต่อสื่อสารทีไ่ ด้รบั การแลกเปลีย่ นจากเพื่อนนักวิทยุฯ ไปที่ ARRL หรือ การใช้ LOGBOOK OF THE
WORLD (LOTW) โดย รางวัลดังกล่า วนี้ แต่ละใบจะมีหลายเลขการรับรางวัลของแต่ ละคนเรีย ง
ตามลาดับก่อนหลังการขอขึน้ รางวัลไป โดยมีรายละเอียดแต่ละรางวัลจานวน 16 DXCC Awards แยก
ได้ดงั ต่อไปนี้

1. MIXED
2. PHONE
3. CW
4. DIGITAL
5. SATELLITE
6. 160 Meters
7. 80 Meters
8. 40 Meters
9. 30 Meters
10. 20 Meters
11. 17 Meters
12. 15 Meters
13. 12 Meters
14. 10 Meters
15. 6 Meters
16. 2 Meters

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 143


และรวมถึง การติดต่อครบ 5 Band ก็จะมีรางวัล 5 Band DXCC หรือ DXCC Honor Roll ที่
ต้องได้รบั การยืนยัน ตัง้ แต่ 331 ประเทศขึน้ ไป ในโหมด 1-5 หรือ DXCC #1 Honor Roll ที่ต้องได้รบั
การยืนยัน ตัง้ แต่ 340 ประเทศขึน้ ไป ตาม DXCC List หรือ DXCC Challenge AWARD , QRP
DXCC.

DXCC List : http://www.arrl.org/files/file/DXCC/2015_Current_Deleted.txt

ทีม่ า : http://www.arrl.org/dxcc

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 144


Electronic Logbook

Electronic Logbook คืออะไร Electronic Logbook ก็คอื โปรแกรมทีใ่ ช้บนั ทึกการติดต่อสื่อสาร


ในการสนทนาของเรากับคู่สถานี QSO ซึ่งทาไมเราต้องใช้ Electronic Logbook ก็เพื่อใช้สาหรับยืนยัน
และบันทึกการติดต่อของเราเพือ่ ใช้สาหรับลงใน QSL Card ในกรณีทผ่ี ทู้ ต่ี ดิ ต่อเราต้องการทีจ่ ะขอ
แลกเปลีย่ น QSL Card ในการขอขึน้ รางวัล อีกทัง้ Electronic Log ก็ยงั สามารถทีจ่ ะช่วยเราในการ
ปรินท์ขอ้ มูลการติดต่อต่าง ๆ ได้โดยไม่ตอ้ งใช้การเขียน โดย Electro Log มีหลากหลายโปรแกรมเป็น
อย่างมาก แต่ในทีน่ ้ขี อแนะนาโปรแกรม XMLOG ซึ่งเป็น Electronic Log โปรแกรมหนึ่งทีม่ คี วามง่ายต่อ
การใช้งาน เหมาะสาหรับนักวิทยุฯ มือใหม่ ๆ ในการใช้อย่างมาก และสามารถทีจ่ ะ Import หรือ Export
ไฟล์ไปใช้งานอื่น ๆ ได้อย่างง่ายดาย

สามารถ Download Program นี้ได้ท่ี http://www.xmlog.com/

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 145


ขัน้ ตอนการนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคม (กรณี ที่มี Type Approve แล้ว)

1. ทาจดหมายขอคัดสาเนาใบรับรองเครื่องวิทยุโทรคมนาคม และอุปกรณ์ พร้อมแนบเอกสารประกอบ


ดังต่อไปนี้
1.1 สาเนาบัตรประชาชน
1.2 สาเนาทะเบียนบ้าน
1.3 สาเนาบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น
1.4 หนังสือมอบอานาจ (ถ้ามี)
1.5 สาเนาบัตรประชาชนผูร้ บั มอบอานาจ (ถ้ามี)

รายละเอียดรายการในจดหมาย ขอคัดสาเนาใบรับรองเครื่องวิทยุโทรคมนาคม และอุปกรณ์

เขียนที่ ..................................

วันที.่ .....................................

