You are on page 1of 28

สปดาห์ ท ี่ 1
แผนบทเรียน
เรือ
่ ง
“ความเค้น (Stress; ) , ความเครียด
(Strain; )”

แผนบทเรียน
วิช ความแข็งแรงของวัสดุ ระด ับ ปวส.

เรือ
่ “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; เวลา 180 นาที
ง )”
1. ว ัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม
ก. ความสามารถ ข. รายละเอียดระบุไว้
ใน.....
1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; IS1-2 /WS1 ข ้อ 1 / TS ข ้อ 1
t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive IS 3-4 /WS1 ข ้อ 2 / TS ข ้อ 2
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
3. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นเฉือน(Shear stress ; IS 5-7 /WS2 ข ้อ 3 / TS ข ้อ
) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ 3
4. สามารถคำนวณหาค่าความเครียด(Strain; ) ได ้ถูก IS 8-11 /WS2 ข ้อ 4 / TS ข ้อ
ต ้อง 1 ข ้อ 4
่ ทเรียน
2. การนำเข้าสูบ
ก. อุปกรณ์ชว่ ยสอน ข. คำถามประกอบ
1. ถามนักศกึ ษาว่าทำไมตึกถึงถล่มให ้
1.แผ่นใส นักศกึ ษาลองชว่ ยกันตอบ (ครูตอบคำถาม
โยงถึงความเค ้น)
2. ถามนักศก ึ ษาว่าทำไมสะพานถึงหักให ้
นักศก ึ ษาลองชว่ ยกันตอบ (ครูตอบคำถาม
2.แผ่นใส โยงถึงความเครียด)
3. การปฏิบ ัติการ
เวลา (X นาที) 60 140 180
หมายเลขวัตถุประสงค์ 1-2 3-4 1-4
ขนสนใจปั
ั้ ญหา
บรรยา
ขนศ ั้ ก ึ ษา ย
ข้อมูล ถาม-
ตอบ
สาธิต
ขนพยายาม
ั้
ขนส ั้ ำเร็จผล
กระดาน
อุปกรณ์ ดำ
ชว ่ ยสอน Power
point
แผ่นใส
ของจริง
แผ่น
ภาพ
ใบงาน
ใบ
ทดสอบ
4. สงิ่ ทีแ
่ นบมาด ้วย IS, WS ,AS,TS, Power point,

้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 1
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ
ความเค้น (Stress; )
การออกแบบทางวิศวกรรมจำเป็ นต ้องออกแบบชน ิ้ งานให ้มีความแข็ง
แรงเพียงพอต่อการใชงานโดยช ้ ิ้ สว่ นนัน
น ้ ๆต ้องมีคณ
ุ สมบัต ิ 2 อย่างคือ
1 ชน ิ้ งานมีความแข็งแรงพอทีจ ่ ะสามารถรับแรงทีม ่ ากระทำขณะใช ้
งานได ้ตามปกติ
2 ชน ิ้ งานนัน้ ต ้องไม่เปลีย
่ นแปลงขนาดมากเกินไป
นักศกึ ษาทีเ่ รียนวิชากลศาสตร์วศ ิ วกรรม จะคำนึงถึงแรงในวัตถุโดยไม่
คำนึงถึงขนาดทีเ่ ปลีย ่ นแปลง แต่ในวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ (Strength
of Materials) จำเป็ นต ้องพิจารณาทัง้ สองอย่าง
1. ชนิดของความเค้น ความเค ้นในเนือ ้ วัสดุแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ
1.1 ความเค้นแรงดึง(Tensile stress ; t ) เกิดขึน ้ เมือ
่ วัตถุอยูภ
่ ายใต ้
ิ้ งานอาจมีพน
แรงดึง (Tension) ดังรูปที่ 1.1 ชน ื้ ทีห
่ น ้าตัด เป็ นรูปทรงกลม
สเี่ หลีย ่ ม หรือท่อกลม ท่อสเี่ หลีย
่ ม สามเหลีย ่ ม ฯ ก็ได ้

