You are on page 1of 11

แนวทางการฝึ กซ้อมและบริหารจัดการวงดรัมไลน์

Way to individual practice and improve drumming technique and skill

แนวทางการฝึ กซ้อมและพัฒนาทักษะการตีกลองให้กบั ผูเ้ ล่น


Goal Make the Player have good foundation to play marching percussion

จุดประสงค์เพือให้ผเู้ ล่นมีความรู ้ ความเข้าใจและพืนฐานทีดีในการเล่นดนตรีประเภท marching percussion เพือ


จะนําไปใช้ในแสดงได้อย่างมีคุณภาพ

1.Fudamental of Percussion พืนฐานเบืองต้นของการเล่นเครืองดนตรีประเภท Marching Percussion

1.1Gripping – การจับไม้ทถู
ี กวิธี

มีความจําเป็ นอย่างมากทีผูเ้ ล่นต้องเรียนวิธีการจับไม้และรวมถึงรูปมือ (hand motion) ทีถูกต้อง เพราะจับไม้และการรูปมือ


ทีดีและจะช่วยพัฒนาการเล่นของผูเ้ ล่นให้มีประสิทธิภาพมากยิงขึน และการจับไม่ทีไม่ดีการมีรูปมือทีไม่ได้ยงจะทํ
ิ าให้
พัฒนาการของผูเ้ ล่นเป็ นพัฒนาได้ไม่ดี

- วิธีการจับไม้มี 2 วิธี คือ

1.Traditional Grip คือ การจับไม้แบบควํามือขวาควํามือ มือซ้ายหงายมือขึน เหมาะสําหรับผูท


้ เล่
ี นเครืองดนตรี

ในประเภท snare drum , กลองชุด และ concert bass เวลาเล่นโน้ตรัว

2. Match Grip คือ การจับไม้แบบควํามือเหมือนกันทังสองข้าง เหมาะสําหรับผูท


้ ีเล่นเครืองดนตรีประเภท tenor drum ,
bass Drum , mallets Percussion ,timpani etc.

ในการจับไม้แบบ Match Grip จะสามารถแบ่งลักษณะของการจับไม้ได้อีก 3 รูปแบบ

คือ

-German Grip การจับไม้แบบเยอรมันสไตล์ คือการจับไม้ทีมือทังสองข้างจะควําลงขนานกับหนังกลองหรือพืน การจับไม้


ลักษณะนีไม้จะเคลือนทีด้วยข้อมือเป็ นหลักจะสามารถช่วยให้ใช้ขอ้ มือได้ง่ายให้เสียงทีนําหนักทีเต็ม คมชัด แต่อาจจะมีขอ้ เสีย
เวลาทีเล่นโน้ตเร็วอาจจะเล่นได้ยากขึน

-French Grip การจับไม้แบบฝรังเศส คือการจับไม้ที ฝ่ ามือทังสองหันเข้าหากันโดยตรง โดยทีฝ่ ามือจะตังฉากกับพืน โดยทีการ


จับไม้รูปแบบนี ไม้ถกู ควบคุมโดยใช้นวเป็
ิ นหลักมากกว่าทีจะเป็ นข้อมือเช่นเดียว ช่วยทําให้ใช้การควบคุมจากนิวได้งา่ ยขึน วิธีนี
ช่วยให้มีความคล่องตัวมากมีประโยชน์สาํ หรับการเล่นโน้ตทีเร็ว แต่ไม่เหมาะกับการโน้ตทีจังหวะไม่เร็วมาก เพราะจะทําให้
นําหนักไม่เต็ม เสียงไม่ชดั และควบคุมโน้ตได้ยาก เนืองจากการจับไม้แบบนีจะไม่สามารถใช้กล้ามจากข้อมือได้เต็มที
-American grip การจับไม้แบบอเมริกัน คือการจับไม้ทีผสมระหว่างรูปแบบฝรังเศสและรูปแบบเยอรมัน โดยให้ฝ่ามือทํามุม
ประมาณ องศา และ โดยทีการจับไม้รูปแบบนี ไม้ถูกควบคุมโดยใช้กล้ามเนือจากข้อมือแบบเยอรมันและนิวแบบฝรังเศษ
ผสมกัน ช่วยให้สามารถเล่นได้ทงโน้
ั ตทีต้องการนําหนักทีเต็ม คมชัด และโน้ตทีมีความเร็วมาก
*ข้อควรระวัง ในการจับไม้
1.อย่าจับไม้หรือบีบไม้แน่นจนเกินไป เพราะจะทําให้ได้คณ
ุ ภาพเสียงทีไม่ดี
2.อย่าจับตืนหรือลึกจนเกินไป เพราะจะทําให้ควบคุมโน้ตเวลาเล่นได้ยาก ตําแหน่งการ
จับทีดีควรอยู่ทบริ
ี เวณ 1 ใน 3 จากปลายไม้ ตําแหน่งทีจะเรียก Balancing Point เป็ นตําแหน่งทีไม้จะตอบสนองได้ดีทีสุด
3.ระวังและรูปมือให้ถกู ต้องเวลาตีกลอง มือและแขนจะต้องเป็ นเส้นตรงแนวเดียวกัน อย่าบิดข้อมือ

