You are on page 1of 32

หน่ วยที่ 5 การปกครองระบอบ

ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็ นประมุข
สาระสาคัญ

 ประเทศไทยเปลี่ยนระบอบการปกครองจากแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็ น
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ ฯประมุข ตัง้ แต่ วันที่ 24
มิถุนายน พ.ศ. 2475 และประกาศใช้ รัฐธรรมนูญครั ง้ แรกเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม
พ.ศ. 2475 การปกครองระบอบประชาธิปไตย เป็ นการปกครองของประชาชน
โดยประชาชน และเพื่อประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจอธิปไตยผ่ าน
ทางรั ฐสภา คณะรั ฐมนตรี และศาล ปั จจุบันประเทศไทยใช้ รัฐธรรมนูญแห่ ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็ นกฎหมายสูงสุดของประเทศเพื่อพัฒนา
ประเทศไปสู่ Thailand 4.0
สาระการเรี ยนรู้

 1. การปกครองระบอบประชาธิปไตย
 2. หลักการสาคัญของระบอบประชาธิปไตย
 3. ประเภทของระบอบประชาธิปไตย
 4. รูปแบบระบอบประชาธิปไตย
 5. ประเภทของรัฐ
 6. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข
 7. ข้ อดีและข้ อจากัดของระบอบประชาธิปไตย
 8. ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริ ย์ไทย
 9. พระราชสถานะทางสังคมของพระมหากษัตริ ย์ไทย
 10. บทบาทของของพระมหากษัตริ ย์ไทย
จุดประสงค์การเรี ยนรู้

 1. อธิบายความหมายและที่มาระบอบประชาธิปไตยได้
 2. ระบุหลักการสาคัญของระบอบประชาธิปไตยได้
 3. เปรี ยบเทียบรูปแบบของระบอบประชาธิปไตยได้
 4. จาแนกการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข
 5. สรุปฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริ ย์ไทยได้
 6. ยกตัวอย่างพระราชสถานะทางสังคมของพระมหากษัตริ ย์ไทยได้
 7. วิเคราะห์บทบาทของของพระมหากษัตริ ย์ไทยได้
1. การปกครองระบอบประชาธิปไตย

 ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 นิยามว่ า


ประชาธิปไตย หมายถึง ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็ นใหญ่ หรื อการถือ
เสียงข้ างมากเป็ นใหญ่
 อับราฮัม ลินคอล์ น (อดีตประธานาธิบดีของสหรั ฐอเมริกา คนที่ 16) กล่ าวว่ า
ประชาธิปไตย หมายถึง การปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ
เพื่อประชาชน
1. การปกครองระบอบประชาธิปไตย

 ที่มาของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
- เริ่มจากนครรั ฐเอเธนส์ ปกครองโดยกษัตริย์ โดยสมัยนัน้ เอเธนส์ เป็ น
“ประชาธิปไตยทรงตรง” คือ ประชาชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในการตัดสินใจ
เรื่ องต่ าง ๆ โดยตรง โดยไม่ ต้องเลือกตัง้ ผู้แทนราษฎร
- บุคคลสาคัญที่วางรากฐานระบอบประชาธิปไตยและประสิทธ์ ประสาทกฎหมาย
แก่ นครรั ฐเอเธนส์ คือ โซลอน (Solon) คือ มีการจัดตัง้ สภาสี่ร้อย การจัดตัง้
สภาประชาชน การจัดตัง้ ศาลยุตธิ รรม
2. หลักการสาคัญของระบอบประชาธิปไตย

เสียงข้ างมาก

หลักอธิปไตย สิทธิและ
เป็ นปวงชน เสรี ภาพ

ระบอบ
หลักภราดร ประชาธิปไตย ความเสมอ
ภาพ ภาค

หลักเหตุผล หลักนิติธรรม
3. ประเภทของระบอบประชาธิปไตย

แบ่ งได้ 2 ลักษณะ คือ


 3.1 ประชาธิปไตยโดยทางตรง (Direct Democracy) คือ
การปกครองที่ให้ ประชาชนทุกคนใประเทศเป็ นผู้ใช้ อานาจในการ
ปกครองโดยตรง
 3.2 ประชาธิปไตยโดยทางอ้ อม (Indirect Democracy)
คือ การปกครองที่ให้ ประชาชนเลือกผู้แทนราษฎรเข้ าสภา
4. รู ปแบบระบอบประชาธิปไตย