เรื่อง ขอคัดสาเนาใบรับรองเครือ่ งวิทยุโทรคมนาคม และอุปกรณ์

เรียน ผูอ้ านวยการกลุ่มงานมาตรฐานและเทคโนโลยีโทรคมนาคม

ข้าพเจ้า ........................................ มีความประสงค์ขอคัดสาเนาใบรับรองเครือ่ งโทรคมนาคมและ


อุปกรณ์ (TYPE APPROVE) ของเครือ่ งวิทยุคมนาคม ยีห่ อ้ .................. รุ่น ........................ สาหรับ
นาสินค้าเข้าจากต่างประเทศ

จึงเรียนมาเพือ่ โปรดดาเนินการด้วย จักขอบคุณยิง่

ขอแสดงความนับถือ
(..................................)
ผูน้ าเข้า

จากนัน้ นาไปยื่นที่ สานักงาน กสทช. (พหลโยธิน ซ.8 รอเวลาประมาณ 3-4 วันทาการ


เพื่อรับสาเนาใบรับรองเครือ่ งวิทยุโทรคมนาคม และอุปกรณ์กรณีน้ไี ม่มคี ่าใช้จา่ ยใด ๆ ทัง้ สิน้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 146


Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 147
Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 148
2. จากนัน้ เมื่อได้รบั สาเนาใบรับรองเครือ่ งวิทยุโทรคมนาคม และอุปกรณ์ แล้ว ให้นาสาเนาฉบับดังกล่าว
ไปดาเนินเรื่องใบอนุญาตนาเข้า โดยเตรียมเอกสารดังต่อไปนี้

2.1 จดหมายขออนุญาตนาเข้าเครือ่ งวิทยุคมนาคมสมัครเล่น สาหรับกิจการวิทยุสมัครเล่นขัน้


กลาง
2.2 คาขอใบอนุญาตนาเข้า (แบบ ฉ.ก.1)
2.3 สาเนาบัตรประชาชน
2.4 สาเนาทะเบียนบ้าน
2.5 สาเนาบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น
2.6 หนังสือมอบอานาจ (ถ้ามี)
2.7 สาเนาบัตรประชาชนผูร้ บั มอบอานาจ (ถ้ามี)
2.8 แค็ตตาล็อก รุ่นทีต่ อ้ งการนาเข้ามา (หาได้จาก google)
2.9 ใบตอบรับการสังซื ่ ้อสินค้า หรือ Proforma Inv. (อาจจะทาขึน้ มาเองก็ได้โดยทาเป็นจดหมาย
บอกถึงชือ่ ร้าน , ทีอ่ ยู่ , ประเทศ และประมาณราคาเครื่องทีจ่ ะนาเข้ามา

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 149


ตัวอย่างจดหมายขออนุญาตนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคมเข้ามาในราชอาณาจักร

เขียนที่ .....................................

วันที่ ............................................

เรื่อง ขออนุญาตนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคมสมัครเล่น สาหรับกิจการวิทยุสมัครเล่น (ขันต้


้ น / ขันกลาง)

เรียน ผูอ้ านวยการสานักการอนุญาตกิจการเฉพาะกิจ

ข้าพเจ้า ........................................ อายุ .............. ปี อยู่บา้ นเลขที่


..............................................................
พนักงานวิทยุสมัครเล่น (ขัน้ ต้น / ขัน้ กลาง) มีความประสงค์ทจ่ี ะนาเข้าเครือ่ งวิทยุคมนาคม โดยซื้อจาก
ร้าน ... (ตามรายละเอียดแนบท้าย)

ยีห่ อ้ ............ รุ่น ................. ผลิตในประเทศ............ จานวน ..............เครื่อง ราคาประมาณเครื่องละ


................... (....................................................) หรือ ประมาณ .................................. บาท
(......................................................................)

จึงเรียนมาเพือ่ โปรดพิจารณาดาเนินการด้วย จักขอบคุณยิง่


ขอแสดงความนับถือ
(.....................................................)

จากนัน้ นาไปยื่นที่ กสทช. กรณีน้มี คี ่าใช้จ่าย 214 บาท (สองร้อยสิบสีบ่ าทถ้วน) จากนัน้ รอสักประมาณ
5-7 วันทาการ ก็จะได้รบั ใบอนุญาตนาเข้า ให้ขอเบอร์ตดิ ต่อไว้ และโทรเช็คว่าใบอนุญาตออกหรือยัง
(ใบอนุญาตมีอายุ 180 วันนับจากวันออกใบอนุญาต)

3. เมื่อเครื่องวิทยุคมนาคมได้เข้ามาในราชอาณาจักรเรียบร้อยแล้ว จะต้องผ่านพิธกี ารศุลกากรทีด่ ่าน