P P P

P P P

t
รูปที่ 1.1 แสดงชิ ้นงานพื ้นที่หน้ าตัด A ถูกแรงดึง P ทำให้ เกิดความเค้ นแรงดึง t
จากรูปที่ 1.1 จะได ้สมการ
t = P/A ……………………….(1.1)
เมือ
่ P = แรง (นิวตัน ; N)
A = พืน
้ ทีห
่ น ้าตัดแนวตัง้ ฉากกับแนวแรง(ตารางมิลลิเมตร
; mm )
2

t = ความเค ้นแรงดึง(นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ; N/mm2)

้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 2
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

ต ัวอย่างที่ 1.1 สายเบรกของรถยนต์ขนาดเสนผ่ ้ าศูนย์กลาง 10 mm. เมือ



เบรกอยูภ ่ ายใต ้แรงดึง 1.5 kN. จงหาความเค ้น ( 19.1 N/mm2)
วิธท
ี ำ
โจทย์กำหนดให ้
d = 10 mm
 A =  102/4 = 78.540 mm2
P = 1.5 kN = 1,500 N
สูตร  = P/A
แทนค่าสูตร t = 1,500 / 78.540 N/mm2

= 19.1 N/mm2 Ans


้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 3
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

1.2 ความเค้นแรงอ ัด(Compressive stress ; c) เกิดขึน ้ เมือ


่ ชน ิ้ งาน
อยูภ
่ ายใต ้แรงอัด(Compression) ดังรูปที่ 1.2 พืน ้ ทีห
่ น ้าตัดเป็ นไปตาม
ลักษณะเชน ่ เดียวกับความเค ้นแรงดึง หัวข ้อที่ 1.1 แต่ความยาวของชน ิ้ งาน
ไม่ควรยาวมากเกินไป เพราะชน ิ้ งานอาจเกิดการโค ้งงอได ้ (Deflection)

P P P

c
P P P
A

รูปที่ 1.2 แสดงชิ ้นงานพื ้นที่หน้ าตัด A ถูกแรงอัด P ทำให้ เกิดความเค้ นแรงอัด c

จากรูปที่ 1.2 จะได ้สมการ


c = P/A ……………………….(1.2)
เมือ
่ P = แรง (นิวตัน ; N)
A = พืน
้ ทีห
่ น ้าตัดแนวตัง้ ฉากกับแนวแรง(ตารางมิลลิเมตร
; mm )
2

c = ความเค ้นแรงอัด(นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ; N/mm2)


้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 4
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

ต ัวอย่างที่ 1.2 เสาเหล็กหล่อกลม ขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางภายใน 50


mm. เสน ้ ผ่าศูนย์กลางนอก 120 mm. อยูภ่ ายใต้แรงอ ัด 200 kN จง
หาความเค้นอ ัด
วิธท
ี ำ 200 kN
โจทย์กำหนดให้
พิจารณาจากโจทย์ทำให้เขียนล ักษณะเสา
120 mm. เหล็กหล่อกลมได้ด ังภาพซา้ ยมือ ซงึ่ มีขนาด
50 mm.
ต่างๆด ังนี้ (ไม่ได้กำหนดขนาดความยาว)
d = 50 mm
D = 120 mm
 A =  (1202 – 502)/4 = 9,346.238
mm2
P = 200 kN = 200,000 N
สูตร  = P/A
เหล็กหล่อกลม แทนค่าสูตร c = 200,000 / 9,346.238
N/mm2
= 21.398 N/mm2
Ans
้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 5
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

1.3 ความเค้นเฉือน(Shear stress ; ) เกิดขึน ้ เมือ่ วัตถุอยูภ


่ ายใต ้แรง
เฉือน(Shearing Force) แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
1.3.1 Single Shear ชน ิ้ งานทีถ
่ ก
ู แรง 2 แรงกระทำแต่แรงทัง้ สอง
ไม่อยูใ่ นแนวเดียวกันจึง ทำให ้เกิดการพยายามเฉือนชน ิ้ งานให ้ขาดออกเป็ น
สองชน ิ้ ดังรูปที่ 1.3 โดยพืน ่ งึ่ ถูกเฉือน คือพืน
้ ทีซ ้ ที่ A จำนวน 1 พืน ้ ที่

