You are on page 1of 35

ประวัติศาสตร์ อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

หมู่บ้าน ป่ าแดง ตำบล หนองพะยอม อำเภอ ตะพานหิน


จังหวัดพิจิตร

นางสาวธัญรัศม์ ศิลลา รหัสนิสิต


65710805
2

ชื่อ-นามสกุล.รหัสนิสิต...................

สารบัญ

หน้า
หัวข้อการศึกษาหมู่บ้านในประเทศไทย 1
1. ประวัติความเป็ นมาของหมู่บ้าน 1
2. แผนที่หมู่บ้าน 2
3. ภูมิปัญญา 3-4
4. ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม ……5-11
5. ภูมิปัญญาในการสร้างบ้าน การปลูก การรื้อ ความเชื่อ พื้นที่
ใช้สอย 12-13
6. ภูมิปัญญาความเชื่อ ประเพณี หมอพิธีกรรมแบบต่าง ๆ และ
วงรอบชีวิต 14-17
7. ภูมิปัญญาหมอยา สมุนไพร ขัน
้ ตอนการบด ตำ ปั ้ น การ
จัดการรักษา 7
8. ภูมิปัญญาด้านดนตรี รำร้อง การละเล่นพื้นบ้าน 8
9. ภูมิปัญญาด้านอาหารพื้นบ้าน 9
10. การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานภูมิปัญญาสู่
ผลิตภัณฑ์ใหม่ 10
บรรณานุกรม 12

สารบัญภาพ

หน้า
ภาพที่ 1 2
ภาพที่ 2 3
ภาพที่ 3 5
ภาพที่ 4 12
ภาพที่ 5 14
ภาพที่ 6 1
ภาพที่ 7 1
ภาพที่ 8 1

ภาพที่ 9 1
ภาพที่ 10 1
ภาพที่ 11 1
1

หัวข้อการศึกษาหมู่บ้านในประเทศไทย
กรณีศึกษา
หมู่บ้านป่ าแดง ตำบลหนองพะยอม อำเภอตะพานหิน
จังหวัดพิจิตร

1. ประวัติความเป็ นมาของหมู่บ้าน
(*หมายเหตุ : การอพยพโยกย้ายการตัง้ ถิ่นฐาน มีที่มาที่ไปอย่างไร)
จากคำบอกเล่า ของผูเ้ ฒ่าผู้แก่สันนิษฐานว่าพื้นที่ป่าแดงทัง้ หมดเป็ นป่ า
ซึ่งมีไม้แดงค่อนข้างมาก เมื่อได้ย้ายเข้ามาอยู่จึงเรียกว่า
บ้านป่ าแดง ทัง้ นีห
้ มู่บ้านป่ าแดงก่อตัง้ ขึน
้ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2457
โดยมี15 ครอบครัว ย้ายมาจาก อ.บ้านหมี่ และ อ.เมือง จ. ลพบุรี
พร้อมด้วยมีพระภิกษุสามเณร ติดตามมา 7 รูป จากนัน
้ มีอีกหลาย
ครอบครัวที่ย้ายตามมาอยู่เรื่อยๆจนตัง้ เป็ นหมู่บ้านป่ าแดงหมู่ที่ 1
และได้แยกออกมาเป็ นหมู่ที่ 6 เมื่อ พ.ศ 2527 และต่อมาได้แยกออก
เป็ นหมู่ที่7 เมื่อพ.ศ 2530 ปั จจุบันบ้านป่ าแดงเป็ นหมูบ้านขนาดใหญ่มี
ผู้คนอาศัยมากกว่า 1,000 ครอบครัวโดยตัง้ อยู่ ต. หนองพยอม
อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร

https://pubhtml5.com/cvsg/wdui/basic
2

2. แผนที่หมู่บ้าน

ภาพที่1 แผนที่บ้านป่ าแดง


3

(ที่มา : https://pubhtml5.com/cvsg/wdui/basic สืบค้นเมื่อวันที่


25 กันยายน 2565)

3. ภูมิปัญญา
(*หมายเหตุ : ให้เลือกมา 1 อย่าง เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน การจับ
ปลา ฯลฯ )
4

ภาพที่ 2 เครื่องใช้ทางการเกษตร
(ที่มา: https://db.sac.or.th/museum/museum-detail/1556
สืบค้นเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2565)
เครื่องมือ เครื่องใช้ ประกอบการทำมาหากิน
เครื่องมือในการทำนาจะประดิษฐ์ขน
ึ ้ ใช้เอง ในบรรดาเครื่องมือที่ใช้ใน
การไถนาคือ
1.หัวหมู
2.หางยาม
3.คันไถ
4.แอก
5.คราด

ขัน
้ ตอนในการทำมาหากิน
5

โดยอาศัยนํา้ ตามธรรมชาติ บริเวณพื้นที่การทำนาของคนพวนบ้าน


ป่ าแดง ยังไม่มีระบบชลประทานเข้าถึง โดยเมื่อก่อนจะใช้ควาย หรือ
วัวไถนา ในการดำนา เกี่ยวข้าว นวดข้าว ฟั ดข้าว จะใช้วิธีการลงแขก
ช่วยกันทำ คือ ชาวบ้านจะรวมตัวกันไปช่วยกันทำของคนใดคนหนึ่ง
ก่อน และเมื่อของตนเองเสร็จแล้วก็จะต้องไปใช้แรงคนอื่น โดย
หมุนเวียนผัดกันไปจนเสร็จฤดูการทำนา โดยเจ้าของนาจะเป็ นผู้จัดทำ
ข้าวปลาอาหาร ขนมหวาน และเครื่องดื่มมาคอยเลีย
้ งแขกผู้มาช่วยงาน
ในระหว่างการทำงานก็จะมีการร้องเพลง ยอกล้อกันเป็ นที่สนุกสนาน
จนงานเสร็จ

4. ภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้องกับงานหัตถกรรม
กรณีศึกษาเรื่อง ผ้าทอป่ าแดง
6

ภาพที่ 3 การทอผ้าป่ าแดง


(ที่มา: https://www.npy.go.th/travel/682-.html สืบค้นเมื่อวันที่
24 กันยายน 2565)
วัตถุดิบ/เครื่องมือ
เฝื อ ทำหน้าที่ ขึน
้ ด้ายยืนเพื่อเรียงเส้นด้าย ให้ได้ขนาดหน้าผ้าที่
ต้องการ
ฟั นหวี (ฟื ม) ทำหน้าที่ ร้อยเส้นด้ายให้เรียงกัน
กังหัน ทำหน้าที่ หมุนด้ายยืนที่สะดวกในการทอ
ไม้ก้ามปู ทำหน้าที่ บังคับความกว้างของการเก็บตะกอ
ไม้ทะนัด และไม้แซ่ ทำหน้าที่ รองรับเส้นด้ายย้ายจากการเก็บตะกอ
กรง ทำหน้าที่ สำหรับมัดหมี่
กี่กระตุก ทำหน้าที่ ทอผ้า
ขัน
้ ตอน
ขัน
้ ตอนที่1 การกรอด้าย
การกรอเส้นด้ายหรือการปั่ นกรอเส้นด้าย เข้าในหลอด (ท่อพลาสติก)
มีทงั ้ ขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ ด้ายหลอดเล็ก จะใช้สำหรับทอผ้าพื้น
ด้ายหลอดใหญ่ให้เป็ นด้ายยืน
ด้ายหลอดใหญ่หรือด้ายยืนนัน
้ ช่างจะใช้เวลาปั่ นกรอทัง้ หมด 76
หลอด ใช้ด้าย 1120 เส้น จะได้ความกว้างของหน้าผ้าเมื่อทออกมา
แล้วประมาณ 39 นิว้ ครึ่ง เป็ นขนาดมาตรฐาน แต่เดิมเครื่องกรอเส้น
7

ด้ายยืนนีเ้ รียกว่า ไน และระวิง หรือหลากรอเส้นด้าย ใช้มือหมุน แต่


ปั จจุบันช่างได้คิดค้นโดยนำมอเตอร์ไฟฟ้ าของจักเย็บผ้ามาใช้ การกรอ
ด้ายช่างจะไล่ด้ายขึน
้ – ลง สลับหัว – ท้ายไปเรื่อยๆเพื่อให้ด้ายที่พันมี
ความเสมอ

ขัน
้ ตอนที่ 2 การเดินด้ายยืน หรือค้นเส้นด้ายยืน
-นำหลอดด้ายใหญ่ทงั ้ หมดไปตัง้ บนแผงที่มีขาตัง้ หลอดมีความยาว
ประมาณ 10 เมตร
-นำปลายเส้นด้ายทัง้ หมดที่ตงั ้ อยู่บนขาตัง้ หลอดมามัดรวมกันแล้วดึงไป
มัดกับแคร่เดินเส้นด้าย เดินเส้นด้ายโดยใช้ไม้ปลายแหลมตรึงเส้นด้าย
เข้ากับหลักค้น ทัง้ เที่ยวขึน
้ และเที่ยวลงจนครบ ทุกหลัก
เมื่อเดินเส้นด้ายครบแต่ละเที่ยวจะต้องเก็บไขว้เส้นด้ายด้วยการใช้หัว
แม่มือเกี่ยวเส้นด้ายแล้วนำไปคล้องกับหลักเก็บไขว้
- เดินเส้นด้ายและเก็บไขว้เส้นด้ายสลับกันไป จนครบตามความ
ต้องการ จากนัน
้ นำเส้นด้ายออกจากเครื่องเดินด้ายแล้วถักเส้นด้ายรวม
กัน
- เส้นด้ายที่ออกจากหลักเก็บไขว้ สอดเข้าฟั นหวีจนครบทุกเส้น โดยใช้
ไม่ไผ่แบน ๆ สำหรับคล้องเส้นด้ายเข้ากับฟั นหวี
ขัน
้ ตอนที่ 3 การร้อยฟั นหวี หรือการหวีเส้นด้าย
8