1.2 Stroke วิธีการตีทีดี และการคุณภาพสร้างเสียงทีดีในการตี

1.2.1 Muscle For Drumming รูแ้ ละเข้าใจวิธีการใช้และการทํางานของกล้ามเนือในการตีกลองได้อย่างถูกวิธีกล้ามเนือใช้


สําหรับการตีกลองคือ ข้อมือ แขน และ นิว

1.2.2 Rebound การรีบาวนด์หรือการเด้ง การตีกลองให้ได้คณ


ุ ภาพเสียงทีดี เวลาตีจะต้องทําให้ไม้กลองเด้งขึนมาจากหนัง
กลองโดยธรรมชาติ ลักษณะคล้ายกับการเด้งลูกบาสเก็ตบอล

1.2.3 Velocity Stroke / Speed of Stroke หมายถึงความเร็วในการเหวียงข้อมือลงไปเวลาตี ถ้าเราเหวียงข้อมือเร็วจะทําให้


เสียงมีนาหนั
ํ กมากขึน และยังช่วยให้ไม้ Rebound ได้งา่ ยขึน เราจะใช้ Stroke นีเวลาเล่นโน้ตทีมีความสูงเดียว หรือโน้ตที
ต้องการความต่อเนืองของเสียง

1.2.4 Relax เป็ นสิงสําคัญอย่างมากทีเวลาตีกลองจะต้องรูส้ กึ ผ่อนคลาย relax ห้ามเกร็งโดยเด็ดขาด โดยบริเวณ นิว , ข้อมือ ,
แขน และหัวไหล่ ให้บริเวณช่วงแขนเป็ นธรรมชาติที เพราะการเกร็งกล้ามส่วนใดส่วนนึงช่วงบริเวณจะเป็ นการยับยังทําให้ไม้
rebound ได้ไม่เต็มที

1.3 Four Basic Stroke Type ลักษณะการตี 4 แบบ

-Full Stroke คือ การตีทให้


ี ตาํ แหน่งหัวไม้เริมจากทีสูง และหลังจากตีลงไปแล้วให้จบทีสูงให้เท่ากับตําแหน่งของการเริมตี โดย
ใช้การ Rebound หรือการเด้งของหนังกลอง เราสามารถเรียกวิธีการตีแบบนีได้อีกว่า Rebound Stroke และ Legato Stroke

-Down Stroke คือ การตีทีให้ตาํ แหน่งหัวไม้เริมจากทีสูง และหลังจากตีลงไปแล้วให้จบทีตํา เราสามารถเรียกวิธีการตีแบบนี


ได้อีกว่า Marcato Stroke สิงสําคัญการตี Down Stroke จะต้องไม้กลอง Rebound และเสียง เหมือนกันกับการตี Full Stroke
แต่ไม้จบทีตํา เราจะใช้ Stroke นีเวลาเล่นโน้ตสองความสูง (Accent and Tap) หรือ โน้ตตัวสุดท้ายของประโยคเพลง
-Tap Stroke คือ โดยปกติแล้วลักษณะของการตีแบบนีจะเหมือนกับ Full Stroke แต่ตาํ แหน่งหัวไม้จะเริมทีตําและจบทีตําใน
ตําแหน่งเดียวกับทีเริมตี เราจะใช้ลกั ษณะการตีแบบนีเวลาทีโน้ตเบา และโน้ต Tap ในเวลาเล่น Tap Accent ข้อควรระวังใน
การใช้ tap stroke ต้องควบคุมให้มีนาหนั
ํ กของเสียงทีชัด