P A

รู ปที่ 1.3 แสดงชิ้นงานพื้นที่หน้าตัด A ถูกแรงเฉื อน P (แบบ Single shear)

จากรูปที่ 1.3 จะได ้สมการเป็ น


 = P/A ……………………….(1.3)
เมือ
่ P = แรง (นิวตัน ; N)
A = พืน้ ทีห
่ น ้าตัดแนวขนานกับแนวแรง(ตารางมิลลิเมตร ;
mm ) 2

 = ความเค ้นแรงเฉือน(นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ; N/mm2)


้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 6
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

1.3.2 Double Shear เป็ นลักษณะการเฉือนทีม


่ พ
ี น
ื้ ทีถ
่ ก
ู เฉือน 2
พืน
้ ทีด
่ งั รูปที่ 1.4

P/
2 A P
A
P/
2

รูปที่ 1.4 แสดงชิน้ งานพืน้ ที่หน้ าตัด A ถูกแรงเฉือน P (แบบ Double shear)

จากรูปที่ 1.4 จะได ้สมการเป็ น


 = P/2A ……………………….(1.4)
เมือ
่ P = แรง (นิวตัน ; N)
A = พืน้ ทีห
่ น ้าตัดแนวขนานกับแนวแรง(ตารางมิลลิเมตร ;
mm ) 2

 = ความเค ้นแรงเฉือน(นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ; N/mm2)


้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 7
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

ต ัวอย่างที่ 1.3 ใชเครื้ อ่ ง Punch ตัดแผ่นกลม ขนาดเสนผ่ ้ าศูนย์กลาง 22


mm ทีแ ่ ผ่นนิเกิลหนา 3 mm วัสดุม ี shear strength 370 MN/m2 จงหาแรง

ทีใ่ ชในการตั ด ( 76.7 kN)
วิธท ี ำ

แผ่นนิเกิลหนา 3 มม

(ก) (ข)

A คือพื้นที่หน้าตัดที่
โดนเฉื อนขาด ซึ่ งก็คือ
พื้นที่รอบเหรี ยญ
โจทย์กำหนดให ้
D = 22 mm, t = 3 mm
 A = 22** 3 = 207.345 mm2 (พืน ้ ทีโ่ ดนตัดเฉือน)
max = 370 N/mm
สูตร  = P/A  P =  * A
แทนค่าสูตร P = 370 * 207.345 N
= 76,717.692 N = 76.7 kN Ans
้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 8
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

2. ความเครียด(Strain; ) ความเครียดในเนือ ้ วัสดุเกิดจากรูปร่างของ


่ นแปลงไป ในการคำนวณ ค่าความเครียดคืออัตราสว่ นระหว่าง
วัสดุทเี่ ปลีย
สว่ นทีเ่ ปลีย่ นแปลงต่อความยาวเดิม จึงได ้สูตรดังนี้
2.1 ความเครียดดึง(Tensile strain ; t ) พิจารณาชน ิ้ งานความยาว
l มิลลิเมตร ถูกดึงจนมีความยาวเพือ ่ ขึน
้ อีก  มิลลิเมตร

P P

รูปที่ 1.5 แสดงชิ ้นงาน ความยาว l ถูกดึงให้ ยืดอีก

จากรูปที่ 1.5 จะได ้สมการเป็ น


t = /l
เมือ
่ l = ความยาววัตถุกอ่ นรับแรง(มิลลิเมตร;mm)
 = ความยาววัตถุทย ี่ ด
ื ออก(มิลลิเมตร;mm)
t = ความเครียดดึง (ไม่มห ี น่วย)
้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 9
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

ิ้ งาน
2.2 ความเครียดอ ัด(Compressive strain ; c)พิจารณาชน
ความยาว l มิลลิเมตร ถูกกดจนมีความยาวลดลง  มิลลิเมตร

P P


l

รู ปที่ 1.6 แสดงชิ้นงาน ความยาวเดิม l ม.ม. ถูกกดให้ หดอีก  ม.ม.