การหวีเส้นด้าย คือการจัดเรียงเส้นด้าย และตรวจสอบเส้นด้ายไม่ให้


ติดกันหรือพันกันจนยุ่งก่อนที่จะนำเข้าเครื่องทอนำเส้นด้ายที่เดินครบ
ทุกเส้นมาพันเข้ากับหลักบนม้าก๊อบปี ้ ตอกสลักม้าก๊อปปี ้ ให้แน่น
จากนัน
้ ช่างร้อยฟั นหวี จะทำหน้าที่คัดเส้นดายออกทีละเส้น เพื่อให้
ด้ายตรงกับช่องฟั นหวีแล้ว นำเส้นด้ายมาร้อยใน “ไม้ร้อยฟั นหวี” ซึ่งมี
ลักษณะโค้งงอเหมือนเคียว แต่อันเล็กกว่าจะเป็ นเหล็กหรือไม้ไผ่ก็ได้)
โดยนำมาสอดร้อยเข้าไปในฟั นหวีที่ละเส้นจะเริ่มจากด้านซ้ายไปขวา
โดยฟั นหวีนจ
ี ้ ะมีทงั ้ หมด 1120 ซี่ ความยาวเท่ากับ 43 นิว้ ครึ่ง ความ
กว้างของหน้าผ้า ประมาณ 39 นิว้ ครึ่ง
เมื่อร้อยเส้นด้ายเข้าฟั นหวีเสร็จแล้ว ช่างจะดึงเส้นด้ายมาพันเข้ากับ
ใบพัดม้วนด้ายหรือม้ากังหัน จากนัน
้ ช่างจะดันฟั นหวีจากม้ากังหัน
เข้าไปหาม้าก็อปปี ้ พร้อมกับใช้ไม้แหลมแหลมเส้นด้ายให้แยกออกจาก
กัน ป้ องกันเพื่อไม่ให้เส้นด้ายพันกัน โดยจะกรีดเส้นด้ายจากใบพัดม้วน
จนถึงตัวม้าก็อปปี ้ เสร็จแล้วปล่อยสลักม้า ก็อปปี ้ หมุนเส้นด้ายพันเข้า
กับพัดจนครบหมดทุกเส้น แล้วนำม้วนด้ายที่ได้รับการหวีเสร็จแล้วมา
วางบน “ กี่ ” (เครื่องทอผ้า)
ขัน
้ ตอนที่ 4 การเก็บตะกอ
การเก็บตะกอเป็ นการเก็บด้ายยืน โดยจะนำด้ายที่ผ่านการหวีมาแล้ว
และใช้ด้ายขวา 80 % ซึง่ เป็ นด้ายที่มีความมันน้อย มาร้อยสลับด้ายยืน
เพื่อทำหน้าที่สลับเส้นด้ายขึน
้ - ลง โดยใช้เครื่องมือที่เป็ นไม้ไผ่ เรียกว่า
ไม้ก้ามปูมาใช้ในการเก็บตะกอ
9

ขัน
้ ตอนการเก็บตะกอ
- นำม้วนด้ายที่ได้รับการหวีมาแล้ว วางบนเครื่องทอผ้า (กี่) โดยวาง
ม้วนด้ายให้เข้ากับสลักของเครื่องทอ
- นำปลายเส้นด้ายมารวมกันทุกเส้นแล้วดึงมาผูกกับไม้รองเท้าด้านบน
เครื่องทอผ้าให้ตึงแน่นเสมอกันทุกเส้น
- ใช้ด้ายสีขาว 80 เปอร์เซ็นต์ สำหรับเก็บตะกอแล้วผูกติดกับไม้ที่ใช้
เท้าเหยียบให้เส้นด้ายสามารถขยับขึน
้ ลงได้
การเก็บตะกอผ้านี ้ ช่างจะกลับม้วนด้ายยืนด้านบนขึน
้ เพื่อทำการเก็บ
ตะกอด้านล่างก่อนเพราะการเก็บตะกอด้านล่างจะเก็บยากกว่าด้านบน
เมื่อเสร็จแล้วจึงจะเก็บด้นบนที่หลัง
ขัน
้ ตอนที่ 5 การมัดลายมัดหมี่ (การเตรียมมัดหมี่)
- ลายผ้าที่สวยงามจะต้องได้รับการออกแบบอย่างถูกต้อง หรือมีการ
คิดค้นประยุกต์ลายให้เหมาะสมก่อที่จะนำมาทอเป็ นผืนผ้า การ
ออกแบบลายผ้ามีอุปกรณ์ 3 อย่าง คือ สมุดกร๊าฟ 1 เล่ม ดินสอดำ
ยางลบ สีเทียน 1 กล่อง การออกแบบมีขน
ั ้ ตอนดังนี ้
1) ออกแบบผ้ามัดหมี่บนกระดาษกร๊าฟด้วยดินสอดำ ตามแต่จะ
ต้องการแต่ละลาย เช่น
- มัดหมี่ชนิด 3 ลำ
- มัดหมี่ชนิด 5 ลำ
- มัดหมี่ชนิด 7 ลำ
- มัดหมี่ชนิด 9 ลำ
10

- มัดหมี่ชนิด 13 ลำ
- มัดหมี่ชนิด 15 ลำ
- มัดหมี่ชนิด 25 ลำ
2) ระบายสีตามลวดลายที่ได้ออกแบบไว้ด้วยสีเทียนเพื่อให้มองเห็น
ชัดเจนยิ่งขึน

