You are on page 1of 11

คำนำ
หลักสูตรบูรณาการท้องถิ่น เรื่อง การละเล่นลูกสะบ้า ซึ่งเป็นการละเล่นในท้องถิ่นที่ เป็นส่วนหนึ่งของ
รายวิชา การพัฒนาหลักสูตร 10222002 จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาและออกแบบหลักสูตรบูรณาการท้องถิ่นเพื่อ นำ
ความรู้ไปใช้ได้จริงในการจัดการเรียนการสอน
ผู้จัดทำหวังว่าหลักสูตรบูรณาการท้องถิ่นเล่มนี้จะมีประโยชน์และให้ความรู้แก่ผู้ที่ได้ศึกษาหากมีข้อแนะนำ
หรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ผู้จัดทำ
นาย พัชรวร เขียวประภา

สารบัญ

เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ที่มาและความสำคัญ ค
วัตถุประสงค์ ง
บริบทภูมิปัญญาท้องถิ่น ง
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาหลักสูตร 1
ตารางสาระหลัก 2
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 3
ตารางที่2 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ต่อ) 4
ตารางที3่ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ต่อ) 5
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่น 6
ตารางที2่ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ต่อ) 7

ที่มาและความสำคัญ
การเล่นสะบ้าเข้าใจว่ามาจากมอญ เพราะมีการเล่นในงานสงกรานต์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็มีการ
เล่นชนิดนี้ จึงคิดว่าสะบ้าน่าจะเป็นการละเล่นของไทยโบราณมากกว่าที่เรียกว่า สะบ้า เพราะมีลูกสะบ้าเป็น
เครื่องมือในการเล่น ลูกสะบ้าจะมีเปลือกแข็งมีลักษณะกลม ขนาดเท่ากับสะบ้าของหัวเข่าคน ลักษณะกลมแบนแต่
ตรงกลางนูน การเล่นสะบ้ามีทั้งหมด 48 บท ที่นิยมเล่นกันคือ สะบ้ารำ โดยแบ่งเป็นชายหนึ่งฝ่าย หญิงหนึ่งฝ่าย
ฝ่ายแพ้ต้องเป็นฝ่ายรำ
หลักสูตรบูรณาการท้องถิ่นเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้นักศึกษาและนักเรียน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความ
เป็นมาของการละเล่นในท้องถิ่นมากขึ้นเพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์การละเล่นในท้องถิ่นสำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6
ดังนั้น การนำหลักสูตรบูรณาการท้องถิ่น เรื่อง การละเล่นลูกสะบ้า ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน
การสอนในโรงเรียนและการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นซึ่งทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการละเล่นในท้องถิ่นของตัวเองมากขึ้น

วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจเกี่ยวกับการละเล่นในท้องถิ่น
2.เพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการละเล่นในท้องถิ่นของตนเอง
3.เพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดและการอนุรักษ์การละเล่นในท้องถิ่น
4.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับแรงโยนลูกสะบ้า

บริบทภูมิปญ
ั ญาท้องถิ่น
การเล่นสะบ้าบ่อน (ว่อน–ฮะ–นิ) เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของชาวมอญที่มีมาแต่โบราณซึ่งจัดขึ้นในช่วง
เทศกาลสงกรานต์ มักเล่นตั้งแต่วันที่ ๑๓ เมษายน เป็นต้นไป มีกำหนด ๓ วัน ๗ วัน หรือ ๑๕ วัน แล้วแต่เจ้าของ
บ่อน การเล่นสะบ้าบ่อนนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หนุ่มสาวชาวมอญได้มีโอกาสพบปะพูดคุยกันอย่างใกล้ชิดภายใต้
สายตาของผู้ใหญ่ เนื่องจากในอดีตหนุ่มสาวชาวมอญไม่มีโอกาสได้พบปะพูดคุยกันเหมือนในปัจจุบัน ดังนั้นการเล่น
สะบ้าบ่อนของชาวมอญจึงไม่ได้เน้นที่แพ้หรือชนะ แต่หากใช้เป็นเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบรูปร่าง หน้าตา
กิริยามารยาท การสนทนา บุคลิกภาพ ตลอดจนการตรวจสอบการพิการทางร่างกายของหนุ่ม–สาวที่เล่นสะบ้า
มักจะใช้บ้านที่มีบริเวณใต้ถุนบ้านสูง หรือลานกว้างๆ ในสมัยก่อนฝ่ายหญิงจะต้องจัดเตรียมบ่อนสะบ้าโดย
ใช้น้ำราดและทุบดินบริเวณใต้ถุนบ้านให้เรียบ ใช้ตะลุมพุกทุบแล้วกลึงด้วยขวดน้ำให้พื้นนั้นเรียบสนิท ในปัจจุบันใช้
เล่นบนพื้นปูนซีเมนต์หรือบนพื้นไม้ก็มี ส่วนอุปกรณ์ที่ใช้ในการตกแต่งบ่อนสะบ้า ในอดีตนั้นสาวๆ แต่ละหมู่บ้านจะ
มาช่วยกันประดับตกแต่งบ่อนสะบ้าด้วยวัสดุจากธรรมชาติ หาได้ง่ายในท้องถิ่น และราคาถูก เช่น ทางมะพร้าว
กระดาษ หรือผ้าสีต่างๆ ติดตะเกียงหรือไฟฟ้าให้สว่างไสว จัดโต๊ะรับแขกสำหรับผู้ที่เข้ามาเที่ยวชมบ่อนสะบ้า พร้อม
ตั้งน้ำดื่ม กาละแมหรือข้าวเหนียวแดงไว้รับรองอีกด้วย แต่ในปัจจุบันการตกแต่งบ่อนสะบ้ามีการเปลี่ยนแปลงไป
ตามกาลเวลาจากเดิมที่เป็นวัสดุจากธรรมชาติและหาได้ง่ายในท้องถิ่น เป็นวัสดุจำพวก แผ่นไม้อัด โฟม แผ่นไวนิล
เป็นต้น
1

วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาหลักสูตร
ได้ดำเนินการพัฒนาวิเคราะห์หลักสูตรในแบบที่1 การใช้ภูมิปัญญาเป็นฐาน
รายวิชา การละเล่นลูกสะบ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ในวิชา วิทยาศาสตร์

แรงลัพท์ของแรง 2
แรง แรงลัพท์ที่กระทำ
ผลรวมของแรง ต่อวัตถุ
ที่กระทำต่อวัตถุ

แรงลัพท์ แรงที่กระทำต่อ
วัตถุ

การละเล่นลูกสะบ้า
การเขียนแผนภาพ
ผลของแรงเสียดทาน แรงที่กระทำต่อวัตถุ

แรงเสียดทาน เสียง
ระดับสูงต่ำของ
เสียง
เขียนแผนภาพ
แรงเสียดทาน
การเคลื่อนที่ของ การได้ยินเสียง
วัตถุ
2

สาระหลัก สาระย่อย/ต้องนำไปสอนเด็ก
1.แรงลัพท์ -ผลรวมของแรงที่กระทำต่อวัตถุ
-แรงลัพท์ของแรง 2 แรง

2.แรงที่กระทำต่อวัตถุ -แรงลัพท์ที่กระทำต่อวัตถุ
-การเขียนแผนภาพแรงที่กระทำต่อวัตถุ

3.แรงเสียดทาน -ผลของแรงเสียดทาน
-การเคลื่อนที่ของวัตถุ

4.เขียนแผนภาพแรงเสียดทาน -แผนภาพแรงเสียดทาน
-แผนภาพแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระทําต่อวัตถุ
5.เสียง -การได้ยินเสียง
-ระดับสูงต่ำของเสียง
3

