You are on page 1of 15

โครงงาน

เรื อง คณิตศาสตร์ กับลักษณะการเดินของนาฬิ กา


ทีมาและความสําคัญของโครงงาน
ในการดําเนินชีวิตประจําวันเรามีความเกียวข้องกับเวลาอยูต่ ลอดไม่ว่าเราจะทํากิจกรรมใด ๆ เช่น 06.00 น. ตืน
นอน 06.30 – 07.30 น. อาบนํา เป็ นต้น
นาฬิกาเป็ นเครื องมือสําคัญทีใช้ในการบอกเวลาซึงในนาฬิกานันมีการนําตัวเลขต่าง ๆ เข้าไป
เกียวข้อง ได้แก่ เลข 1 ถึงเลข 12 เมือเราได้พิจารณาลักษณะการเดินของนาฬิกา ซึงมีทงการเดิ ั นตามเข็มนาฬิกา
เป็ นการเดินจากขวาไปซ้าย หรื อจากเลข 1,2 ไปยังเลข 12 และการเดินทวนเข็มนาฬิกาเป็ นการเดินจากซ้ายไป
ขวา หรื อจากเลข 12,11 ย้อนไปยังเลข 1 และยับได้พบสมบัติอย่างหนึงของการเดินของนาฬิกาจะเริ มเดินจาก
เลข 1 ไปเลข 2 ไปจนถึงเลข 12 เป็ นเช่นนีซําแล้วซําอีก จากลักษณะการเดินของนาฬิกาดังกล่าวทําให้สามารถ
นํามาสร้างตารางจัตุรัสเพือศึกษาความเกียวข้องทางคณิ ตศาสตร์ ได้ ด้วยเหตุนีทางกลุ่มเราจึงสนใจทีจุศึกษาความเกียวข้อง
ของคณิ ตศาสตร์กบั ลักษณะการเดินของนาฬิกา

วัตถุประสงค์
1. เพือศึกษาวิธีการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์กบั ลักษณะการเดินของนาฬิกา

2. เพือนําผลจากวิธีการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ตามลักษณะการเดินของนาฬิกาไปสร้าง


ตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆ ทีเกิดจากการกําหนดสี ของเลขโดดแต่ละจํานวน

3. ศึกษารู ปแบบทีเปลียนไปของการหมุนหรื อการพลิกตารางจัตุรัสทีได้จากการดําเนิ นการทาง


คณิตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา

4. เพือสร้างลวดลายต่าง ๆ ทีได้จากการผสมผสานรู ปแบบต่าง ๆ ของการดําเนิ นการทาง


คณิตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา
วิธีการดําเนินงาน
1. จัดตังกลุ่มโครงงาน ซึงประกอบด้วยสมาชิก 9 คน ได้มีการประชุมปรึ กษาหารื อ
เกียวกับการดําเนิ นการจัดทําโครงงาน โดยกลุ่มได้แบ่งหน้าทีให้สมาชิกออกไปศึกษาข้อมูลเอกสารต่าง ๆ

2. ประชุมปรึ กษาหารื อในการหาหัวข้อของโครงงานคณิ ตศาสตร์ ทีกลุ่มจะดําเนินการ โดยทาง


กลุ่มได้มีการเสนอหัวข้อทีจะดําเนินการหลายอย่าง เช่น ลักษณะของการผสมสี ลักษณะการหมุนของ
นาฬิกา เป็ นต้น ซึงทางกลุ่มเห็นว่าลักษณะของการหมุนของนาฬิกาเป็ นเรื องทีน่าสนใจจึงได้ตกลงทีจะ
ทําการศึกษา ลักษณะการหมุนของนาฬิกา ซึงทางกลุ่มได้กลับไปศึกษาเอกสารต่าง ๆ ทีเกียวข้องอีกครัง
3. ประชุมปรึ กษาหารื อ ร่ วมกันวิเคราะห์วางแผน แล้วกําหนดแนวทางในการดําเนินงาน

4. ดําเนินการศึกษาวิธีดาํ เนินกาทางคณิ ตศาสตร์กบั ลักษณะการเดินของนาฬิกา แล้วนําผลทีได้