วิธีการค้นลายผ้ามัดหมี่ และมัดหมี่ทำได้โดย
- นำเส้นด้ายสำหรับมัดหมี่ มาเข้าหลักมัดหมี่โดยสอดสลักเข้าไปที่หัว
และท้ายแล้วขึงให้ตึงกับหลักทัง้ ๒ ข้าง เอาเชือกฟางมัดด้ายหมี่ตามที่
ออกแบบไว้ การมัดนีเ้ พื่อป้ องกันสีไม่ให้ซึมผ่านบริเวณที่ถูกมัดสีที่ติด
อยู่จะติดอยู่กับบริเวณที่ไม่ถูกมัด
ขัน
้ ตอนที่ 6 การย้อมด้ายมัดหมี่
1) ต้มน้ำในกะละมังให้เดือดประมาณ 5 นาที ผสมสีเคมีตามอัตราส่วน
ที่กำหนดไว้ของแต่ละประเภท คนสีเคมีให้ละลายเข้ากับน้ำเดือดที่ต้ม
ไว้
2) นำเส้นด้ายหมี่สีขาวที่มัดเชือกฟางเสร็จแล้วมาแช่ในน้ำเปล่า
ธรรมดา เพื่อเส้นด้ายหมี่อิ่มตัว เพื่อเวลาย้อมเส้นหมี่ สีจะได้ซึมเข้าไป
ในเส้นด้ายทัง้ ด้านใน และ นอกเสมอกันทัง้ เส้น
3) นำด้ายมัดหมี่ที่ทำการมัดลายที่ต้องการย้อมแต่ละสีต้องการใส่ใน
กะละมังที่ผสมสีเคมีไว้ แล้วเพื่อทำการย้อม ระหว่างย้อมให้ใช้ไม้ไผ่คน
ด้ายหมี่กลับไป – มาตลอดเวลา เพื่อให้สีที่ต้องการย้อมซึมเข้าเส้นหมี่
11

เสมอกันทุกเส้นไม่กระดำกระด่างไว้เวลาประมาณ 5 – 15 นาที จึงนำ


ด้ายหมี่ขน
ึ ้ ล้างด้วยน้ำเย็นนำไปซักตากให้แห้ง
4) นำด้ายหมี่ที่ย้อมสีเสร็จแล้วไปตากแดดผึ่งให้แห้งสนิท นำมาแกะ
เชือกฟางออกเพื่อนำมัดหมี่มามัดลายเพื่อย้อมสีอ่ น
ื ที่ต้องการอีกต่อไป
นำอย่างนีจ
้ นครบจำนวนสีต้องการ การย้อมด้ายหมี่นจ
ี ้ ะย้อมจากสี
อ่อนไปหาสีแก่เช่น สีเหลือง แดง เขียวฯลฯ
ขัน
้ ตอนที่ 7 การปั่ นหมี่
เมื่อได้เส้นด้ายหมี่ตามสีที่ย้อมแล้ว นำด้ายหมี่มาแกะเชือกฟางออกจะ
นำด้ายหมี่มาใส่เครื่องกรอด้าย โดยนำปลายเส้นด้ายหมี่พันรอบหลอด
ด้ายพุ่ง (เป็ นหลอดเล็ก ๆ ) ใส่เป็ นรูปกรวยเรียงซ้อนกัน ตามลำดับโดย
จะเรียงจากด้านล่างขึน
้ บนไปเรื่อย ๆ การกรอด้ายหมี่จะกรอที่ละ
หลอด เมื่อเติมหลอดด้ายพุ่งแล้ว จึงกรอใส่หลอดอื่น ๆ ต่อไป ด้ายหมี่
แต่ละหลอดนัน
้ นอกจากจะเรียงลำดับจากด้านล่างขึน
้ ด้านบนแล้วจะ
ต้องใส่เข้ากับเชือกห้อยเรียงไว้ตามลำดับก่อน – หลัง จึงจะทอเป็ นลาย
ผ้าหมี่ได้ถก
ู ต้อง
ขัน
้ ตอนที่ 8 การทอผ้าเป็ นผืนผ้า
นำหลอดด้ายมัดหมี่ที่กรอเสร็จเรียบร้อยแล้ว ใส่กระสวยสำหรับทอผ้า
ซึ่งควรเลือกกระสวยที่มีปลายแหลมทัง้ หัวและท้าย ผิวเรียบ นำ
กระสวยด้ายพุ่งใส่รางกระสวย ใช้มือกระตุกพาเส้นด้ายวิ่งผ่านไปมาให้
ขัดกับเส้นด้ายยืน ดึงฟั นหวีกระแทกใส่เส้นด้ายพุง่ กับเส้นด้ายยืนแน่น
ยิ่งขึน
้ ใช้เหยียบไม้พ้น
ื ที่ผก
ู ติดกับตะกอด้ายให้สลับขึน
้ ลงโดยให้สัมพันธ์
12

กับการใช้มือกระตุกให้กระสวยพาด้ายวิ่งผ่านไปมา ขัดกับเส้นด้ายยืน
เมื่อได้ผ้าทอเป็ นผืนแล้วใช้กรรไกรตัดตกแต่งผืนผ้าทีมีเส้นด้ายซึ่งเป็ น
เศษด้ายริมขอบผ้าให้สวยงามจึงได้ผ้าทอมือที่สวยงาม
https://www.npy.go.th/travel/682-.html

ลวดลาย
ลายนกกระจิบ
ลายข้าวหลามตัด
ลายดอกแก้ว
ลายดอกบุนนาค
ลายปี กนก
https://pantip.com/topic/39890086
13