ศุลกากรทีน่ าเครื่องวิทยุคมนาคม นัน้ เข้ามาในราชอาณาจักร พิกดั ศุลกากร คือ 8525.60.00 ซึ่งอัตรา
ภาษีศลุ กากรเป็น 0% แต่ใช้ราคา CIF คานวณภาษีมูลค่าเพิม่ 7% คือเงินทีจ่ ะต้องชาระ ซึ่งขันตอนนี
้ ้จะ
ดาเนินการเองก็ได้ หรือ จะใช้บริการ Shipping ทีม่ คี วามชานาญก็ได้ ซึ่งอัตราค่าบริการต่อครังไม่
้ เกิน
ครัง้ ละ 1000 - 1200 บาท ไม่รวมค่าใช้จ่ายศุลกากร และ ค่าภาษี

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 150


ตัวอย่างใบขนสินค้าขาเข้า

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 151


หลังจากดาเนินพิธกี ารศุลกากรเรียบร้อยแล้ว ให้นาสาเนาใบขน , ใบเสร็จการเสียภาษีศลุ กากร เก็บไว้
เพื่อรอประกอบเอกสารการขออนุญาตต่อ กสทช. ต่อไป

เพิม่ เติมในการดาเนินพิธกี ารศุลกากรขาเข้า

ต้องแนบใบอนุญาตนาเข้าให้กบั ศุลกากรด้วย แต่ในกรณีทใ่ี บอนุญาตนาเข้ามีมากกว่า 1 เครื่อง ให้ถ่าย


สาเนาเพิม่ พร้อมแนบใบ Invoice ประกอบ

4. จัดทาเอกสารเพือ่ ขอใบอนุญาตใช้ ต่อ กสทช. หลังจากผ่านพิธกี ารศุลการกรเรียบร้อยแล้ว กรณีทเ่ี ป็น


เครื่องทีม่ ี Type approve ได้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งส่งเครือ่ งเข้าตรวจ โดยจะใช้เฉพาะเอกสารแทน
ดังต่อไปนี้
4.1 คาขอใบอนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคม (แบบ ฉ.ก.2)
4.2 สาเนาใบอนุญาตนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคม
4.3 สาเนาใบขนขาเข้าของกรมศุลกากรทีผ่ า่ นพิธกี ารเรียบร้อยแล้ว
4.4 สาเนาใบเสร็จรับเงินชาระค่าภาษีอากรของกรมศุลกากรทีผ่ า่ นพิธกี ารเรียบร้อยแล้ว
4.5 สาเนาใบรับรองตัวอย่างเครือ่ งวิทยุคมนาคม (Type Approval) Download จากในเวป
กสทช.
4.6 บัญชีแสดงรายการเครือ่ งวิทยุคมนาคม แบบ ฉก.1/1 และข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ บรรจุลงแผ่น
CD
4.7 จดหมายแจ้งการนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคม ตามเงื่อนไขใบอนุญาต
4.8 สาเนาทะเบียนบ้าน
4.9 สาเนาบัตรประชาชน
4.10 สาเนาบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น
4.11 สาเนาใบอนุญาตตัง้ สถานี (กรณีเป็นเครื่องชนิดติดรถยนต์ หรือ ชนิดติดตัง้ ประจาที่)
4.12 หนังสือมอบอานาจ
4.13 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนผูร้ บั มอบอานาจ (ถ้ามี)

*** อย่าลืม *** รายการที่ 4.6 บัญชีแสดงรายการเครื่องวิทยุคมนาคม แบบ ฉก.1/1 และข้อมูล


อิเลคทรอนิกส์ บรรจุลงแผ่น CD ให้ทาลงบนแผ่น CD และแนบตอน ยื่นเอกสารชุดนี้ดว้ ย

จากนัน้ นาไปยื่นที่ กสทช. และจ่ายชาระค่าใช้จา่ ยประมาณ 535 บาท รอประมาณ 7 วันทาการ ให้โทร
สอบถามเจ้าหน้าที่ ก็จะได้รบั ใบอนุญาตใช้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 152


4.7 ตัวอย่างจดหมายแจ้งการนาเข้าเครื่องวิทยุคมนาคม ตามเงื่อนไขใบอนุญาต

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 153


4.6 บัญชีแสดงรายการเครือ่ งวิทยุคมนาคม แบบ ฉก.1/1 และข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ บรรจุลงแผ่น CD

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 154


เพิม่ เติม ในใบขนขาเข้า เมื่อ Shipping ดาเนินการ draft ใบขนให้ตรวจเช็ค ให้ตรวจเช็คให้ละเอียด
โดยเฉพาะ ชนิดของ ด้านขาวมือ ห้ามใส่คาว่า " NO BRAND " เด็ดขาด ต้องให้ Shipping ใส่ตามรุ่นที่
นาเข้ามา เช่น ICOM , YAESU , KENWOOD เป็นต้น