แบ่ งได้ 2 รู ปแบบ คือ


4.1 หลักประมุขของประเทศ (Head of State)
- การปกครองระบอบกษัตริ ย์ภายใต้ รัฐธรรมนูญ ทรงใช้ อานาจอธิปไตยผ่ าน 3 ฝ่ าย คือ
ฝ่ ายนิตบิ ัญญติผ่านทางรั ฐสภา ฝ่ ายบริหารผ่ านทงคณะรั ฐมนตรี และฝ่ ายตุลาการผ่ าน
ทางศาล เช่ น ประเทศไทย สหราชอาณาจักร
- หลักประธานาธิบดีเป็ นประมุข ได้ แก่ ประธานาธิบดีท่ ม ี าจากประชาชน และ
ประธานาธิบดีท่มี าจากการเลือกตัง้ เช่ น สหรั ฐอเมริกา
4. รู ปแบบระบอบประชาธิปไตย

4.2 หลักการรวมอานาจและการแยกอานาจ (Separation of


Power) แบ่ งเป็ น 3 แบบ คือ
1) แบบรั ฐสภา
2) แบบประธานาธิบดี
3) แบบกึ่งสภากึ่งประธานาธิบดี
5. ประเภทของรัฐ

 รั ฐสภา แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ


 1. เอกรั ฐหรื อรั ฐเดี่ยว คือ มีศูนย์ กลลางอานาจในการออกกฎหมายการบริหาร
ราชการแผ่ นดิน และกาหนดนโยบายในการบริหารประเทศเพียงแห่ งเดียว เช่ น
ประเทศไทย ญี่ปุ่น ฝรั่ งเศส
 2. สหพันธรั ฐหรื อรั ฐรวม คือ มีรัฐบาลกลางและรั ฐบาลท้ องถิ่น (มลรั ฐ) การ
ปกครองของทุกมลรั ฐจะเป็ นอิสระแต่ ต้องไม่ ขัดกับกฎหมายรั ฐธรรมนูญ เช่ น
สหรั ฐอมริกา สหพันธรั ฐมาเลเซีย
6. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข

 การปกครองในประเทศไทยในอดีต เดิมชื่อว่ า ราชอาณาจักรสยาม มีการปกครองแบบ


สมบูรณาญาสิทธิราชย์
 สมัยรัชกาลทื่ 7 มีคณะนายทหารและพลเรือนรวมกัน จัดตัง้ คณะราษฎร ขึน้ และ
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากเดิม เป็ นการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย เมื่อ 24
มิถุนายน 2475 นาโดยพระยามโนปกรณ์ นิตธิ าดาเป็ นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย
 ปั จจุบนั ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีรวม 29 คน
 มีการใช้ รัฐธรรมนูญมาแล้ ว 20 ฉบับนับปั จจุบนั รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักร พุทธศักราช
2560 เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 รวมระยะเวลา 88 ปี
6. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข

 ปั จจุบนั ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ดังนี ้


 1. รู ปแบบของรั ฐ
- รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 บัญญัตไิ ว้ ว่า
“ประเทศไทยเป็ นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่ งแยกมิได้ ”
- ประเทศไทยเป็ นรัฐเดี่ยวและเป็ นราชอาณาจักร
6. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข

 2. ประมุขของรั ฐ
 รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 บัญญัตไิ ว้ ว่า “ประเทศ
ไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข”
 พระมหากษัตริย์เข้ าสู่ตาแหน่ งประมุขของรัฐได้ ดังนี ้
- การปราบดาพิเศก เช่ น รัชกาลที่ 1
- การสืบราชสมบัติ เช่ น อดีตจนถึงปั จจุบัน
- การสืบราชสมบัตโิ ดยความเห็นชอบของรัฐสภา
- การขึน้ ครองราชสมบัตโิ ดยการเลือกตัง้ จากผู้สมัครรั บเลือกตัง้ เช่ น สหพันธรัฐมาเลเซีย
6. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข

 3. อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย
 รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 บัญญัตไิ ว้ ว่า “อานาจ
อธิปไตยเป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผ้ ูทรงเป็ นประมุขทรงใช้ อานาจนัน้ ทางรัฐสภา
คณะรัฐมนตรีและศาล ตามบทบัญญัตแิ ห่ งรัฐธรรมนูญ”
 พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจอธิปไตยแทนคนไทยทุกคน ดังนี ้
- โดยใช้ อานาจนิตบิ ัญญัตผิ ่ านทางรัฐสภา
- โดยใช้ อานาจบริหารผ่ านทางคณะรัฐมนตรี
- โดยใช้ อานาจตุลาการผ่ านทางศาล
7. ข้อดีและข้อจากัดระบอบประชาธิ ปไตย

 ข้ อดีของระบอบประชาธิปไตย คือ
1) ประชาชนมีสิทธิ เสรี ภาพ และความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
2) ประชาชนมีสว่ นร่วมในการปกครองตนเอง
3) ประชาชนทุกคนอยู่ภายใต้ กฎหมายฉบับเดียวกัน
4) การลดความชัดแย้ งกันด้ วยสันติวิธี
5) ประชาชนใช้ ความรู้และความสามารถสร้ างงานได้ อย่างเต็มศักยภาพ
7. ข้อดีและข้อจากัดระบอบประชาธิ ปไตย

 ข้ อจากัดของระบอบประชาธิปไตย คือ
1) การดาเนินการเลือกตัง้ ต้ องใช้ ค่าใช้ จ่ายจานวนมาก
2) ไม่ สามารถสนองความต้ องการของคนได้ ทงั ้ หมด
3) การตัดสินใจทากิจกรรมต่ าง ๆ ล่ าช้ า
4) สังคมอาจเกิดความสับสนวุ่นวาย
8. ฐานะพระราชอานาจของพระมหากษัตริ ย ์

 รัฐธรรมนูญแห่ ง ราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 ได้ บญ


ั ญัตพ
ิ ระราชอานาจของ
พระมหากษัตริย์ ดังนี ้
 ทรงใช้ อานาจอธิปไตย
 ทรงดารงอยู่ในฐานะอันเป็ นที่สักการะ
 ทรงเป็ นพุทธมามกะและทรงเนอัครศาสนูปถัมภก
 ทรงดารงตาแหน่ งจอมทัพไทย
 ทรงมีพระราชอานาจสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่ องราชอิสริยาภรณ์
8. ฐานะพระราชอานาจของพระมหากษัตริ ย ์

 รัฐธรรมนูญแห่ ง ราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 ได้ บัญญัตพ


ิ ระราชอานาจของพระมหากษัตริย์
ดังนี ้
 ทรงเลือกและทรงแต่ งตัง้ องคมนตรี
 ทรงแต่ งตัง้ ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์
 ทรงมีพระราชอานาจในการแก้ ไขเพิ่มเตมกฎมณเฑียรบาลว่ าด้ วยการสืบสันตติวงศ์ พุทธศักราช 2467
 ทรงมีพระราชอานาจในการทาหนังสือสัญญา
 ทรงมีพระราชอานาจในการพระราชทานอภัยโทษแก่ ผ้ ูกระทาผิดและได้ รับโทษ
 ทรงแต่ งตัง้ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู้พพ
ิ ากษา ข้ าราชการในพระองค์ และข้ าราชการระดับสูง
9. พระราชสถานะทางสังคมของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ทรงเป็ นสัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติไทย

ทรงเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทังชาติ

ทรงแก้ ไขวิกฤตการณ์ของบ้ านเมือง

ทรงเจริญสัมพันธไมตรีกบั นานาประเทศ

ทรงเป็ นผู้นาในการปฏิรูปและพัฒนางานต่าง ๆ

ทรงสนับสนุนระบอบประชาธิปไตย
10. บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย
10. บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ด้ านการเมืองการ ด้ านสังคม
ด้ านการเกษตร
ปกครอง สงเคราะห์