5. ภูมิปัญญาในการสร้างบ้าน การปลูก การรื้อ ความเชื่อ พื้นที่


ใช้สอย

ภาพที่ 4 บ้านของชาวไทยพวนป่ าแดง


(ที่มา: https://www.picuki.com/location/251895819 สืบค้นเมื่อ
วันที่ 25 กันยายน 2565 )
รูปแบบ
สมัยก่อนบ้านไทยพวนจะปลูกเป็ นเรือนสูง มีตงั ้ แต่ ๓ ห้องขึน
้ ไปตาม
ความเหมาะสมของครอบครัว ใต้ถุนเรือนใช้ทำประโยชน์ได้หลายอย่าง
แต่เดิมการปลูกสร้างบ้านเรือน ไม่นิยมจ้างกันแต่จะขอแรงญาติพี่น้อง
และเพื่อนบ้านมาช่วยปลูกสร้างเฉพาะส่วนสำคัญและเมื่อสร้างบ้าน
เสร็จสิน
้ ก็จะต้องมีการขึน
้ บ้านใหม่
การปลูกสร้างบ้านเรือนของคนพวนบ้านป่ าแดง ส่วนใหญ่เป็ นรูปทรง
บ้านไทยสมัยโบราณ โดยเป็ นบ้านยกใต้ถุนสูง มีประตูหน้าต่าง มีนอก
14

ชานเพื่อรับลมในฤดูร้อน ใต้ถุนจะใช้เป็ นที่เลีย


้ งสัตว์ เช่น เป็ ด ไก่ วัว
ควาย หมู หมา บริเวณรอบบ้านจะปลูกต้นไม้ผลและไม้ดอกเป็ นร่มเงา
รัว้ บ้านจะใช้ไม้เสาหลักปั กละปลูกต้นไม้เป็ นรัว้ รอบบริเวณบ้าน ซึง่ ส่วน
ใหญ่จะเป็ นไม้เลื้อยหรือไม้ล้มลุก ที่สามารถกินเป็ นอาหารได้ เช่น
กระถิน ชะอม มะขาม ตำลึง ผักปลัง
https://m.facebook.com/nt/screen/?params=%7B%22note_id%22%3A361235628405050%7D&path=%2Fnotes%2Fnote
%2F&paipv=0&eav=AfbB

ขัน
้ ตอน
แต่เดิมการปลูกสร้างบ้านเรือน ไม่นิยมจ้างกันแต่จะขอแรงญาติพี่น้อง
และเพื่อนบ้านมาช่วยปลูกสร้างเฉพาะส่วนสำคัญและเมื่อสร้างบ้าน
เสร็จสิน
้ ก็จะต้องมีการขึน
้ บ้านใหม่
คติความเชื่อ
ชาวบ้านป่ าแดงมีความเชื่อที่ปะปนกันไปทัง้ แบบผีและแบบพุทธ การ
แสดงความกตัญญูเป็ นสิ่งสำคัญ ในวันสงกรานต์ทุกครอบครัว จะนำอัฐิ
ของพ่อแม่และบรรพบุรุษไปประกอบพิธีบังสุกุลที่วัดพร้อมกันเพื่ออุทิศ
ส่วนบุญส่วนกุศลให้ จะได้เป็ นมงคลแก่ชีวิตของลูกหลาน เพราะในวัน
สงกรานต์เปรียบเสมือนวันปี ใหม่ของไทย ผีของบรรพบุรุษจะได้
คุ้มครองให้มีความสุข ความเจริญ ก้าวหน้าต่อไป ชาวบ้านป่ าแดงจะ
นับถือผีบ้านผีเรือน นับถือผีเจ้าที่ มีการสร้างศาลพระภูมิ ศาลเพียงตา
ให้เจ้าที่สิงสถิตย์ ในหมู่บ้านป่ าแดงจะมีศาลเจ้าพ่อแสงอรุณที่เป็ นที่
เคารพนับถือของชาวบ้านทุกบ้านเรือน ซึง่ เป็ นความเชื่อของชาวบ้าน
เกี่ยวกับผีที่พิทักษ์คุ้มครองหมู่บ้าน ชาวบ้านที่อพยพมาในสมัยรุ่นแรก
15

ๆ ได้ร่วมกันสร้างศาลเจ้าพ่อแสงอรุณขึน
้ เพื่อให้เกิดความเป็ นสิริมงคล
แก่หมู่บ้าน มีการทำพิธีเลีย
้ งเจ้าพ่อแสงอรุณทุกปี โดยกำหนดเลีย
้ งใน
วันขึน
้ 6 ค่ำเดือน 6 ของทุกปี มีเครื่องเช่นไหว้ ส่วนใหญ่เป็ นอาหาร
คาวหวานถวาย เพื่อเป็ นการขอพรให้เจ้าพ่อแสงอรุณช่วยคุ้มครองให้
ฝนตกต้องตามฤดู ให้ผลผลิตข้าวได้จำนวนมาก ๆ ให้ชาวบ้าน
ปราศจากภัยอันตรายทัง้ ปวง ศาลเจ้าพ่อแสงอรุณจึงเปรียบเสมือนศาล
หลักของชาวบ้านป่ าแดง และมีการประกอบพิธีต่อเนื่องจนมาถึง
ปั จจุบัน