-Up Stoke คือ การตีทีให้ตาํ แหน่งหัวไม้เริมจากทีตําเหมือน Tap Stroke และหลังจากตีลงไปดึงไม้ให้ไปจบทีสูงให้เท่ากับ


เหมือนกับตําแหน่ง Full Stroke เราใช้ลกั ษณะการตีแบบนีในการโน้ต จาก Tap ไป Accent
Basic Stroke Exercise

2.Drums Rudiments
What is Rudiments - กลุ่มโน้ตพืนฐานทีผูเ้ ล่นเครืองประเภท Percussion ควรเล่นได้

2.1 PAS 40 Standard Drum Rudiment ดูได้จาก Rudiment Chart

2.3 How to practice any rudiment

1.เริมซ้อมจากช้าๆ ก่อน แล้วค่อยๆ เริมเร็วขึนทีละนิด

2.ให้ซอ้ มแบบ Break down หรือการซ้อมแบบแยกมือ

Specific Technique of Tenor Drum and Bass Drum

1.Tenor Drum Technique

-Playing Position - ตําแหน่งการตีทีถูกต้อง

จําเป็ นอย่างมากทีผูเ้ ล่นกลองTenor Drum จะต้องมีความเข้าใจและรูถ้ ึงตําแหน่งการตีบนกลองทีถูกเพราะการตีลงบน


ตําแหน่งทีถูกต้องจะทําให้ได้คณุ ภาพเสียงทีดี

-Moving Around the Drum การเคลือนทีในการตีกลอง

การเคลือนระหว่างกลองใบนึงไปกลองอีกของผูเ้ ล่น Tenor ให้ใช้แขนเคลือนไปในแนวนอนโดยทีให้แขนนันขนานไปกับหนัง


กลอง และต้องรักษาแนวของมือกับแขนให้เป็ นเส้นตรงแนวเดียวกัน ห้ามบิดข้อมือหรืออย่าเหวียงหรือสะบัดข้อมือไปก่อน และ
เวลาทีจะตีลงไปบนกลองนันจะต้องยกไม้ให้ตงฉากกั
ั บหนังกลองระวังอย่าให้องศาของไม้เฉียงหรือเอียงไม่ตงฉากกั
ั บหนังกลอง
และต้องตีให้ถกู ลงบนตําแหน่งทีถูกต้องดังทีได้กล่าวไป

-Cross Over การเล่นการไขว้มือ

มี 3 วิธี คือ

1.Fulcrum on Fulcrum เป็ นวิธกี ารไขว้มือระหว่างกลองสองใบทีอยู่ติดกัน


2.Wrist on Wrist เป็ นวิธีการไขว้มือระหว่างกลองใบทีอยู่หา่ งสองใบ

3.Arm on Arm เป็ นวิธีการไขว้มือระหว่างกลองใบทีอยู่ห่างกันมากกว่าสองใบ คือระหว่างใบ 3-4

-Scrape and Sweeps คือการเล่นโน้ต diddle หรือ double stroke ระหว่างกลองสองใบ

วิธีการตี คือใช้วิธีเดียวกับ technique การตี double stroke และให้ใช้ technique การ moving ดังทีได้เคยกล่าวในหัวข้อ
moving around the drum อย่าเหวียงหรือสะบัดข้อมือไป และต้องให้คณ ุ ภาพของโน้ตทังสองตัวมีคณ
ุ ภาพเสียงทีดี
เหมือนกัน

Specific technique of Bass เทคนิคเฉพาะของ Bass Drum

-Playing Position ตําแหน่งของการตี bass drum ส่วนใหญ่จะตีอยู่ทีบริเวณตรงกลางของกลอง แต่ถา้ อยากให้เสียง


เบาลงก็สามารถไปตีทีบริเวณ edge (บริเวณใกล้ขอบกลอง) หรือ half way คือบริเวณตรงกลางระหว่างกลางกลอง (center
และ edge)