จากรูปที่ 1.6 จะได ้สมการเป็ น
c = /l
เมือ
่ l = ความยาววัตถุกอ ่ นรับแรง(มิลลิเมตร;mm)
 = ความยาววัตถุทห ี่ ดเข ้า(มิลลิเมตร;mm)
c = ความเครียดอัด(ไม่มห ี น่วย)

้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 10
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

2.2 ความเครียดเฉือน(Shear strain ; ) พิจารณาชน ิ้ งานรูปสเี่ หลีย


่ ม
ผืนผ ้า ด ้านล่างยึดติดแน่นกับพืน
้ ด ้านบนถูกแรง P กระทำให ้เยือ
้ งไปทาง
้ เป็ นมุม  กับแนวเดิมดังรูปที่ 1.7
ซาย

รูปที่ 1.7 แสดงชิ ้นงานที่เกิดความเครี ยดเฉือน

จากรูปที่ 1.7 จะได ้สมการเป็ น


 = /l
= tan 
เมือ
่ l = ความยาววัตถุกอ่ นรับแรง(มิลลิเมตร;mm)
 = ความยาววัตถุทห ี่ ดเข ้า(มิลลิเมตร;mm)
 = ความเครียดเฉือน (ไม่มห ี น่วย)
แต่ทมี่ มุ  เล็กมาก tan    เรเดียน
ดังนัน
้ Shear Strain =  radian

้ หา
ใบเนือ
(Information Sheet)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 11
งาน ที่
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1
สงค์ ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive stress ; c)ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ


ต ัวอย่างที่ 4 เหล็กเสนกลมขนาดเส ้ าศูนย์กลาง 20 mm ยาว 200 mm
นผ่
ยืดออก 0.127 mm เมือ ่ อยูภ
่ ายใต ้แรงดึง 40 kN จงหา ก) stress ข)
strain
วิธท
ี ำ
ก) โจทย์กำหนดให ้
d = 20 mm,
 A =  202 / 4 = 314.159 mm2
P = 40 kN = 40,000 N
สูตร  = P/A
แทนค่าสูตร c = 40,000 / 314.159 N/mm2
= 127.323 N/mm2 Ans

ข) สูตร t = /l
แทนค่าสูตร t = 0.127 / 200 mm/mm
= 6.35 * 10-4 Ans

ใบงานที่ 1
(Work Sheet No 1)
หัวข ้อ/ “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 1
งาน ที่
ชอื่ ความแข็งแรงของวัสดุ
รายวิชา

ข้อที่ 1) จงหา stress ในเสนลวดขนาดเส ้ าศูนย์กลาง 1 mm อยูภ
นผ่ ่ ายใต ้
แรงดึง 120 N ( 152.788 MN/m ) 2

วิธที ำ โจทย์กำหนดให ้
d = …………… mm
จากสูตร A =  d2/4  (สูตรคำนวณหาพืน ้ ทีห่ น ้าตัดทีเ่ ป็ น
วงกลม)
แทนค่าสูตร A = ……………… mm2
P = 120 N
t = ?  (โจทย์ให ้คำนวณหา)
จากสูตร t = P/A  (รู ้ค่า P และ A แล ้ว สามารถแทนค่า
สูตรได)้
แทนค่าสูตร t =…………/…………… N / mm2
t =……………………… N / mm2 Ans

ข้อที่ 2)จงหาขนาดของเหล็กเสนกลม เพือ
่ ทีจ
่ ะรับแรงดึง 90 kN โดยมี
stress ไม่เกิน 100 MN/m2 (33.851 kN)
วิธที ำ โจทย์กำหนดให ้
d = ?  (โจทย์ให ้คำนวณหา)
จากสูตร A =  d2/4
P = 90 kN
= ……………… N
t = 100 MN/m2 (โจทย์ไม่ให ้เกิน 100 MN/m2 ให ้
ใช100้ MN/m2)
จากสูตร t = P/A
หรือ A = P/t  (หลักการย ้ายข ้าง)
 d /4 =
2
P/t
2
d=
4P
❑t -- ❑
d =
√ 4P
❑t