6. ภูมิปัญญาความเชื่อ ประเพณี หมอพิธีกรรมแบบต่าง ๆ และวง


รอบชีวิต
กรณีศึกษาเรื่อง ประเพณีกำฟ้ าป่ าแดง

ภาพที่ 5 การเผาข้าวหลามในประเพณีกำฟ้ า
16

(ที่มา: https://www.npy.go.th/travel/.html สืบค้นเมื่อวันที่ 25


กันยายน 2565)
รูปแบบ
จะกำหนดการจัดงานเป็ น 2 วัน คือวันกำต้อน (ขึน
้ 2 คํ่า เดือน 3)
เป็ นวันเตรียมการก่อนวันงาน 1 วัน ทุกคนจะหยุดทำงานกลับมายัง
บ้านเกิดเมืองนอนของตน ตัง้ ศาลพระภูมิบายศรีขอพรจากเทพยดา
โดยจัดเตรียมอาหารคาวหวาน ข้าวปุ ้น (ขนมจีน) เผาข้าวหลาม ไว้
ทำบุญในรุ่งขึน
้ ซึ่งเป็ น “วันกำฟ้ า”
วันกำฟ้ า (ขึน
้ 3 คํ่า เดือน 3) เป็ นวันงาน ตอนเช้ามีพิธีทำบุญใส่บาตรสู่
ขวัญข้าว ตอนกลางวันแสดงการละเล่นพื้นบ้าน เช่น นางกวัก นางด้ง
นางสาก ถ่อเส้า ฯลฯ ตอนเย็นจะนำข้าวปลาอาหารมาร่วมรับประทาน
กัน ปั จจุบันทางราชการ ส่งเสริมให้เป็ นงานประเพณีสำคัญ และเป็ น
แหล่งท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของอำเภอ ระยะเวลาการจัดงานขึน
้ 2 คํ่า
เดือน 3 และขึน
้ 3 คํ่า เดือน ของทุกปี
ขัน
้ ตอน
วันขึน
้ 2 คํ่า ชาวไทยพวนเรียกว่า "วันกำต้อน" ทุกครัวเรือนใน
หมู่บ้านไทยพวน จะพากันหยุดงานตัง้ แต่พระอาทิตย์ขน
ึ ้ จนถึง
พระอาทิตย์ตกดิน เพื่อให้พวกหนุ่มสาวมาช่วยกันตำข้าวเพื่อทำข้าวปุ ้น
(ขนมจีน) ไว้เลีย
้ งดูกัน และทำข้าวจี่ เตรียมไว้สำหรับทำบุญตักบาตร
ตอนเช้าวันรุ่งขึน
้ แต่ในบางท้องถิ่นกจะทำข้าวหลามไว้สำหรับเลีย
้ งดู
แจกญาติพี่น้อง และเอาไว้ทำบุตรตักบาตรในตอนเช้าด้วย สำหรับชาว
17

ไทยพวนบ้านป่ าแดง อำเภอตะพานหิน ในวันกำต้อน บุตรหลานทุก


คนที่ทำงานอยู่ต่างจังหวัด หรือกรุงเทพฯ จะเดินทางกลับมาภูมิลำเนา
เดิมเพื่อร่วมทำบุญและสนุกสนานกับญาติพี่น้องของตน ในวันนีช
้ าว
บ้านจะนำข้าวสารข้าวเหนียว น้ำตาล ไข่ ไปรวมกันที่วัดห้วยเกตุเกษม
(ป่ าแดงเหนือ) เพื่อเข้ามงคลในพิธีสงฆ์ และพิธีพราหมณ์ทำการ
บวงสรวงเทพยดา ก่อนที่จะทำการเผาข้าวหลาม และชาวบ้านป่ าแดง
ในแต่ละคุ้มบ้านจะแต่งกายด้วยชุดผ้าพื้นเมืองแบบสมัยโบราณ หาบ
อาหารคาวหวานมาเลีย
้ งต้อนรับผู้ที่มาร่วมพิธีและรับประทานอาหาร
ร่วมกัน ซึ่งเรียกว่า "งานพาข้าวแลง" จนถึงในเวลากลางคืน หนุ่มสาวก็
พากันไปรวมตัวที่วัด ร่วมร้องรำทำเพลง เล่นกีฬาประเพณีพ้น
ื เมือง
เช่น เตะหมากเบีย
้ ขี่ม้าหลังโกง ถ่อเส้า นางดัง นางกวักและต่อไก่กัน
อย่างสนุกสนาน ทัง้ นีเ้ พื่อเปิ ดโอกาสให้หนุ่มสาวได้พบปะกันทัง้ หมู่บ้าน
ซึ่งตามประเพณีนี ้ เรียกว่า " ไปงันข้าวจี่" ส่วนผู้เฒ่าผู้แก่หรือคนที่มี
ครอบครัวแล้วที่อยู่ภายในครัวเรือน จะเอาไม้ไปเคาะเตาไฟแล้วกล่าว
คำเป็ นมงคลว่า "กำปลอก" กำดีเน้อ ไฮ่บ่หา นาบ่เอา ชกบ่ย้อง ร้องบ่
ตำกำปลอดกำดี กำเหย้ากำเฮือน กำผู้ กำคน กำงัว กำควาย กำหมู
หมา เป็ ดไก่เน้อ" วันขึน
้ 3 คํ่า ซึ่งเป็ น
วันพิธีกำฟ้ า ยังเชื่อกันอีกว่า เสียงฟ้ าร้องจะเป็ นสิง่ บอกเหตุการณ์ใน
อนาคตอีกด้วย เพราะฉะนัน
้ เขาจะคอยฟั งเสียงร้องของฟ้ าว่าจะดังมา
จากทิศไหน เขาถือกันว่า "เสียงฟ้ าร้องก็คือ ฟ้ าเปิ ดประตูนาํ้ " เพื่อให้
ชาวบ้านมีนาํ้ ทำนาปี ต่อไป และทำให้คาดการณ์ล่วงหน้าได้ว่าควรจะ
18