-Split Note คือการเล่นแบบไล่ใบ เป็ น technique การทีสําคัญและเป็ นเสน่หข์ องกลุ่ม bass drum สิงทีสําคัญทีสุด
คือผูเ้ ล่น bass drum จะต้องสามารถแยกโน้ตเฉพาะของตัวเองและทําความเข้าใจว่าโน้ตทีถูกแยกออกมานันมีเป็ นสัดส่วน
โน้ตอะไร สัมพันธ์จงั หวะตก หรือ down beat อย่าง ต้องสามารถคนเดียวได้ก่อนแล้วค่อยเริมซ้อมรวมกัน และในช่วงแรกของ
การซ้อมรวมกัน ให้สนใจในสัดส่วนโน้ตของตัวเองกับจังหวะก่อนอย่าพึงสนใจเอาให้ไล่ใบได้โดยไม่สนใจจังหวะ แล้วหลังจากผู้
เล่นมีความเข้าใจโน้ตของตัวเองทีดีในระดับนึงแล้ว ค่อยเริมเรียนรูว้ ่าโน้ตทีประกอบกันออกมาแล้วเป็ นยังไง และโน้ตของกลอง
ใบอืนๆ เป็ นอย่างไร

การวางแผนการฝึ กซ้อมวงดรัมไลน์วงดรัมไลน์
1.กําหนดเป้าหมาย

2.ระยะเวลาการทํางาน

3.เลือกหรือออกแบบเพลงให้เหมาะสมกับทักษะผูเ้ ล่น และระยะเวลาการฝึ กซ้อม

4.วาง Timeline

5.ออกแบบโปรแกรมการฝึ กซ้อมและออกแบบ แบบฝึ กหัดให้เหมาะสมกับเพลงทีเล่น

6.ติดตามเป้าหมาย

Way to Rehearsal Drumline Group


แนวทางการฝึ กซ้อมวงดรัมไลน์ให้มีประสิทธิภาพ
มี 3 ขันตอน

1.Individual Practice การฝึ กซ้อมส่วนตัว

2.Part Ensemble Rehearsal การซ้อมพาร์ท

3.Full Ensemble Rehearsal การซ้อมรวมวง

1.แนวการฝึ กซ้อมส่วนตัว Individual Practice

1.1 ผูเ้ ล่นควรจะมีความเข้าใจและสามารถเล่น rudiments หรือ technique ทีใช้ในเพลงก่อนทีจะเริมต่อเพลง

1.2 ผูเ้ ล่นมีความเข้าใจในรายละเอียดของเพลงทีจะเล่นเป็ นอย่างดี เช่น Tempo , Dynamic , Time Signature ,


Rhythmic , Expression , Program etc.

1.3 ผูเ้ ล่นจะต้องซ้อม กับ Metronome ควรจะเริมซ้อมจากช้าก่อนแล้วค่อยๆ เร็วขึน

1.4 ผูเ้ ล่นควรจะฝึ กซ้อมส่วนตัวมาให้เป็ นอย่างดี ก่อนทีจะมารวมกัน และควรทีฝี ก marktime ด้วยในกรณีทีเป็ นการแสดง
ประเภทเดิน

1.5 สําหรับผูเ้ ล่น Tenor Drums ควรจะเริมต่อเพลงเป็ นโน้ตบนกลองใบเดียวเพือเรียนรูแ้ ละทําความเข้าใจในเรืองของ


technique , จังหวะ , rhythmic , และ articulation ก่อน แล้วค่อยซ้อมแบบไล่ใบ

1.6 สําหรับผูเ้ ล่นในกลุ่ม Bass Drums ก็ควรทีจะต้องสามารถแยกโน้ตและซ้อมโน้ตของตัวเองให้ได้ก่อน แล้วค่อยซ้อมรวมกัน

1.7 ทุกคนใน section ต้องมีคณ


ุ ภาพในการเล่นทีเท่ากัน ไม่ใช่เฉพาะคนทีเป็ น Leader ทีดีกว่า

2.Sectional and Part Ensemble Rehearsal แนวทางการฝึ กซ้อมแบบกลุ่ม

2.1 การซ้อมรวมในช่วงแรกต้องซ้อมกับ metronome ทุกครัง

2.2 ให้ผเู้ ล่นพยายามฟั งตัวเองก่อน พยายามอย่าพึงให้ผเู้ ล่นฟั งคนอืน เพราะการฟั งกันบางครังทําให้ผเู้ ล่นสนใจทีจะเล่นตาม
คนอืนมากกว่า