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ 1 เรื่อง การละเล่นลูกสะบ้า จำนวน 5 ชม.
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
เรื่องที่ ชื่อเรื่อง สาระการ มาตรฐาน/ สาระสำคัญ ภูมิปัญญา จำนวน
เรียนรู้ ผลการเรียนรู้/ ท้องถิ่น ชม.
จุดประสงค์
1 แรงลัพท์ -ผลรวมของ ว 2.2 ป.5/1 แรงลัพธ์เป็น การละเล่น 1
-ผลรวมของแรง แรงที่กระทำ อธิบายวิธีการหาแรง ผลรวมของแรง ลูกสะบ้า
ที่กระทำต่อวัตถุ ต่อวัตถุ ลัพธ์ของแรงหลาย ที่กระทําต่อ
-แรงลัพท์ของ -แรงลัพท์ แรงในแนวเดียวกันที่ วัตถุโดยแรง
แรง 2 แรง ของแรง กระทําต่อวัตถุใน ลัพธ์ของแรง ๒
2 แรง กรณีที่วัตถุอยู่นิ่งจาก แรงที่กระทําต่อ
หลักฐานเชิงประจักษ์ วัตถุเดียวกันจะ
มีขนาดเท่ากับ
ผลรวมของแรง
ทั้งสองเมื่อแรง
ทั้งสองอยู่ใน
แนวเดียวกัน
และมีทิศทาง
เดียวกัน
4

ตารางที่2 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ต่อ)


เรื่องที่ ชื่อเรื่อง สาระการ มาตรฐาน/ สาระสำคัญ ภูมิปัญญา จำนวน
เรียนรู้ ผลการเรียนรู้/ ท้องถิ่น ชม.
จุดประสงค์
2 แรงที่กระทำต่อ -แรงลัพท์ที่ ว 2.2 ป.5/2 การเขียน การละเล่น 1
วัตถุ กระทำต่อ เขียนแผนภาพแสดง แผนภาพของ ลูกสะบ้า
-แรงลัพท์ที่ วัตถุ แรงที่กระทําต่อวัตถุ แรงที่กระทําต่อ
กระทำต่อวัตถุ -การเขียน ที่อยู่ในแนวเดียวกัน วัตถุสามารถ
-การเขียน แผนภาพแรง และแรงลัพธ์ที่ เขียนได้โดยใช้
แผนภาพแรงที่ ที่กระทำต่อ กระทําต่อวัตถุ ลูกศร โดยหัว
กระทำต่อวัตถุ วัตถุ ลูกศรแสดง
ทิศทางของแรง
และความยาว
ของลูกศรแสดง
ขนาดของแรงที่
กระทําต่อวัตถุ

3 แรงเสียดทาน -ผลของแรง ว 2.2 ป.5/4 แรงเสียดทาน การละเล่น 1


-ผลของแรงเสียด เสียดทาน ระบุผลของแรงเสียด เป็นแรงที่ ลูกสะบ้า
ทาน -การ ทานที่มีต่อการ เกิดขึ้นระหว่าง
-การเคลื่อนที่ของ เคลื่อนที่ของ เปลี่ยนแปลง ผิวสัมผัส
วัตถุ วัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ ของวัตถุ เพื่อ
จากหลักฐานเชิง ต้านการ
ประจักษ์ เคลื่อนที่ของ
วัตถุนั้น
5

ตารางที3่ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ต่อ)