ทำนาช้าหรือเร็วอย่างไรจึงจะเหมาะสมกับฤดูกาลที่จะมาถึงอันใกล้นี ้
เกี่ยวกับเสียงฟ้ าร้อง นีม
้ ผ
ี ู้ปูมทำนายกันต่อ ๆ มา"กำฟ้ า" แยกออกเป็ น
2 ทาง คือ
1. การทำนายเกี่ยวกับอาชีพและความเป็ นอยู่ ฟ้ าร้องทางทิศเหนือ
หรือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทำนายว่า ฝนจะดีทำนาได้ข้าวบริบูรณ์
จะมั่งมีศรีสุข ฟ้ าร้องทางทิศใต้ ทำนายว่า ฝนจะแล้ง นํา้ ท่าไม่บริบูรณ์
การทำนาจะเสียหาย ฟ้ าร้องทางทิศตะวันออก ทำนายว่า ฝนจะตก
ปานกลาง นํา้ บริเวณที่ลุ่มดี นาที่ดอนจะเสียหาย ฟ้ าร้องทางทิศตะวัน
ตก ทำนายว่า จะเกิดแห้งแล้งฝนตกไม่แน่นอน ข้าวจะยาก หมาก จะ
แพง
2. การทำนายเกี่ยวกับอาชีพและเหตุการณ์ ฟ้ าร้องทางทิศเหนือ
ทำนายว่า จะอดข้าว ฟ้ าร้องทางทิศใต้ ทำนายว่า จะอดเกลือ ฟ้ าร้อง
ทางทิศตะวันตก ทำนายว่า จะต้องเอาจา (จอบ) ทำหอก คือจะรบรา
ฆ่าฟั นกัน ฟ้ าร้องทางทิศตะวันออก ทำนายว่า จะต้องเอาหอกทำจา
คือจะอยู่เย็นเป็ นสุข ในวันกำฟ้ านีช
้ าวไทยพวนจะนำอาหารคาวหวาน
พร้อมข้าวหลามไปทำบุญเลีย
้ งพระ และให้พราหมณ์ ในหมู่บ้านทำพิธี
สู่ขวัญจนเสร็จพิธี จากนัน
้ จะมีการละเล่นกีฬาพื้นเมืองขึน
้ อีกครัง้ หนึ่ง
พร้อมกับเลีย
้ งดูญาติพี่น้องที่มาเยี่ยมเยียนก่อนที่จะอำลาเดินทางกลับ
ภูมิลำเนาของตน
19

คติความเชื่อ
จัดงานประเพณีกำฟ้ าขึน
้ ในขึน
้ 3 เดือน 3 คํ่า เพื่อทำการเคารพฟ้ า
หรือการเคารพเจ้าฟ้ ามหากษัตริย์หรือเคารพเทวดาผู้เป็ นใหญ่ ผู้
ศักดิส์ ิทธิบ
์ นฟากฟ้ า และในวันงาน "กำฟ้ า" นีช
้ าวไทยพวนจะเป็ นงาน
วันขึน
้ ปี ใหม่ด้วย ผู้เฒ่าผูแ
้ ก่เล่าสืบกันมาว่า ผู้ใดฝ่ าฝื นทำงานในวัน "กำ
ฟ้ า" จะถูกฟ้ าฝ่ า https://www.npy.go.th/travel/.html
7. ภูมิปัญญาหมอยา สมุนไพร ขัน
้ ตอนการบด ตำ ปั ้ น การจัดการ
รักษา
กรณีศึกษาสูตรยา..............................................

ภาพที่ 6 ...........................

ประโยชน์ในการรักษาโรค
20

...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
องค์ประกอบของสูตรยา
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
ขัน
้ ตอนการทำยาสมุนไพร
21

...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
22

8. ภูมิปัญญาด้านดนตรี รำร้อง การละเล่นพื้นบ้าน


กรณีศึกษาเรื่อง การละเล่นพื้นบ้าน ถ่อส้าว

ภาพที่ 7 การละเล่นพื้นบ้าน ถ่อส้าว

เนื้อเรื่อง (บทเพลง คำร้อง โน๊ตเพลง)


การละเล่นพื้นบ้านของเด็กและผู้ใหญ่ของชาวไทยพวนนิยมเล่น
กันในประเพณีกำฟ้ าหรือเทศกาลต่างๆเพื่อความสนุกสนาน สร้าง
ความสามัคคี และความพร้อมเพรียงกัน โดยจะแบ่งผู้เล่นออกเป็ นสอง
ฝ่ าย ฝ่ ายละ 5 คนหรือตามความเหมาะสม
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการละเล่นบทเพลง คำร้อง
ไม้ไผ่แก่ขนาดใช้มือกำได้ ยาวประมาณ 5 เมตรจำนวน 1 ลำ
วิธีการละเล่นดนตรี รำร้อง การละเล่นพื้นบ้าน
23