2.3 เมือผูเ้ ล่นแต่ละคนเริมมีความเข้าใน จังหวะ , สัดส่วนโน้ต , การตีความเพลง ทีดีในระดับนึงแล้ว ค่อยเริมให้ทกุ คนค่อยเริม


ฟั งกัน โดยเริมจากใน Section ตัวเอง Snare ,Tenor , Bass Drum , Marimba ,Vibraphone etc. แล้วต่อไปเป็ นทัง Part
(Full Battery or Pit Ensemble) โดยให้เริมจากฟั ง จังหวะ, balance , dynamic , การตีความเพลง และ อารมณ์เพลง
เพือให้เกิด Ensemble ทีดีและให้ผเู้ ล่นเรียนรูท้ ีจะเล่นให้ออกมาได้เหมือนกันมากทีสุด

2.4 เข้าใจวิธีการฟั งทีถูกต้อง

วิธีการฟังทีถูกวิธี

-ฟั งเข้าหาผูเ้ ล่นทีตรงกลาง (Center) โดยส่วนใหญ่ผเู้ ล่นทีอยู่ตรงกลางจะเป็ นคนทีถูกกําหนดให้เป็ น Section Leader

-ในกรณีทีเล่นในสนาม ให้ฟังผูเ้ ล่นทีอยู่บริเวณตรงกลางสนามทีสุด หรือกลุ่มเครืองทีอยู่ดา้ นหลังทีสุดของสนามเสมอ

ห้ามฟั งผูเ้ ล่นทีอยูด่ า้ นหน้าเพราะทําให้เกิด delay

*ข้อควรระวังในการฟั ง เพือให้เกิด Ensemble ทีต้องผูเ้ ล่นฟั งจังหวะซึงกันและกันอย่าให้เล่นแบบตามคนอืน*

2.5 ถ้าเกิดกรณีทีเล่นไม่พร้อมกัน,ฟั งรก ควรทีรีบวิเคราะห์และสาเหตุทแท้


ี จริงนันให้พบก่อน
Why not clean สาเหตุของการทีให้เล่นไม่สะอาด
1 Bad Timing - จังหวะไม่เท่ากัน แก้ไขด้วยการทีต้องซ้อมกับ Metronome