ไปสร้างตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆ หลังจากนันได้ศึกษาการหมุนหรื อการพลิกตารางจัตุรัสให้เกิดรู ปแบบ
ทีแตกต่างไป และมีการผสมผสานรู ปแบบข้างต้น เพือสร้างลวดลายต่าง ๆ ทีสวยงาม ซึงมีการแบ่ง
หน้าทีดําเนิ นการ

5. สรุ ปผลจากการดําเนิ นการ

6. ประชุมอภิปรายปัญหาต่าง ๆ และให้ขอ้ เสนอแนะ

7. จัดทํารายงานโครงงานคณิ ตศาสตร์

8. นําเสนอโครงงานคณิ ตศาสตร์
การศึกษาข้ อมูลพืนฐานก่อนออกแบบหรื อกําหนดแนวทาง
ทางกลุ่มได้ศึกษาข้อมูลพืนฐานก่อนกําหนดแนวทางในการดําเนินงาน ดังนี

1. ความหมาย หลักการ จุดประสงค์ ประเภท ขันตอน และตัวอย่างของการทําโครงงาน


คณิ ตศาสตร์

2. ลักษณะการเดินของนาฬิกา

3. ระบบจํานวนจริ ง ได้แก่ การดําเนินการต่าง ๆ สมบัติของจํานวน เป็ นต้น

4. เรขาคณิต ได้แก่ ลักษณะของรู ปทางเรขาคณิ ต การหมุนหรื อการพลิกรู ปทางเรขอ


คณิ ต

สมมุติฐาน
1. วิธีการดําเนินการทางคณิ ตศาสตร์ มีความเกียวข้องกับลักษณะการเดินของนาฬิกา

2. ผลจากวิธีการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา สามารถ


สร้างตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆ ทีเกิดจากการกําหนดสี ของเลขโดดแต่ละจํานวนได้

3. การหมุนหรื อการพลิกตารางจัตุรัสทีได้จากการดําเนินการทางคณิ ตศาสตร์ ตาม


ลักษณะการเดินของนาฬิกาทําให้รูปแบบของตารางจัตุรัสเปลียนไป

4. การผสมผสานรู ปแบบต่าง ๆ ของการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะการ


เดินของนาฬิกาทําให้เกิดลวดลายต่าง ๆ ได้

สรุ ปผลการศึกษาหรื อผลงานทีเกิดขึน


1. ทางกลุ่มได้ศึกษาวิธีการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ กบั ลักษณะการเดินของ
นาฬิกา ดังนี
1.1 วิธีการดําเนินการทางคณิตศาสตร์
วิธีการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ทีกลุ่มได้ศึกษาจากเอกสาร ได้แก่

- การบวก เช่น 2 + 5 = 7 เป็ นต้น

- การลบ เช่น 5 - 8 = -3 เป็ นต้น

- การคูณ เช่น 4 x 5 = 20 เป็ นต้น

- การหาร เช่น 10 ÷ 2 = 5 เป็ นต้น

1.2 เลขโดด
เลขโดดในระบบตัวเลขฐานต่าง ๆ จะมีจาํ นวนต่างกันไป เช่น เลขโดดของระบบตัว
เลขฐานสิ บจะมีเลขโดดอยู่ 10 ตัว ได้แก่ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 เลขโดดของระบบตัว
เลขฐานสองจะมีเลขโดดอยู่ 2 ตัว ได้แก่ 0,1 เป็ นต้น

1.3 ลักษณะการเดินของนาฬิ กา
ลักษณะการเดินของนาฬิกาซึงมีทงการเดิ
ั นตามเมนาฬิกาเป็ นการเดินจากขวาไปซ้ายหรื อจาก
เลข 1,2 ไปยัง 12 และการเดินทวนเข็มนาฬิกาเป็ นการเดินจากซ้ายไปขวาหรื อจาก
เลข 12,11 ย้อนไปยังเลข 1 และยังได้พบลักษณะอย่างหนึงของการเดินของนาฬิกาว่าเข็มของนาฬิกา
จะเริ มเดินจากเลข 1 ไปเลข 2 ไปจนถึงเลข 12 แล้วกลับมาเริ มเดินจากเลข 1 ไปเลข 2 ไป
จนถึงเลข 12 เป็ นเช่นนี เสมอ ๆ
1.4 วิธีการดําเนินการทางคณิตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของ
นาฬิ กา
จากลักษณะการเดินของเข็มนาฬิกา ทําให้กลุ่มได้กาํ หนดวิธีการทางคณิ ตศาสตร์ ตาม
ลักษณะการเดินของนาฬิกาได้ 3 ลักษณะ คือ การบวก การลบ การคูณ โดยจํานวนทีใช้ดาํ เนินการ
ต้องทําในรู ปแบบของตารางจัตรุ ัส และเป็ นเลขโดด ทางกลุ่มสามารถกําหนดเลขโดดเรี ยงกันได้
หลากหลาย เช่น