แทนค่าสูตร d ❑=
√ 4 (… … … …)
(… … … …)
= ………… mm Ans
ใบงานที่ 1
(Work Sheet No 1)
หัวข ้อ/ “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 2
งาน ที่
ชอื่ ความแข็งแรงของวัสดุ
รายวิชา
ิ้ งานสองชน
ข้อที่ 3) จากภาพชน ิ้ ยึดด ้วยหมุดย้ำขนาดเสนผ่
้ าศูนย์กลาง 10
mm จำนวน 4 ตัวอยูภ ่ ายใต ้แรงดึง 200 kN จงหาความเค ้นเฉือนทีห ่ มุดย้ำได ้
รับ(636.620 MN/m )
2

P
P

P P

วิธท ี ำ
โจทย์กำหนดให ้ d = 10 mm  (ขนาดเสนผ่ ้ าศูนย์กลาง)
จากสูตรพืน้ ทีห
่ น ้าตัดวงกลม =  d /4 แต่เนือ
2
่ งจากหมุดย้ำมี
ทัง้ หมด 4 ตัว ฉะนัน ้ พืน
้ ทีห่ น ้าตัดจึงมีคา่ เป็ น
A = (  d2/4)(4) mm2
แทนค่าสูตร A = ……………… mm2
P = 200 kN
= …………..………… N
 = P/A
แทนค่าสูตร  = ……………../……………….
N/mm 2

= ……………../……………….
N/mm 2
Ans

เฉลยใบงานที่ 1
(Amswer Sheet No 1)

หัวข ้อ/ “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 1


งาน ที่
ชอื่ ความแข็งแรงของวัสดุ
รายวิชา

ข้อที่ 1) จงหา stress ในเสนลวดขนาดเส ้ าศูนย์กลาง 1 mm อยูภ
นผ่ ่ ายใต ้
แรงดึง 120 N ( 152.788 MN/m )2

วิธที ำ โจทย์กำหนดให ้
d = 1 mm
จากสูตร A =  d2/4  (สูตรคำนวณหาพืน ้ ทีห
่ น ้าตัดทีเ่ ป็ น
วงกลม)
แทนค่าสูตร A = 0.785 mm2
P = 120 N
t = ?  (โจทย์ให ้คำนวณหา)
จากสูตร t = P/A  (รู ้ค่า P และ A แล ้ว สามารถแทนค่า
สูตรได)้
แทนค่าสูตร t = 120 / 0.785 N / mm2
= 152.788 N / mm2 Ans

ข้อที่ 2) จงหาขนาดของเหล็กเสนกลม เพือ
่ ทีจ
่ ะรับแรงดึง 90 kN โดยมี
stress ไม่เกิน 100 MN/m2 (33.8 mm.)
วิธที ำ โจทย์กำหนดให ้
d = ?  (โจทย์ให ้คำนวณหา)
จากสูตร A =  d2/4
P = 90 kN
= ……90,000… N
t = 100 MN/m2 (โจทย์ไม่ให ้เกิน 100 MN/m2 ให ้
ใช100้ MN/m2)
จากสูตร t = P/A
หรือ A = P/t  (หลักการย ้ายข ้าง)
 d /4 =
2
P/t
d2 = 4 P/ t
d =  4 P/ t
แทนค่าสูตร d = 4 (90,000)/ (100) = 33.8 mm
Ans

เฉลยใบงานที่ 1
(Amswer Sheet No 1)
หัวข ้อ/ “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้า 2
งาน ที่
ชอื่ ความแข็งแรงของวัสดุ
รายวิชา

ิ้ งานสองชน
ข้อที่ 3) จากภาพชน ิ้ ยึดด ้วยหมุดย้ำขนาดเสนผ่
้ าศูนย์กลาง 10
mm จำนวน 4 ตัวอยูภ ่ ายใต ้แรงดึง 200 kN จงหาความเค ้นเฉือนทีห ่ มุดย้ำได ้
รับ (636.620 N/mm2)