2 Bad Balance - เล่นดังไม่เท่ากันคืออาจจะมีบางคนเล่นดังกว่าหรือเบากว่าคนอืนๆ แก้ไขด้วยการฟังกันและ Blending กัน


มากขึน

3 Bad Rhythmic - สัดส่วนโน้ตไม่ถกู ต้อง

4 Bad Technique - ความเข้าใจในเรือง Technique ของผูเ้ ล่นไม่เหมือนกันหรือเทคนิคของผูเ้ ล่นยังทําไม่ดี

5 Don’t Understand Music Idea - มีความเข้าใจในเพลงไม่เหมือนกัน Dynamic , Balance , Music Direction ,


Overplay

How to play clean ทํายังไงถึงจะเล่นออกมาได้สะอาด

1 Good Tempo - ซ้อมกับ Metronome

2 Good Rhythmic - เช็คสัดส่วนโน้ตให้ดี อาจจะต้องซ้อมช้าก่อน โดยทัวไปปั ญหาของการเล่นทีสัดส่วนไม่ดีจะเกิดจาก


ความไม่แม่นส่วนโน้ตของผูเ้ ล่น และTechnique ไม่ดี ต้องหาสาเหตุให้เจอว่าเพราะอะไร

3 Good Balance - รักษา Balance ให้ดี อย่าเล่นดังหรือเบากว่าคนอืน **อย่า Overplay**


4 Good Technique - วิเคราะห์เรือง Technique ว่าผูเ้ ล่นใช้ Technique ในการเล่นได้ถกู ต้องไหม

5 Break Down Practice - การซ้อมแบบแยกมือ จะช่วยทําให้ผเู้ ล่นมีความเข้าใจในโคลงสร้างของโน้ตมากขึน.

6 Create Exercise – สร้างแบบฝึ กใหม่ เพือแก้ไขในสิงทีกําลังมีปัญหาอยู่

7 Diddle and Slash note Interpretate การตีความโน้ต Diddle and Roll

8 Flam Interpretate การตีความโน้ต Flam

Confidence ให้ผเู้ ล่นทุกควรต้องมีความมันใจในการเล่น เพราะความไม่มนใจ


ั กลัว หรือตืนเต้นจนเกินไปก็สาเหตุทีทําให้เล่น
ออกมาไม่พร้อมกันได้เหมือนกัน

2.How to Rehearse in Full Ensemble - แนวทางการซ้อมรวมวง

จุดมุง่ หมายของการรวมวงคือทําให้เพลงทีเรากําลังเตรียมทีแสดงมีความสมบูรณ์แบบ พร้อมทีจะแสดง

-ควรกําหนดเป้าหมายของการซ้อมในวันนัน

-ก่อนซ้อมรวมวง ควรแน่ใจก่อนว่าแต่ละ Section สามารถเล่นได้ดีในระดับนึงแล้ว

-ทําให้ทกุ คนในวงมีความเข้าใจเพลงทีจะฝึ กซ้อมในวันนัน ให้ตรงกันก่อน เช่น บทบาทของแต่ละกลุ่มเครืองดนตรีเป็ นอย่าง ,


เพลงในช่วงทีกําลังซ้อมอยู่กาํ ลังสือถึงอะไร

-ควรจะซ้อมกับ Metronome ตลอดเวลาโดยเฉพาะในช่วงแรก เพือทุกคนในวงมีความเข้าใจจังหวะทีเท่ากัน

-การซ้อมช่วงแรกควรซ้อมเป็ นช่วงสันๆก่อน อาจจะแค่ 8 – 16 ห้อง เพือเช็คและเก็บรายละเอียดของเพลงให้ดี แล้วค่อยๆเพิม


ให้ยาวขึน แต่ถา้ ยังรูส้ กึ ว่ายังไม่ดมี ากพออาจจะลดเหลือแค่ 2-4 ก่อนก็ได้ ไม่จาํ เป็ นต้องรีบเร่ง เพือให้ผเู้ ล่นในวงเรียนรูก้ นั
ได้มากทีสุด

-เรียนรูก้ ารฟังทีถูกต้อง โดยเฉพาะผูเ้ ล่น Pit Percussion ต้องฟังจังหวะของผูเ้ ล่นในกลุ่ม Battery หรือวงทีอยูด
่ า้ นหลัง
ตลอดเวลา โดยให้กาํ หนด 1 คนเป็ นผูท้ ีจะต้องคอยฟั งจังหวะจากด้านหลังแล้วผูเ้ ล่นทีเหลือเล่นตามเข้ามา ในกรณีทีวงมีกลอง
ชุด ให้ผเู้ ล่นกลองชุดจะเป็ นผูเ้ ชือมจังหวะกับกลุม่ Battery หรือวงทีกําลังเล่นอยู่ แต่ถา้ ไม่ได้ใช้กลองชุดก็อาจจะใช้ผเู้ ล่น
Marimba แนว 1st เป็ นฟั งและคอยเชือมจังหวะจากด้านหลัง ยกเว้นผูเ้ ครือง Auxiliary Percussion โดยเฉพาะ Concert
Bass Drum , Gong , Crash or Effect Cymbals ควรจะฟั ง Battery ตลอดเวลา แต่ถา้ ในกรณีทีมีกลุ่มเครืองใด้เครืองนึ
งในกลุ่มของ Pit Percussion เป็ นทีเล่นโน้ตตัวดํา หรือโน้ตทีเป็ น rhythm เป็ นลักษณะ ostinato ทีคงทีหรือจับจังหวะก็
อาจจะให้ผเู้ ล่นคนนันเป็ นคนคอยเชือมจังหวะกับกลุ่ม Battery
-ในกรณีทีวงมี Conductor ผูเ้ ล่นกลุม
่ Pit Percussion ห้ามมองมือ Conductor เด็ดขาด ยกเว้นในกรณี ถ้ากลุ่ม Battery
หรือวงทีอยูด่ า้ นหลังไม่ได้เล่น และผูเ้ ล่น Battery ห้ามฟั ง Pit Percussion รวมทังเครืองเป่ าทีอยู่ดา้ นหน้าในกรณีทเป็
ี นวง
เครืองเป่ า ยกเว้นเวลาทีกลุ่ม Battery ไม่มเี ล่น