- กําหนด 2 ตัว ได้แก่ 0,1 0

- กําหนด 3 ตัว ได้แก่ 0,1,2

- กําหนด 4 ตัว ได้แก่ 0,1,2,3 เป็ นต้น 1

ทางกลุ่มเห็นว่าการหารไม่สามารถทําได้ เนืองจากมีบางจํานวนดําเนิ นการแล้วได้ผลลัพธ์เป็ น


เศษส่ วน ซึงไม่สามารถลงเป็ นจํานวนในเลขโดดนันได้

ตัวอย่ าง การดําเนินการเกียวกับการบวก โดยใช้เลขโดด 0,1,2

2
1

จากตารางจะเห็นว่า ทางกลุ่มใช้วิธีการนําเลขในแต่ละแถว มาบวกกับเลขแต่ละหลักตามวิธี


ปกติ ถ้าผลบวกทีได้มีจาํ นวนเกินกว่าเลขโดดทีมากทีสุดให้นบั ต่อไปตามลักษณะการหมุนตามเข็มของ
นาฬิกา เช่น 2 + 2 = 4 ซึงมีค่ามากกว่า 2 ซึงเป็ นเลขโดดทีมีค่ามากทีสุด ให้นบั กลับมา
ที 0,1,2 ซําตามรู ป จะได้วา่ 2 + 2 มีค่าเท่ากับ 1 ตามวิธีการดําเนินการตามลักษณะการเดิน
ของนาฬิกา

ตัวอย่ าง การดําเนินการเกียวกับการลบ โดยใช้เลขโดด 0,1,2,3

-
0

2
1

จากตารางจะเห็นว่าทางกลุ่มใช้วิธีการนําเลขในแต่ละแถว มาลบกับเลขแต่ละหลักตามวิธีการ
ปกติ ถ้าผลลบทีได้มีค่าทีติดลบ ให้นบั ย้อนกลับตามลักษณะการหมุนทวนเข็มของนาฬิกา เช่น 2 -
3 = -1 ซึงมีค่าติดลบ ให้นบั กลับตามลักษณะการหมุนทวนเข็มของนาฬิกามา 1 ครังตามรู ป จะ
ได้วา่ 2 - 3 มีค่าเท่ากับ 3

ตัวอย่ าง การดําเนินการเกียวกับการคูณ โดยใช้เลขโดด 0,1,2,3,4

1
0

2
1

จากตารางจะเห็นว่าทางกลุ่มใช้วิธีการนําเลขในแต่ละแถว มาคูณกับตัวเลขในแต่ละหลักตามวิธีการ
ปกติ ถ้าผลคูณทีได้มีจาํ นวนเกินกว่าเลขโดดทีมากทีสุด ให้นบั ต่อไปตามลักษณะการหมุนตามเข็มของ
นาฬิกา เช่น 2 x 4 = 8 ซึงมีค่ามากกว่า 4 ซึงเป็ นเลขโดดทีมีค่ามากทีสุดให้นบั กลับมา
ที 0,1,2 ซําตามรู ป จะได้วา่ 2 x 4 มีค่าเท่ากับ 3 ตามวิธีการดําเนินการตามลักษณะการเดิน
ของนาฬิกา

2. ทางกลุ่มได้นาํ ผลจากวิธีการดําเนินการทางคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของ


นาฬิกาไปสร้างตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆทีเกิดจากการกําหนดสี ของเลขโดดแต่ละจํานวน ดังนี
เลขโดด 0 คือ สีแดง
เลขโดด 1 คือ สีเหลือง
เลขโดด 2 คือ สีเขียว
เลขโดด 3 คือ สีฟ้า
เลขโดด 4 คือ สีนาเงิํ น
เลขโดด 5 คือ สีม่วง
เลขโดด 6 คือ สีชมพู

ตัวอย่ าง ตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆ ทีเกิดจากการกําหนดสี ของเลขโดด 0,1 ของการดําเนินการ


ทางคณิตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา มีดงั นี

ตัวอย่ าง ตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆ ทีเกิดจากการกําหนดสี ของเลขโดด 0,1,2 ของการ


ดําเนินการทางคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา มีดงั นี

ตัวอย่ าง ตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆ ทีเกิดจากการกําหนดสี ของเลขโดด 0,1,2,3,4,5,6 ของ


การดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา มีดงั นี

จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่าทางกลุ่มใช้การดําเนินการ การบวก การลบ และการคูณในแต่ละชุดของ


เลขโดด ซึงทําให้ได้ตารางจัตุรัสรู ปแบบต่าง ๆ ทีหลากหลายกันออกไป
3. ทางกลุ่มได้ศึกษารู ปแบบทีเปลียนไปโดยได้ตกลงกันว่าจะทําการหมุนหรื อการพลิก
ตารางจัตุรัสทีกําหนดสี แล้ว ทีได้จากการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา
เพือทีจะได้รูปแบบทีแปลกใหม่ โดยกําหนดการหมุน และการพลิกตารางจัตุรัสไว้ดงั นี
ตัวอย่าง การหมุนและการพลิกตารางจัตุรัสของดําเนินการโดยการบวกของเลข
โดด 0,1,2 จากตารางจัตุรัสของดําเนิ นการโดยการบวกของเลขโดด 0,1,2

รู ปแบบ A ไม่หมุนตารางจัตุรัส

รู ปแบบ B การหมุนตารางจัตุรัสเป็ นมุม 90 องศา

รู ปแบบ C การหมุนตารางจัตุรัสเป็ นมุม 180 องศา

รู ปแบบ D การหมุนตารางจัตุรัสเป็ นมุม 270 องศา

รู ปแบบ E การพลิกในแนวตัง

รู ปแบบ F การพลิกในแนวนอน

รู ปแบบ G การพลิกทแยงมุมขวา

รู ปแบบ H การพลิกทแยงมุมซ้าย

จากตัวอย่างข้างต้น และการทดลองหมุน หรื อพลิกตารางจัตุรัสทีได้จากการดําเนิ นการทาง


คณิตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา ทางกลุ่มเห็นว่าดําเนินการหมุน หรื อพลิก
ได้ 8 แบบ และทางกลุ่มเห็นว่าการพลิกในแนวต่าง ๆ จะมีลกั ษณะรู ปแบบซํากันกับการหมุน ทาง
กลุ่มจึงตกลงว่าจะศึกษาเฉพาะรู ปแบบการหมุนตารางจัตุรัส นันคือรู ปแบบ A,B,C และ D
ตัวอย่ าง การหมุนและการพลิกตารางจัตุรัสของดําเนินการโดยการบวกของเลขโดด 0,1,2,3,

4,5,6

ตารางจัตุรัสของดําเนินการโดยการคูณ ของเลขโดด 0,1,2,3,4,5,6

รู ปแบบ A ไม่หมุนตารางจัตุรัส

รู ปแบบ B การหมุนตารางจัตุรัสเป็ นมุม 90 องศา

รู ปแบบ C การหมุนตารางจัตุรัสเป็ นมุม 180 องศา

รู ปแบบ D การหมุนตารางจัตุรัสเป็ นมุม 270 องศา

จากตัวอย่างรู ปแบบทีเปลียนไปจากการหมุนหรื อพลิกตารางจัตุรัสทีได้จากการดําเนินการทาง


คณิตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา จะเห็นว่าทางกลุ่มได้รูปแบบทีแตกต่างกัน
มา 4 รู ปแบบ ในแต่ละการดําเนินการทางคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกาของชุดเลขโดด
ต่าง ๆ