เพิม่ เติม เอกสาร

2.2 คาขอใบอนุญาตนาเข้า (แบบ ฉ.ก.1)


4.1 คาขอใบอนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคม (แบบ ฉ.ก.2)
4.6 บัญชีแสดงรายการเครือ่ งวิทยุคมนาคม แบบ ฉก.1/1 และข้อมูลอิเลคทรอนิกส์ บรรจุลงแผ่น CD
4.7 จดหมายแจ้งการนาเข้าเครือ่ งวิทยุคมนาคม ตามเงื่อนไขใบอนุญาต
หาได้จากเวป กสทช

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 155


เพิม่ เติม

ในขัน้ ตอนขอใบอนุญาตนาเข้า เมื่อ กสทช. ออกใบอนุญาตนาเข้าให้แล้ว จะให้ สติกเกอร์ NTC-


B00101-03-0000 มาให้เราเลย เสียเงินเพิม่ อีก 1 บาท หรือ 2 บาท ไม่แน่ใจ สติกเกอร์น้ี ให้นามาติดที่
เครืองวิทยุคมนาคม เมือ่ นาเข้ามาแล้วครับ

จากนัน้ ยื่นเอกสารต่าง ๆ ครบเรียบร้อยแล้ว ในขันตอนสุ


้ ดท้าย ให้จดั ทา ใบคาขออนุญาตใช้เครื่องวิทยุ
คมนาคม (แบบ ฉ.ก.2) พร้อมไปด้วยเลย เพือ่ ออกใบอนุญาตใช้เครื่องวิทยุคมนาคม

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 156


การสมัคร LOTW (Log Book of The World)

LOTW หรือ Logbook of The world หลาย ๆ ท่านที่เป็ นนักวิทยุสมัครเล่นขัน้ กลางใหม่ ๆ


อาจจะสงสัยว่ามันคืออะไร ซึ่งวันนี้จะมาบอกเล่าเกี่ยวกับ LOTW ให้ได้รบั ทราบกันว่า มันคืออะไร และ
มันมีประโยชน์อย่างไรบ้าง และหากต้องการใช้งานต้องทาอย่างไร

Log book of the world (LOTW) คืออะไร LOTW คือ electronic logbook อีกทางหนึ่งซึ่งจัดทา
โดย ARRL (American Radio Relay League) สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา สาหรับ
นักวิทยุสมัครเล่นทัง้ ของประเทศสหรัฐอเมริกา และไม่ใช่นักวิทยุสมัครเล่นของประเทศสหรัฐอเมริกา
ส าหรับ การใช้ง าน เพื่อ การขอรับ รางวัล ที่อ อกโดย ARRL (สมาคมวิท ยุ ส มัค รเล่ น แห่ ง ประเทศ
สหรัฐอเมริกา) อาทิเช่น DXCC (ติดต่อครบ 100 ประเทศ ขึน้ ไป) , VUCC (ติดต่อครบ 100 ประเทศ
VHF ขึน้ ไป) , WAS (ติดต่อครบทุกรัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา ครบ 50 รัฐ) และ CQ WPX (ของ
หนังสือนิตยสาร CQ ติดต่อ prefix ต่าง ๆ กัน) โดยที่ CQ WPX จะมีรายละเอียดแตกต่างจากรางวัลที่
ออกโดย ARRL (สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา) ดังรายละเอียดดังนี้
1. Mixed 400 Prefixes ,
2. CW 300 Prefixes ,
3. SSB 300 Prefixes ,
4. Digital 300 Prefixes.
ตัวอย่างเช่น เช่นประเทศไทย HS1 นับเป็ น 1 prefix , HS2 นับเป็ นอีก 1 prefix นันหมายความว่
่ า
ติดต่อสถานีวทิ ยุสมัครเล่นในประเทศไทย จะได้ถงึ 20 prefixes)

*** รายละเอียดการขอรับรางวัลสามารถดูได้ใน website ของ ARRL (สมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศ


สหรัฐอเมริกา) ***

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 157


การสมัคร LOTW จะต้องทาอย่างไรบ้าง

1. download and install TQSL ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่จะใช้งานในการใช้ LOTW โดยเข้าไปที่


https://lotw.arrl.org/lotw-help/installation/ จากนัน้ ให้ download โปรแกรม TQSL มาไว้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ของเรา (Version ล่าสุด Version 2.2.1)

2. หลังการ Download เสร็จเรียบร้อย ก็เริม่ การ Install program โดยจะเป็นตามภาพประกอบ 1

ภาพประกอบ 1

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 158


3. กดปุม่ RUN ตามภาพประกอบที่ 1 จะแสดงหน้าต่างขึน้ มาเป็นดังภาพประกอบที่ 2

ภาพประกอบ 2

4. กดปุม่ Next ตามภาพประกอบที่ 2 จะแสดงหน้าต่างขึน้ มาเป็นดังภาพประกอบที่ 3

ภาพประกอบ 3

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 159


5. จากภาพประกอบที่ 3 ให้นาเมาส์ไปคลิกที่ I accept the terms in the License Agreement.