-ทําความเข้าใจเรืองระยะการเดินทางของเสียงเวลาเกิดปั ญหา delay และต้องเข้าใจว่า delay บางครังจะเกิดจากเล่นจังหวะ


ไม่ดีระวังเวลาที Pit Percussion ก่อน Battery เข้าตามส่วนใหญ่จะทําให้เกิดปัญหา delay แก้ปัญหาด้วยไม่ควรทําดริลให้
ห่างระหว่างกลุ่ม Pit และ Battery ห่างกันมากจนเกินไป

-หลังจากผูเ้ ล่นเริมมีมค
ี วามเข้าใจและเริมทีจะสามารถควบคุมจังหวะได้ดีแล้ว เริมค่อยๆถอด Metronome แต่อย่าพึงถอด
โดยปิ ดไปเลยทีเดียวเพราะบางทีผเู้ ล่นอาจจะยังจําจังหวะไม่ได้ ให้ค่อยทอนจังหวะจากทีเปิ ดเป็ นตัวดํา ก็ให้เป็ นตัวขาว แล้วก็
เป็ นตัวกลม ตามลําดับ แล้วหลังจากนัน อาจจะใช้เปิ ดแล้วปิ ดแล้วค่อยเปิ ดเข้ามาเพือเช็คว่าวงยังสามารถเล่นได้คงทีไหม

-ซ้อม Set ให้ยาวขึน เพือให้ผเู้ ล่นมีสมาธิในการเล่นแบบต่อเนือง

-ควรหลังจากฝึ กซ้อมแต่ละควร Run Through ทุกวัน เพือสรุปและประเมินผล เพือจะแก้ไขปั ญหาในการซ้อมครังถัดไป

-อัดเสียงหรือบันทึกวิดีโอ เพือให้ผเู้ ล่นได้มีโอกาสดูและฟั งตัวเอง เพือหาข้อผิดพลาดในการเล่น เพือแก้ไขในการซ้อมครังถัดไป

Ensemble Rehearsal Process ขันตอนการฝึ กซ้อม

ในการเริมซ้อมให้กลุ่ม Battery เริมเล่นก่อน และให้ผเู้ ล่นคนอืนในวงฟัง เพือให้ทกุ คนในเข้าใจจังหวะของ Battery เพราะ


กลุ่ม Battery จะเป็ นคนทีควบคุมจังหวะของวง หลังจากนันกลุ่มของ Pit Percussion ค่อยเริมเล่นเข้ามา โดยอาจจะให้เริมที
ละกลุ่มเครืองก่อนเช่น กลองชุด และ Rhythm Section , Marimba และ Xylophone , Vibraphone และ Glockenspiel
, Timpani และ Auxiliary Percussion

Way to make good drumline music แนวทางในการปรับเพลงดรัมไลน์ให้มีคุณภาพ


1.Balance - จัดสมดุลเสียง
1.1 จัด Balance เสียงของวงให้สมดุล อย่าให้กลุ่มเครืองไหนทีเล่นดังเกินกว่าเครืองอืน โดยฉพาะในกลุ่มของเครือง Battery
ทีมักจะมีแนวโน้มทีจะชอบเล่นดัง

1.2 ระวังเครืองทีมีเสียงสูงเช่น Glockenspiel หรือ Xylophone เนืองจากเครืองดนตรีทมี


ี เสียงสูงมักจะให้เสียงทีดังกว่า ควร
ทีผูเ้ ล่นทังสองเครืองนีจะต้องระวังนําหนักการตีให้และคุมเรือง balance ให้ดี และควรเลือกไม้ให้เหมาะสมทีจะเสียงไม่โดด
จากเครืองอืนมากเกินไป

1.3 โน้ต Rim shot ของ Snare และ Tenor ก็ตอ้ งควรระวังทีเวลาเล่นจะไม่เล่นดังหรืออัดจนเกินไป