เรื่องที่ ชื่อเรื่อง สาระการ มาตรฐาน/ สาระสำคัญ ภูมิปัญญา จำนวน
เรียนรู้ ผลการเรียนรู้/ ท้องถิ่น ชม.
จุดประสงค์
4 เขียนแผนภาพ -แผนภาพ ว 2.2 ป.5/5 แรงเสียดทาน การละเล่น 1
แรงเสียดทาน แรงเสียด เขียนแผนภาพแสดง จากพื้นผิวนั้นก็ ลูกสะบ้า
-แผนภาพแรง ทาน แรงเสียดทานและ จะต้านการ
เสียดทาน -แผนภาพ แรงที่อยู่ในแนว เคลื่อนที่ของ
-แผนภาพแรงที่ แรงที่อยู่ใน เดียวกันที่กระทําต่อ วัตถุแต่ถ้าวัตถุ
อยู่ในแนว แนวเดียวกัน วัตถุ กําลังเคลื่อนที่
เดียวกันที่กระทํา ที่กระทําต่อ แรงเสียดทานก็
ต่อวัตถุ วัตถุ จะทําให้วัตถุนั้น
เคลื่อนที่ช้าลง
หรือหยุดนิ่ง
5 เสียง -การได้ยิน ว 2.3 ป.5/1 การได้ยินเสียง การละเล่น 1
-การได้ยินเสียง เสียง อธิบายการได้ยิน ต้องอาศัย ลูกสะบ้า
-ระดับสูงต่ำของ -ระดับสูงต่ำ เสียงผ่านตัวกลาง ตัวกลาง โดย
เสียง ของเสียง จากหลักฐาน อาจเป็น
เชิงประจักษ์ ของแข็ง
ว 2.3 ป.5/2 ของเหลว หรือ
ระบุตัวแปร ทดลอง อากาศ เสียงจะ
และอธิบายลักษณะ ส่งผ่านตัวกลาง
และการเกิดเสียงสูง มายังหู
เสียงต่ํา
รวม 5
6

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่น
หน่วยที่/วิชา 1 เรื่อง การละเล่นลูกสะบ้า จำนวน 5 ชม.
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5
เรื่องที่ ชื่อเรื่อง มาตรฐาน แนวการจัด แหล่งเรียนรู้/ สื่อวัสดุ จำนวน
กิจกรรมการ บุคคลสำคัญ อุปกรณ์ ชม.
เรียนรู้
1 แรงลัพท์ ว 2.2 ป.5/1 1.การจัด 1.พื้นที่เล่น ลูกสะบ้า 1
-ผลรวมของแรงที่ แบบจำลองการ ลูกสะบ้า
กระทำต่อวัตถุ เล่นลูกสะบ้า
-แรงลัพท์ของแรง
2 แรง

2 แรงที่กระทำต่อ ว 2.2 ป.5/2 1.ใบความรู้ 1.ใบความรู้ 1.กระดาษ 1


วัตถุ เกี่ยวกับการเล่น A4
-แรงลัพท์ที่ ลูกสะบ้า
กระทำต่อวัตถุ
-การเขียน
แผนภาพแรงที่
กระทำต่อวัตถุ

3 แรงเสียดทาน ว 2.2 ป.5/4 1.ใบความรู้ 1.ใบความรู้ 1.กระดาษ 1


-ผลของแรงเสียด เกี่ยวกับการเสียด A4
ทาน ทานของลูกสะบ้า
-การเคลื่อนที่ของ
วัตถุ
7

ตารางที2่ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (ต่อ)


เรื่องที่ ชื่อเรื่อง มาตรฐาน แนวการจัด แหล่งเรียนรู้/ สื่อวัสดุ จำนวน
กิจกรรมการ บุคคลสำคัญ อุปกรณ์ ชม.
เรียนรู้
4 เขียนแผนภาพ ว 2.2 ป.5/5 1.เขียนแผนภาพ 1.คุณครู 1.กระดาษ 1
แรงเสียดทาน ให้ดูเป็นตัวอย่าง A4
-แผนภาพแรง
เสียดทาน
-แผนภาพแรงที่
อยู่ในแนว
เดียวกันที่กระทํา
ต่อวัตถุ
5 เสียง ว 2.3 ป.5/1 1.การฟังเสียงจาก 1.คุณครู 1.ลูกสะบ้า 1
-การได้ยินเสียง ว 2.3 ป.5/2 ลูกสะบ้ากระทบ 2.โทรศัพท์
-ระดับสูงต่ำของ กัน
เสียง 2.วัดระดับเสียง
จากลูกสะบ้า
รวม 5

You might also like