6. จากนัน้ กดปุม่ Next ตามภาพประกอบที่ 3 จะแสดงหน้าต่างขึน้ มาตามภาพประกอบที่ 4

ภาพประกอบ 4

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 160


7. ตามภาพประกอบ 4 ช่อง Create a desktop shortcut หมายถึง การต้องการให้ปรากฏ ไอคอน ใน
หน้า Desktop ส่วนช่อง Create start menu icons คือ การต้องการเพิม่ ไอคอน ในหน้า Start menu
ทัง้ นี้กแ็ ล้วแต่ความพึงพอใจของแต่ละท่านว่าต้องการแบบใด ในกรณีน้ี ผมต้องการให้ปรากฏ ไอคอน ใน
หน้า desktop อย่างเดียว หลังจากนัน้ ก็กดไปทีป่ มุ่ Next จะขึน้ หน้าจอดังภาพประกอบ 5

ภาพประกอบ 5

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 161


8. กดปุม่ Install

ภาพประกอบ 6

9. หลังจากกดปุ่ม ให้ Program ทาการ Install Program ก็จะทาการ Install ไปจนจบสิ้นกระบวนการ


จนกระทังขึ
่ น้ หน้า Completed the Trusted QSL v2.2.1 Setup Wizard , ให้นาเครื่องหมาย / ที่ Read
Quick Start ออก และกดปุม่ Finish เป็นอันเสร็จการ Install โปรแกรม Trusted QSL. ดังภาพประกอบ
ที่ 6

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 162


10. หลังจาก Install จบ จะมีไอคอน Program Trusted QSL ขึน้ มาตามภาพประกอบ 7

ภาพประกอบ 7

11. จากนัน้ จะมาสู่การสร้าง Certificate โดยการ Double Click ที่โปรแกรม Trust QSL ขึน้ มา ในกรณี
ทีเ่ ป็นการเริม่ ครัง้ แรกกับ Lotw จะปรากฏหน้าต่างตามรูปด้านล่างนี้ ให้เราใส่รายละเอียดต่าง ๆ ของเรา
ไป โดยในอันดับแรกโปรแกรมจะให้ใส่ สัญญาณเรียกขาน ภาพประกอบ 8 จากนัน้ กดปุ่ม Next จะ
ปรากฏดังภาพประกอบ 9

ภาพประกอบ 8

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 163


15. เลือก DXCC entity เป็ นประเทศไทย (THAILAND) โดยตรง QSO begin date ให้ใช้ default
ตามทีโ่ ปรแกรมให้มา และ QSO end date ก็เช่นกันให้ Blank ไว้ จากนัน้ กดปุ่ม Next จากนัน้ หน้าต่าง
จะปรากฏดังภาพประกอบ 10

ภาพประกอบ 9

16. จากนัน้ กด Next หน้าต่างจะเป็นดังภาพประกอบ 10 ให้ใส่ ชือ่ ทีอ่ ยู่ ก็กรอกให้เรียบร้อยตามทีอ่ ยู่
ของผูส้ มัคร

ภาพประกอบ 10

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 164


17. หลังจากกรอกทีอ่ ยู่เสร็จ กด Next เพื่อมาหน้าต่อไป ดังภาพประกอบ 11 โปรแกรมจะให้ใส่ email
เพื่อ Lotw จะส่ง USERNAME และ PASSWORD และ Certificate มาให้ (กรณีค รัง้ แรกหลังจาก
LOTW ได้รบั เอกสารทีเ่ ป็น Paper แล้ว) หลังจากใส่เสร็จเรียบร้อย กด Next

ภาพประกอบ 11

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 165


18. จากนัน้ โปรแกรมจะให้ตงั ้ Password สาหรับการเข้าโปรแกรม ให้ใส่ Password ตามที่ผใู้ ช้ต้องการ
โดยใส่ Password ในทัง้ 2 ช่อง ตามภาพประกอบ 12