1.4 ในกรณีทใช้
ี Microphone ขยายเสียงสําหรับกลุ่มเครือง Pit Percussion ต้องระวังทีจะไม่ปรับเสียงทีดังจนเกินไปจนทํา
ให้ไม่ได้ยินเสียงจากกลุม่ Battery
2.Analyze Music - วิเคราะห์บทเพลงทีเล่น

1 Analyze Music ผูท


้ ีมีหน้าทีปรับเพลงเปรียบเสมือน Conductor ทีควรต้องวิเคราะห์ทาํ ความเข้าใจและตีความเพลงและ
เทคนิคทีใช้ในบทเพลงให้ดีก่อน ก่อนทีจะเริมซ้อมรวมวง ระวังเวลาผูป้ รับเพลงแยกกันระหว่าง Pit Percussion และ Battery
ควรจะทําความเข้าใจในบทเพลงระหว่างผูท้ จะปรั
ี บเพลงของทังสองกลุ่มในตรงกันก่อน เพราะอาจจะทําให้ผเู้ ล่นของทังสอง
กลุ่มมีความเข้าใจในเพลงทีเล่นไม่ตรงกัน

-Set Musical Role กําหนดบทบาทหน้าทีของผูเ้ ล่นให้ชดั เจนว่าใครทําหน้าทีอะไรในแต่ละช่วงของบทเพลงว่าใครเป็ น


Melody , Counter Melody , Harmony , Rhythm , Bass

Melody Accompaniment
1.Main Melody 1.Bass

2.Counter Melody 2.Rhythm

3.Harmony

โดยปกติเราจะเรียงลําดับความสําคัญในการจัด Balance ดังนีจากมากไปหาน้อย คือ

1.Main Melody คือสิงทีต้องดังทีสุด 2.Counter Melody 3.Bass 4.Rhythm and Harmony

3.Synchronize for make good Ensemble


คือการทําให้โน้ตของ Pit Percussion และ โน้ต Battery ให้มีความสอดคล้องกลมกลืนกันมากทีสุด

1Tempo จังหวะ คือต้องพยายามทําให้ทงสองกลุ


ั ่มเล่นจังหวะออกมาได้เท่ากัน

2 Rhythm สัดส่วน โดยส่วนใหญ่โน้ตระหว่าง Pit Percussion และ Battery ว่ามีสด


ั ส่วนทีสอดคล้อง

กันหรือเหมือนกัน

สําคัญทีจะทําให้โน้ตโน้ตสองกลุ่มเล่นสัดส่วนได้ออกมาเท่ากัน

3 Balance ต้องให้ความดังของทังวงมีความสมดุลกัน โดยทีไม่มเี ครืองไหนดังกว่าจนเกินไป เว้นเสียแต่

ในช่วงเวลาต้องการจะเสนอแนวดนตรีของกลุ่มเครืองไหนเป็ นพิเศษ

4 Blending คือการผสมเสียงของเครืองดนตรีต่างชนิดกันแต่ตอ้ งโน้ตทีเหมือนกันมีเสียงทีสมดุล

5 Phrasing ประโยคของเพลงควรทําให้ผเู้ ล่นมีความเข้าใจประโยคเพลงทีเหมือนกัน

6 Music Interpretation คือการตีความและความเข้าใจในเพลงที Style , Articulation ,Musical

Role, Mood and

4.Area and Volume พืนทีกับความดัง

ตําแหน่งผูเ้ ล่นในสนามเพราะมีผลต่อ Dynamic เพราะว่าผูเ้ ล่นทีอยู่ดา้ นหน้าของสนามย่อมเล่นออกฟังดังกว่าผูเ้ ล่นทีด้านหลัง


ของสนามถึงแม้ว่าจะเล่นทีความดังเท่ากัน เพราะฉะนันเวลาปรับเพลงควรคํานึงถึงตําแหน่งทีผูเ้ ล่นนันๆอยู่

เช่น ถ้าหากผูเ้ ล่นทีอยูด่ า้ นหน้าๆ ของอาจจะให้เล่นเบาลงหน่อย แต่ถา้ อยู่ไกลออกไปหรือด้านหลังสนามก็อาจจะให้


เล่นดังขึนนิดนึง ทังนีทังนันต้องขึนกับสมดุลของเพลงทีเล่นช่วงนันๆด้วย

You might also like