P
P

P P

วิธท ี ำ
โจทย์กำหนดให ้ d = 10 mm  (ขนาดเสนผ่ ้ าศูนย์กลาง)
จากสูตรพืน้ ทีห
่ น ้าตัดวงกลม =  d2/4 แต่เนือ ่ งจากหมุดย้ำมี
ทัง้ หมด 4 ตัว ฉะนัน ้ พืน
้ ทีห่ น ้าตัดจึงมีคา่ เป็ น
A = 4 (  d2/4) mm2
แทนค่าสูตร A = 314 mm2
P = 200 kN
= 200,000 N
 = P/A
แทนค่าสูตร  = 200,000 / 314 N/mm2
= 636.620 N/mm2 Ans

ใบทดสอบ
(Test Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 1
งาน
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ;
สงค์ t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ เวลา 40 นาที
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
1) มวล m ขนาด 200 กิโลกรัม ถูกแขวนด ้วยเหล็กเสนกลม ้ B กับคาน
ดัง ภาพ โดยมีเ หล็ก เส น้ A รัง้ ไว ้ด ้านบนคาน เหล็ก เส นกลมทั
้ ง้ สองมีค า่
ความเค ้นแรงดึงสูงสุดไม่เกิน 400 MN/m จงคำนวณหา
2

้ าศูนย์กลางของเหล็ก A และ B
ก) ขนาดเสนผ่
ข) จงหาขนาดของสลัก ทัง้ สองถ ้าความเค ้นเฉือ นสูง สุด เท่า กับ 600
MN/m2

P P
A
D E
D
C

B 1.5 เมตร 2 เมตร

(ก) C

(ข)
ข้ อที่ 1

ใบทดสอบ
(Test Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 2
งาน
วัตถุประ 3. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ; เวลา 40 นาที
สงค์ t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
4. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
วิธท
ี ำ
โจทย์กำหนดให ้
มวล m = (… … … … … …) kg
DE = (… … … … … …) m
BD = (… … … … … …) m
P = แรงดึงในท่อนเหล็ก AD
2
σ t=(… … … … … …) MN /m
τ =(… … … … … …)MN /m2
ก) หาขนาดเสน ้ ผ่าศูนย์กลางของเหล็ก A และ B
- หาขนาดเสน ้ ผ่าศูนย์กลางท่อน A
P
สูตร σ t=
A
P


πd
2 σ t= 2P
แต่ A=
2
ดังนัน
้ (
πd
2
) หรือ d=
πσ t
2

แทนค่าสูตร d=
√ 2(… … … … … …)( … … … … … …)
π ( … … … … … …)
¿ 1.77 mm

้ าศูนย์กลางเหล็ก A มีคา่ เท่ากับ 1.7 มิลลิเมตร Ans


ขนาดเสนผ่
- หาขนาดเสน ้ ผ่าศูนย์กลางท่อน B
ต ้องทำการหาแรงในท่อน B ก่อน ดังนี้
จากรูป เมือ
่ เทคโมเมนต์รอบจุด E ได ้สมกา i
( 200 ×9.81 ) ( 3.5 )=2 P
ดังนัน

( … … … … … …)(… … … … … …)
P=
(… … … … … …)
นิวตัน
P=(… … … … … …) นิวตัน

ใบทดสอบ
(Test Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 3
งาน
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile
สงค์ stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
เวลา 40 นาที
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
ในทำนองเดียวกันกับท่อน A จะได ้ขนาดท่อน B เท่ากับ
d=
√ 2P
πσ t

แทนค่าสูตร d=
√ 2((… … … … … …))
π ( … … … … … …)
¿ 2.43 mm

้ าศูนย์กลางเหล็ก A มีคา่ เท่ากับ 2.43 มิลลิเมตร Ans


ขนาดเสนผ่

ข)หาขนาดสล ัก C และ D
หาขนาดสลัก A แทนค่าสูตร
สูตร
P
τ=
A

(… … … … … …)
(… … … … … …)=
A

(… … … … … …)
A= =( … … … … … …)mm 2
(… … … … … …)

แต่สลักถูกเฉือน 2 พืน
้ ที(่ Double shear) ดังนัน
้ ขนาดสลักจึงคำนวณได ้
จากสมการ
2
2πd
A= =9.319
4
d=
√ ( … … … … … …)
π
=(… … … … … …)mm