ด้ านการ
ด้ านการทหาร ด้ านการศึกษา
ต่างประเทศ

ด้ านการแพทย์ ด้ าน
ด้ ารศาสนา
และสาธารณสุข ศิลปวัฒนธรรม
10. บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย

 ด้ านการเมืองการปกครอง
 ด้ านการทหาร
 ด้ านศาสนา
 ด้ านการเกษตร
 ด้ านการศึกษา
 ด้ านการแพทย์ และสาธารณสุข
 ด้ านสังคมสงเคราะห์
 ด้ านการตลาด
 ด้ านศิลปวัฒนธรรม
บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย

 1 ด้ านการเมืองการปกครอง
- พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้ าเจ้ าอยู่หวั (รัชกาลที่ 10)
“เราจะสืบสาน รักษา และต่ อยอด และครองแผ่ นดินโดย
ธรรม เพื่อประโยชน์ สุขแห่ งอาณาราษฎรตลอดไป”
10. บทบาทของ  ด้ านการทหาร ทรงสนพระราชหฤทัยด้ านการทหาร
พระมหากษัตริ ยไ์ ทย จากประเทศออสเตรเลีย ประสบการณ์ ด้าน
วิทยาการการบินพิเศษ ปั จจับนั ทรงดารงพระยศ 3
ด้ านการทหาร
เหล่ าทัพ คือ
 1. พลเอก (พล.อ.)
 2. พลเรือเอก (พล.ร.อ.)
 3. พลอากาศเอก (พล.อ.อ.)
10. บทบาทของ
พระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ด้ านศาสนา
 ด้ านศาสนา ทรงร่ วมพิธีสาคัญทุกศาสนา เช่ น
ศาสนาอิสลาม
10. บทบาทของ
พระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ด้านการเกษตร  ด้ านการเกษตร ทรงเป็ นประธานในพระราชพิธี


พืชมงคล ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และทรงเป็ น
ประธานในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ณ
ท้ องสนามหลวง กรุ งเทพมหานคร
10. บทบาทของ
พระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ด้านการศึกษา  ด้ านการศึกษา ทรงริเริ่มรับโรงเรียนมัธยมศึกษาใน


ชนบทห่ างไกล เป็ นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ และ
การให้ ทุนการศึกษาฟรีแก่ นักเรียนระดับมัธยมศ
ศึกษาตอนปลายที่มีผลการเรียนดี
10. บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข  ด้ านการแพทย์ และสาธารณสุข


ทรงห่ วงใยสุขภาพอนามัยของประชาชนในช่ วงที่มี
การแพร่ ระบาดของวิกฤตโควิด-19 และพระราชินีทรง
ห่ วงใยทรงพระราชทานรถพยาบาลกู้ชีพฉุกเฉินพร้ อม
อุปกรณ์ การแพทย์
10. บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ด้านสังคมสงเคราะห์  ด้ านสังคมสงเคราะห์
ทรงริเริ่มโครงการจิตอาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ”
โปรดเกล้ าฯ ให้ หน่ วยราชการในพระองค์ ร่วมกับหน่ วย
ราชการต่ าง ๆ และประชาชนที่มีจติ อาสาบาเพ็ญ
สาธารณประโยชน์ ในพืน้ ที่ต่าง ๆ เพื่อบรรเทาความ
เดือดร้ อนของประชาชน
10. บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย

ด้านการต่างประเทศ
 ด้ านการต่ างประเทศ
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้ าเจ้ าอยู่หวั เสด็จไปเยือน
ประเทศต่ าง ๆ เพื่อนากลับมาพัฒนาบ้ านเมือง
10. บทบาทของพระมหากษัตริ ยไ์ ทย
 ด้ านศิลปวัฒนธรรม
ด้านศิลปวัฒนธรรม
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร
พระวชิรเกล้ าเจ้ าอยู่หวั เสด็จพระราชดาเนินเลียบพระ
นครทางชลมารค โดยขบวนพยุหยาตราทรงชลมารค
และเสด็จฯ ทางสถลมารค โดยขบวนราบใหญ่ ใน
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 เมื่อวันที่
12 ธันวาคม พ.ศ. 2562

You might also like