วัดความยาวของไม้ไผ่ให้ได้กลิ่นกลาง แล้วทำเครื่องหมาย
กึ่งกลางไม้ไผ่จากกึ่งกลางไม้ไผ่ทำเครื่องหมายด้านซ้าย ดันกว่า เป็ น
เขตแดนของแต่ละฝ่ ายห่างจากกึ่งกลางไม้ไผ่ข้างละ 0.50 เมตร แล้วใช้
ปูนขาวโรยสนามเป็ นเส้นชัยเมื่อทัง้ สองฝ่ ายพร้อมแล้ว กรรมการให้
สัญญาณ ทัง้ สองฝ่ ายจะดันไม้ไผ่เข้าหากันฝ่ ายใดดันไม้ไผ่ให้เส้นแดง
ของตนเองตรงกับเส้นชัยของฝ่ ายของสนาม จะเป็ นฝ่ ายชนะ โดยจะ
แบ่งแดนสลับกัน ชนะกัน 2 ใน 3
9. ภูมิปัญญาด้านอาหารพื้นบ้าน
กรณีศึกษาอาหารคาว ข้าวปุ ้น

ภาพที่ 8 เส้นข้าวปุ ้น

สูตรอาหาร
ส่วนผสม
ข้าวจ้าว
24

แป้ งมัน
เกลือ
วิธีทำ
1 หมักข้าวจ้าวหนึ่งคืนกับน้ำสะอาด
2 นำข้าวที่หมักมาโมจงเป็ นแป้ ง
3 นำแป้ งที่โม่แล้วมาครองด้วยผ้าข้าวบางใช้แต่น้ำแป้ ง
4 นำน้ำแป้ งมาใส่ถุงผ้าแขวนไว้จงน้ำแห้งเหลือแต่แป้ ง
5 นำแป้ งปั ้ นเป็ นก้อนแล้วนำไปต้มในน้ำเดือด
6 นำแป้ งโขลกในครกให้ละเอียด แป้ งมานวดให้อ่อนนิ่ม
7 ใส่เครื่องบีบโรยเป็ นเส้นในน้ำเดือด
8 ตักขึน
้ มาจะเป็ นหัวใส่ภาชนะ

น้ำยากะทิ
พริกแห้งครึ่งขีด สองมะพร้าวขูดหนึ่งกิโลกรัมสามกระเทียมหนึ่งขีดสี
คัน
้ หัวกะทิสองถ้วยหางกะทิแปดถ้วยหาตะไคร้ครึ่งขีดหกน้ำปลาครึ่ง
ถ้วยตวงเจ็ดปลาช่อนหนึ่งกิโลกรัมแปดน้ำปลาหรือกะปิ ครึ่งถ้วยตวง
เก้าหัวหอมแดงหนึง่ ขีดสิบข่าสองช้อนโต๊ะ 11 ขนมจีนสองกิโลกรัมสิบ
สองกระชายห้าขีดสิบสามน้ำสำหรับต้มปลาหกถ้วยตวง
วิธีทำ
หนึ่งเตรียมเครื่องน้ำพริกทัง้ หมด ลงต้มพร้อมน้ำเปล่าพอเดือดใส่ปลา
ที่ล้างแล้วลงต้มให้สุก สองตักเครื่องน้ำพริกและปลาขึน
้ แกะก้างและ
25

หนังโคกเนื้อปลาให้ละเอียดพักไว้สามโขลกเครื่องน้ำพริกที่ตักขึน
้ ไว้ สี่
ใส่น้ำต้มปลากระหลายเครื่องน้ำพริกกรองแต่น้ำพริกคนคนไม่ใช่กร้าก
ทำเช่นนีส
้ องถึงสามครัง้ จนน้ำพริกสีจางฮาเซน้ำพริกกับหัวกะทิตงั ้ ไฟ
พอเดือดใส่เนื้อปลาเติมหางกะทิน้ำน้ำปลาเคี่ยวไฟอ่อน จนน้ำยาเริ่ม
ข้นชิมรส หกรับประทานกับผัก เช่นถั่วงอกผักกาดดองถั่วฝั กยาวผัก
กระเฉดพริกป่ นไข่ต้ม

กรณีศึกษาหารหวาน ข้าวโล้ง

ภาพที่ 9 ขนมข้าวโล้ง
26

สูตรอาหาร
ส่วนผสม
ข้าวเหนียว
มะพร้าวอ่อน
ลูกชิด
กะทิ
น้ำตาลทราย
เกลือ
วิธีทำ
1 นำข้าวเหนียวสาวน้ำล้างให้สะอาดใส่น้ำมากกว่าสองเท่าตัง้ ไฟจง
ข้าวสุก
2 ใส่น้ำตาลทรายมะพร้าวอ่อนลูกชิดชิมรสตามต้องการ
3 ผสมกะทิ เกลือ
4 ตักรับประทานราดด้วยกะทิ

10. การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานภูมิปัญญาสู่ผลิตภัณฑ์
ใหม่
27

ชื่อภูมิปัญญา การทอผ้าป่ าแดง

ภาพที่ 10 ผ้าป่ าแดง

ราคา...........................................
ประโยชน์ในการใช้สอย/วิธีการใช้(คุณค่า)
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
ขัน
้ ตอนการทำ
28

...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................

ชื่อภูมิปัญญาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
ใหม่....................................................................................................
29

ภาพที่ 11 ...........................

ราคา...........................................
ประโยชน์ในการใช้สอย/วิธีการใช้(การเพิ่มมูลค่า)
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
ประโยชน์ในการใช้สอย/วิธีการใช้ (คุณค่า)
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
ขัน
้ ตอนการทำ
30

...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................
...............................................................................................................
........................................................

บรรณานุกรม

You might also like