ขนาดสลักที่ A เท่ากับ 2.4 มิลลิเมตร Ans

ใบทดสอบ
(Test Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 4
งาน
วัตถุประ 1. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile เวลา 40 นาที
สงค์ stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
2. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ

หาขนาดสลัก C แทนค่าสูตร
200× 9.81
400=
A

(… … … … … …)×(… … … … … …)
A= =(… … … … … …) mm2
(… … … … … …)

แต่สลักถูกเฉือน 2 พืน
้ ที(่ Double shear) ดังนัน
้ ขนาดสลักจึงคำนวณได ้
จากสมการ
2 π d2
A= =4.905
4
d=
√ 2(… … … … … …)
(… … … … … …)
=1.77 mm

ขนาดสลักที่ A เท่ากับ 1.77 มิลลิเมตร Ans

ใบทดสอบ
(Test Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 2
งาน
วัตถุประ 3. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นเฉือน(Shear stress ;
สงค์ ) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
เวลา 40 นาที
4. สามารถคำนวณหาค่าความเครียด(Strain; ) ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

2) เหล็กเสนแบนกว ้าง 1 นิว้ หนา 2 หุน ดังภาพ ถ ้าเหล็กดังกล่าวรับแรง
400 นิวตัน จงหาความเค ้นทีเ่ กิดขึน

เมือ
่ 1 นิว้ เท่ากับ 25.4 มิลลิเมตร และ 1 นิว้ เท่ากับ 8 หุน ( 2.48 N/mm2)

400 นิวตัน 400 นิวตัน


1 นิ ้ว

ภาพข้ อ2 หนา 2 หุน

วิธท
ี ำ
โจทย์กำหนดให ้
พืน
้ ทีห
่ น ้าตัดเหล็ก(A) = กว ้าง x ยาว
= (1 นิว้ )x(2 หุน)
= (… … … … … …)×(… … … … … …) ตารางมิลลิเมตร
A = (… … … … … …) mm2
แรงดึง(P) มีคา่ เท่ากับ 400 นิวตัน (400 N)
P
สูตร σ t=
A
( … … … … … …)
แทนค่าสูตร σ t=
( … … … … … …)
N /m m
2

แทนค่าสูตร σ t=(… … … … … …) N / m m2 Ans

เฉลยใบทดสอบ
(Answer Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 1
งาน
วัตถุประ 5. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ;
สงค์ t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ เวลา 40 นาที
6. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ

1) มวล m ขนาด 200 กิโลกรัม ถูกแขวนด ้วยเหล็กเสนกลม ้ B กับคาน


ดัง ภาพ โดยมีเ หล็ก เส น้ A รัง้ ไว ้ด ้านบนคาน เหล็ก เส นกลมทั
้ ง้ สองมีค า่
ความเค ้นแรงดึงสูงสุดไม่เกิน 400 MN/m2 จงคำนวณหา
ค) ขนาดเสนผ่้ าศูนย์กลางของเหล็ก A และ B
ง) จงหาขนาดของสลัก ทัง้ สองถ ้าความเค ้นเฉือ นสูง สุด เท่า กับ 600
MN/m2

P P
A
D E
D
C

B 1.5 เมตร 2 เมตร

(ก) C

(ข)
ข้ อที่ 1

เฉลยใบทดสอบ
(Answer Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 2
งาน
วัตถุประ 7. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile stress ;
สงค์ t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ เวลา 40 นาที
8. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
วิธท
ี ำ
โจทย์กำหนดให ้
มวล m = 200 kg
DE = 2 m
BD = 1.5 m
P = แรงดึงในท่อนเหล็ก AD
σ t=400 MN /m2
2
τ =600 MN /m
ข)หาขนาดเสน ้ ผ่าศูนย์กลางของเหล็ก A และ B
หาขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางท่อน A
P
สูตร σ t=
A
P