ภาพประกอบ 12

19. จากนัน้ กด Next เพื่อไปหน้าถัดไป จะขึน้ ดังภาพประกอบ 13 จากนัน้ กด Finish

ภาพประกอบ 13

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 166


20. หลังจากนัน้ โปรแกรมจะปรากฎหน้าต่าง Upload ขึน้ มา ในกรณีท่คี อมพิวเตอร์มกี ารต่อ Internet
อยู่ โปรแกรมจะขึน้ หน้าต่างด้านบนขึน้ มา ให้ตอบ Yes เพื่อทาการ upload file callsign.tq5 ไปที่ Lotw
แบบอัตโนมัติ ดังภาพประกอบ 14

ภาพประกอบ 14

ส่วนในกรณีท่คี อมพิวเตอร์ไม่ได้มีการต่อ Internet โปรแกรมก็จะแจ้งให้เราบันทึกไฟล์ callsign.tq5 ให้


บันทึกไว้ใน folder C:\MyLotWCertificates (เช่น callsign E21IZC ไฟล์กจ็ ะเป็น E21IZC.tq5 เป็นต้น)

ในกรณีท่เี ราไม่ได้ upload ไฟล์ callsign.tq5 และเราต้องการ upload file callsign.tq5 ในภายหลัง ให้
เข้าไปที่ https://p1k.arrl.org/lotw/upload คลิกไปที่ เลือกไฟล์ และ กด upload file เพื่อทาการ
upload file callsign.tq5 ภาพประกอบ 15

ภาพประกอบ 15

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 167


21. จากนัน้ ให้เข้าไปดูท่ี Menu Callgisn Certificate จะเห็นว่าที่ Callsign เราจะแสดงสถานะกาลังรอ
การ Confirm Certificate อยู่ เพราะ Lotw ยังไม่ได้ Confirm เนื่องจากยังไม่ได้รบั เอกสารที่เป็ น Paper
ดังภาพประกอบ 16

ภาพประกอบ 16

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 168


22. หลังจากนัน้ ให้ผสู้ มัครส่งสาเนาเอกสาร ดังต่อไปนี้ คือ
1. สาเนาบัตรพนักงานวิทยุสมัครเล่น
2. สาเนาหนังสือเดินทาง หรือ สาเนาบัตรประชาชนทีม่ ภี าษาอังกฤษกากับ
ไปที่
LoTW Administrator,
ARRL,
225 Main Street ,
Newington ,
CT06111,
USA.
(แนะนาว่าควรส่งแบบ EMS หรือ ลงทะเบียนจะดีทส่ี ุดในกรณีทป่ี ้ องกันการสูญหาย (ราคาประมาณ 200
บาท EMS หรือลงทะเบียนประมาณ 98 บาท) แต่ถา้ มีงบประมาณน้อย ก็ส่งแบบธรรมดา ประมาณ 15-
30 วัน ราคาประมาณ 28 บาท

23. หลังจาก Lotw ได้รบั เอกสารก็จะทาการตรวจสอบ และอนุมตั ิ หลังการอนุมตั กิ จ็ ะส่ง USERNAME ,


PASSWORD และ callsign Certificate (callsign.tq6) มาให้ยงั email ทีเ่ ราได้ลงทะเบียนไว้

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 169


24. เมื่อได้รบั Callsign certificate ก็ให้ Copy file นัน้ เก็บเอาไว้ใน Folder ที่เราต้องการ จากนัน้ ให้
เปิ ดโปรแกรม TQSL ขึน้ มา เลือกไปที่ Callsign certificate เลือก callsign เรา จากนัน้ คลิก๊ ที่ Load
callsign certificate และก็เลือกไฟล์ callsign.tq6 เพื่อทาการ load. (เลือกจาก folder ที่เราเก็บไฟล์ไว้)
ภาพประกอบ 17

ภาพประกอบ 17

กด Open เพื่อเปิดไฟล์ จากนัน้ โปรแกรมก็จะทาการ Load callsign certificate

25. หลังจากกด open file หน้าต่างจะแสดงขึน้ มาดังภาพประกอบ 18

ภาพประกอบ 18

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 170


26. หลังจากนัน้ กดปุม่ finish จะเห็นตรงสัญญาณเรียกขานเราจากทีส่ ถานะยังไม่ได้ confirm จะถูก
เปลีย่ นเป็น Confirm ขึน้ มาดังภาพประกอบ 19

ภาพประกอบ 19

เป็นอันเสร็จเรียบร้อยกับกระบวนการลงทะเบียนเพื่อใช้งาน LOTW (Logbook of The World)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 171