4. ทางกลุ่มได้สร้างลวดลายต่าง ๆ ทีได้จากการผสมผสานรู ปแบบต่าง ๆ ของการดําเนินการทาง


คณิตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา โดยกลุ่มได้นาํ ตารางจัตุรัสมาสร้างลวดลายต่าง ๆ ที
น่าสนใจ ดังนี

ตัวอย่าง การสร้างลวดลายจากการผสมผสานรู ปแบบต่าง ๆ ของการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์


โดยการบวกของเลขโดด 0,1,2

A ไม่ หมุน

B การหมุน 90 องศา

C การหมุน 180 องศา


D การหมุน 270 องศา

รูปแบบ** A,A,A,A **

รูปแบบ ** A,B,C,D**

รูปแบบ A,B,B,A

รูปแบบ** D,D,C,C**

รูปแบบ A,A,B,B

รูปแบบ** B,B,B,B**

ตัวอย่าง การสร้างลวดลายจากการผสมผสานรูปแบบต่าง ๆ ของการดําเนินการทางคณิตศาสตร์ โดย


การคูณของเลขโดด 0,1,2,3,4,5,6 ( พิจารณารู ปแบบ A,B,C และ D ของเลข
โดด 0,1,2,3,4,5,6 จากตัวอย่างข้างต้น )

รูปแบบ A,B,C,D
แนวทางการนําผลไปใช้
จากการดําเนินการจัดทําโครงงาน ทางกลุ่มได้มีแนวทางในการนําผลไปใช้ ดังนี

1. ตารางจัตุรัสทีมีลวดลายสามารถนํามาประยุกต์ได้ในงานหลาย ๆ อย่าง เช่น การออกแบบ


ลวดลาย ผ้าบาติก กระเบือง ทีรองจานข้าว Wallpaper เสื อผ้า ผ้าคอสติส เป็ นต้น

2.นําการดําเนินการของโครงงาน ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างกิจกรรมทีส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ และ


ส่ งเสริ มใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น การประกวดการออกแบบลวดลายทางคณิตศาสตร์ เป็ นต้น

การอภิปรายผล** และข้อเสนอแนะ**

อภิปรายผล
1. จากการดําเนิ นการทางคณิ ตศาสตร์ ตามลักษณะการเดินของนาฬิกา จะพบว่า ทางกลุ่มได้ศึกษาใน
การดําเนิ นการ ได้แก่ การบวก การลบ การคูณ เท่านัน ส่วนการหารนันจะพบว่ามีบางจํานวนที
ดําเนินการหารแล้ว ผลทีได้เป็ นเศษส่ วนหรื อทศนิยม ซึงอยูน่ อกเหนื อจากชุดเลขโดดทีทางกลุ่มกําหนด

2. ชุดของเลขโดดทีมากขึน เมือกําหนดสี ในแต่ละเลขโดด ทําให้ตารางจัตุรัสทีได้มีรูปแบบทีสวยงาม


ขึน

3. การหมุนหรื อพลิกตารางจัตุรัสแต่ละครัง ทําลวดลายจะแตกต่างกันไปในจํานวนทีจํากัด

4. การสร้างรู ปแบบลวดลาย จากการหมุนหรื อพลิกตารางจัตุรัสนันมีหลากหลายมากกว่าทีทางกลุ่มได้


ให้ตวั อย่างไว้ และยังสามารถสร้างลวดลายต่าง ๆ จากชุดเลขโดดอืน ๆ ได้
ข้ อเสนอแนะ
1. ควรมีตวั อย่างรู ปแบบลวดลายให้มากกว่านี

2. ควรศึกษาในเรื องสมบัติของการดําเนินการทางคณิ ตศาสตร์ กบั ลักษณะการเดินของนาฬิกา ทังการ


ดําเนินการบวก การลบ และการคูณ ในแต่ละชุดเลขโดด

3. ควรศึกษาผลทีได้จากการหมุนของตารางจัตุรัสในจํานวนครังทีมากขึน เช่น ผลของการหมุนตาราง


จัตุรัส เลขโดด 0 - 3 จํานวน 2 ครัง ได้แก่ การหมุน 90 องศา แล้วหมุนต่อ
อีก 270 องศา เป็ นต้น

You might also like