π d2 σ t= 2P
แต่ A=
2
ดังนัน
้ (
π d2
) หรือ d=
πσ t
2

แทนค่าสูตร d=
√ 2(200)(9.81)
π ( 400)
¿ 1.77 mm

้ าศูนย์กลางเหล็ก A มีคา่ เท่ากับ 1.7 มิลลิเมตร Ans


ขนาดเสนผ่
หาขนาดเสน ้ ผ่าศูนย์กลางท่อน B
ต ้องทำการหาแรงในท่อน B ก่อน ดังนี้
จากรูป เมือ
่ เทคโมเมนต์รอบจุด E ได ้สมกา i
( 200 ×9.81 ) ( 3.5 )=2 P
ดังนัน

( 200 ×9.81 ) ( 3.5 )
P=
2
นิวตัน
P=3,727.7 นิวตัน

เฉลยใบทดสอบ
(Answer Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 3
งาน
วัตถุประ 3. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile
สงค์ stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
เวลา 40 นาที
4. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ

ในทำนองเดียวกันกับท่อน A จะได ้ขนาดท่อน B เท่ากับ


d=
√ 2P
πσ t

แทนค่าสูตร d=
√ 2(3,727.7)
π (400)
¿ 2.43 mm

้ าศูนย์กลางเหล็ก A มีคา่ เท่ากับ 2.43 มิลลิเมตร Ans


ขนาดเสนผ่

ข)หาขนาดสล ัก C และ D
หาขนาดสลัก A แทนค่าสูตร
สูตร
P
τ=
A

3,727.7
400=
A

3,727.7 2
A= =9.319 mm
400

แต่สลักถูกเฉือน 2 พืน
้ ที(่ Double shear) ดังนัน
้ ขนาดสลักจึงคำนวณได ้
จากสมการ
2 π d2
A= =9.319
4
d=
√ 2 ( 9.319 )
π
=2.4 mm

ขนาดสลักที่ A เท่ากับ 2.4 มิลลิเมตร Ans

เฉลยใบทดสอบ
(Answer Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 4
งาน
วัตถุประ 3. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นดึง(Tensile
สงค์ stress ; t) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
เวลา 40 นาที
4. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นอัด(Compressive
stress ; c)ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ

หาขนาดสล ัก C แทนค่าสูตร
200× 9.81
400=
A

200 × 9.81 2
A= =4.905 mm
400

แต่สลักถูกเฉือน 2 พืน
้ ที(่ Double shear) ดังนัน
้ ขนาดสลักจึงคำนวณได ้
จากสมการ
2
2πd
A= =4.905
4

d=
√ 2 ( 4.905 )
π
=1.77 mm

ขนาดสลักที่ A เท่ากับ 1.77 มิลลิเมตร Ans

เฉลยใบทดสอบ
(Answer Sheet No 1)
หัวข ้อ / “ความเค ้น (Stress; ) , ความเครียด (Strain; )” หน ้าที่ 2
งาน
วัตถุประ 3. สามารถคำนวณหาค่าความเค ้นเฉือน(Shear stress ;
สงค์ ) ได ้ถูกต ้อง 1 ข ้อ
เวลา 40 นาที
4. สามารถคำนวณหาค่าความเครียด(Strain; ) ได ้ถูก
ต ้อง 1 ข ้อ

2) เหล็กเสนแบนกว ้าง 1 นิว้ หนา 2 หุน ดังภาพ ถ ้าเหล็กดังกล่าวรับแรง
400 นิวตัน จงหาความเค ้นทีเ่ กิดขึน ้
เมือ
่ 1 นิว้ เท่ากับ 25.4 มิลลิเมตร และ 1 นิว้ เท่ากับ 8 หุน ( 2.48 N/mm2)
400 นิวตัน 400 นิวตัน
1 นิ ้ว

ภาพข้ อ2 หนา 2 หุน

วิธท
ี ำ
โจทย์กำหนดให ้
พืน
้ ทีห
่ น ้าตัดเหล็ก(A) = กว ้าง x ยาว
= (1 นิว้ )x(2 หุน)
= (25.4)x(2 x 25.4 / 8) ตารางมิลลิเมตร
(A) = 161.29 mm2
แรงดึง(P) มีคา่ เท่ากับ 400 นิวตัน (400 N)
P
สูตร σ t=
A
400
แทนค่าสูตร σ t=
161.29
N /m m
2

แทนค่าสูตร σ t=2. 48 N / m m2 Ans

You might also like