วิธีการใช้งานโปรแกรม TQSL สาหรับการใช้งาน LOTW (Logbook of The World)

1. เปิดโปรแกรม TQSL ขึน้ มา ดังภาพประกอบ 1

ภาพประกอบ 1

2. ภาพประกอบ 1 แสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้
2.1 Sign a log and upload it automatically to LoTW / เข้าสู่ Log ของเรา และ Upload Log
อัตโนมัตสิ ู่ LoTW (ต้องใช้ไฟล์ ADIF โดยอาจจะ export ออกมาจาก electronic log อื่น ๆ เช่น XMLOG
ทีเ่ ป็น freeware ใช้งานง่ายเหมาะกับเพื่อน ๆ นักวิทยุสมัครเล่นทัง้ มือใหม่และมือเก่า ) (ภาพประกอบ 2)
2.2 Sign a log and save it for uploading later / เข้าสู่ Log ของเราและสาหรับการบันทึกเพื่อ
Upload Log ในภายหลัง หรือ การ upload โดยการส่งเมล์ ซึ่งจะกล่าวต่อไปในข้อ 11 (ภาพประกอบ 3)
2.3 Create an ADIF file for signing and uploading / กรณีน้ีคอื กรณีการต้องการใช้ TQSL
โปรแกรมเป็น Logbook และการ Upload เข้าสู่ LOTW (ภาพประกอบ 4)
2.4 Log in to the logbook of the World Site / กรณีน้ีคอื การเข้าสู่ LOTW Website เพื่อดู
สถานะต่าง ๆ เช่น การ confirm จากคู่สถานีท่เี ราติดต่อ , สถานะรางวัลต่าง ๆ , รายงานสรุปจานวน
ประเทศทีต่ ดิ ต่อได้ หรือ รัฐในประเทศสหรัฐอเมริกาทีต่ ดิ ต่อได้ หรือ WPX ทีเ่ ราติดต่อได้ (ภาพประกอบ
5)

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 172


ภาพประกอบ2

ภาพประกอบ 3

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 173


ภาพประกอบ 4

ภาพประกอบ 5

ในกรณีน้ผี มเลือกอันแรก Sign a log and upload it automatically to LoTW ซึ่งเป็นตัวเลือกทีเ่ หมาะสม
ทีส่ ุดสาหรับการใช้งานสาหรับเพื่อนนักวิทยุ

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 174


3. หลังจากคลิกที่ Sign a log and upload it automatically to LoTW แล้วจะปรากฏดังภาพประกอบ 2
เลือกไฟล์ ADIF ทีเ่ รา export ออกมาจาก electronic log ดังภาพประกอบ 6

ภาพประกอบ 6

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 175


4. จากนัน้ กด OPEN จะเป็นดังภาพประกอบ 7 ให้เลือกไปทีส่ ญ ั ญาณเรียกขานทีเ่ ราตัง้ ไว้ ดัง
ภาพประกอบ 8 จะเห็นว่าปุม่ OK จากเป็นสีเทาทีย่ งั กดไม่ได้ จะสามารถกดได้ จากนัน้ กดปุม่ OK จะ
ปรากฏดังภาพประกอบ 9

ภาพประกอบ 7

ภาพประกอบ 8

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 176


5. หลังจากหน้าต่างขึน้ มาดังภาพประกอบ 9 กด YES เพื่อดาเนินการต่อ จะขึน้ ตามภาพประกอบ 10

ภาพประกอบ 9

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 177


6. ในภาพประกอบ 10 จะถามถึง QSO Date Range ให้กด OK จะปรากฏหน้าต่างดังภาพประกอบ 11

ภาพประกอบ 10

ภาพประกอบ 11

7. ตามภาพประกอบ 11 ให้ใส่ password ทีเ่ ราตัง้ ไว้ จากนัน้ กดปุม่ OK

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 178


8. โปรแกรมจะทาการ Convert ไฟล์จาก ADIF ไฟล์ไปเป็น TQ8 เพื่อใช้ใน LOTW ดังภาพประกอบ 12

ภาพประกอบ 12

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 179


9. จากนัน้ โปรแกรมก็จะดาเนินการตรวจเช็ค หลังการตรวจเช็คก็จะทาการ Upload สู่ LOTW LOG
ของเรา ภาพประกอบ 13

ภาพประกอบ 13

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 180


10. หลังการ upload เสร็จเรียบร้อย โปรแกรมก็จะแสดงว่าได้ทาการ upload เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ภาพประกอบ 14 และจะแจ้งให้ปิดโปรแกรม หากเราไม่ตอ้ งการปิดแต่ตอ้ งการจะเข้าไปดูรายการ
upload ให้รอเวลาสักชัวครู
่ ่หนึ่ง และกดเข้าไปทีเ่ มนู Log in to the logbook of the World Site ดัง
ภาพประกอบ 5

ภาพประกอบ 14

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 181


11. การ upload file จะทาได้อกี กรณีหนึ่งคือ การ upload โดยการส่งไฟล์ ซึ่งวิธกี ารนี้จะทาโดยเลือก
เมนู Sign a log and save it for uploading later โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างตามภาพประกอบ 3
จากนัน้ ให้เลือกไฟล์ ADIF ทีเ่ รา export ออกมาจาก electronic log ของเราจากนัน้ เมื่อเราเลือกไฟล์ท่ี
เป็น ADIF แล้วโปรแกรมจะให้เราเลือกทีจ่ ะเก็บไฟล์ทจ่ี ะใช้งาน (ไฟล์ นามสกุล .tq8) ภาพประกอบ 15

ภาพประกอบ 15

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 182


12. หลังจากโปรแกรมแปลงไฟล์ ADIF เป็น tq8 แล้ว ภาพประกอบ 16 โปรแกรมจะแจ้งสถานะการ
แปลงไฟล์เสร็จ และไฟล์ tq8 นี้จะถูกเก็บอยู่ใน folder ทีเ่ ราเลือกเก็บไว้ โดยเข้าไปดูท่ี folder ทีเ่ ราเลือก
เก็บไว้ ภาพประกอบ 17

ภาพประกอบ 16

ภาพประกอบ 17

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 183


13. จากนัน้ หากต้องการ upload แบบการส่ง email ก็สามารถทีจ่ ะทาได้ดว้ ยการส่งเมล์ไปที่ lotw-
logs@arrl.org ดังภาพประกอบ 18 ซึ่งวิธนี ้จี ะดีกว่าการ upload แบบอัตโนมัตเิ นื่องจาก lotw จะส่งไฟล์
confim กลับมาด้วยหลังจากการ upload เรียบร้อยแล้ว

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 184


ประวัติผ้เู ขียน

I am a Thailand Amateur Radio and my name is Wichyein Tritarntipvikul and Tony is my


nickname. My Home callsign is E21IZC Also KF1I , /DL , /9V1. I was born in Bangkok Thailand
in 1970 and 45 Years Old. I received a license for Amateur Radio Operator since 1993.

For Thailand License :-

My first licence (VHF) was granted in 1993 When I was 23 Years Old. I then upgrated to the
intermediate Class #2 (HF) in 1997. and upgrated to the intermediate class #1 (HF) in 2004. I
have operated with many special callsigns such as : HS50A , HS0AC (Rast HQ) , E22AAA ,
HS1AI/P , HS2AR/P , HS98AG , E20AJ/7 , E20AJ , HS7UCQ/P , E20HHK/P , E27EK/p ,
HS7AT , HS7AT/p and E2X on DX and Contest.

On 2009 , I went to germany and got a temporary callsign is DL/E21IZC (Extra Class) used
with K.Ralf , K. Ben’s station for operated on D-STAR.

and on 2010 got a 9V1 License as 9V1/E21IZC on General Class.

For US License :-

On Dec 2010 received a Technician Licnese and got callsign is KB1VCH , March 2011
received a General Class License and April 2011 upgrade to Extra Class License and Vanity
callsign to KF1I.

I'm a ARRL VEC Start from Mar 25, 2011.

I like contesting and DXing and like CW QSO so much , I'm very interested in cw only. Present
I'm qso with all friend around the world more than 5x,xxx QSO's on my home call and contest
call.

150 Countrys and confirm QSL Card 142 Countrys.

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 185


Certificate :-

DXCC MIXED-(120), DXCC CW-(114) and DXCC 20-(104)


WAC PHONE, WAC CW
JCC (2349) , AJD (8626) , WAJA

CQ WW DX Contest :-

1st of Thailand 20 Meters on CQ WW DX CW 2006.


13rd of Asia and 1st of Thailand 20 Meters on CQ WW DX 2008
12nd of Asia and 1st of Thailand 20 Meters on CQ WW DX SSB 2013.

CQ WW WPX Contest :-

1st of Thailand 20 Meters on CQ WW WPX CW 2011.


1st of Thailand 15 Meters on CQ WW WPX SSB 2012.
1st of Thailand All Band on CQ WW WPX CW 2012.

Now are your talking / เมื่อคุณเริ่ มออกอากาศ 186

You might also like