You are on page 1of 1

Photoluminescence spectroscopy

Horiba scientific Fluromax-4 spectrometer was used to evaluate the emission spectra of m-TRG. The sample preparation was done as in the case of absorption spectra.
3.1. Antibacterial activity
The effect of m-TRG on the log phase cells of the cultures such as Staphylococcus aureus (ATCC 25923) and Escherichia coli (ATCC 52922) was evaluated and the
cultures were treated with m-TRG for 24 h. All the tests were performed in triplicate. The bacterial inoculum was prepared in Luria-Bertani broth (LB broth pH 7.2) and it
was incubated at 37 °C for 8 h, then it was centrifuged at 6000 rpm for 10 min to harvest the bacterial cells and finally pellets were obtained. The pellets were further
washed twice with the isotonic saline solution, thereafter resuspended in isotonic saline solution. The bacterial cell suspension was diluted to obtain cell samples of 107
CFU/ml and this were in- oculated in each 5 ml LB broth and incubated with m-TRG samples at different concentrations (10, 20, 50, 60, 80 and 100 μg ml−1) of 1:10
volume ratio at 37 °C for 8 h under shaker (250 rpm/min). The LB broth containing E. coli and S. aureus without m-TRG were used as control. The cell viability of
bacterial cell in each sample indicated as a per- centage of that of the control. Moreover, the loss of cell viability was evaluated by colony counting method. For this,
100μl of the test samples and the control was spread on the LB agar plate, which was incubated at 37 °C for 24 h. Then, all the plates were visually inspected for the
presence of bacterial growth and the results were recorded. The death rate per hour was calculated using the following equation:
Here, N1 = Number of colonies grown on the control plate N2 = Number of colonies grown on the treated plate
ε% = Death rate of bacteria.

สเปกโตรมิเตอร์ Fluromax-4 ทางวิทยาศาสตร์ของ Horiba ถูกนามาใช้ในการประเมินสเปกตรัมการแพร่ ของ m-TRG ซึ่ง


การเตรี ยมตัวอย่างนั้นทาเช่นเดียวกันกับในกรณี ของสเปกตรัมการดูดกลืน
3.1 ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย
ผลของ m-TRG ต่อระยะเซลล์ล็อกของสิ่ งเพาะเลี้ยง เช่น สแตฟิ โลค็อกคัส แอเรี ยส (ATCC 25923) และ เอสเชอริ เชีย โคไล
(ATCC 52922) ได้รับการประเมิน และเพาะเลี้ยงด้วย m-TRG เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง การทดสอบทั้งหมดนี้ดาเนินการเป็ นสาม
ครั้ง หัวเชื้อแบคทีเรี ยถูกเตรี ยมในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวลูเรี ย-เบอร์ทานี (LB broth pH 7.2) และบ่มที่อุณหภูมิ 37 °C เป็ น
เวลา 8 ชัว่ โมง จากนั้นนาไปใส่ในเครื่ องหมุนเหวี่ยงที่ 6,000 รอบ/นาที เป็ นเวลา 10 นาที เพื่อเก็บเกี่ยวเซลล์แบคทีเรี ย จนได้
เม็ดก้อนเล็กๆ จากนั้นนาเม็ดก้อนเล็กๆที่ได้ไปล้างอีกสองครั้งด้วยน้ าเกลือไอโซโทนิก หลังจากนั้นจึงทิ้งไว้ในสารละลายไอ
โซโทนิก สารที่ถูกหยุดไว้ในเซลล์แบคทีเรี ยถูกเจือจางเพื่อให้ได้ตวั อย่างเซลล์ที่ 107 CFU (Colony forming unit)/มล. และ
ถูกเพาะเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว LB ขนาด 5 มล. และบ่มด้วยตัวอย่าง m-TRG ที่ความเข้มข้นต่างกัน (10, 20, 50, 60, 80
และ 100 ไมโครกรัม) ml−1) ของอัตราส่วนปริ มาตร 1:10 ที่ 37 °C เป็ นเวลา 8 ชัว่ โมงภายใต้เครื่ องปั่น (250 รอบ/นาที)
โดยใช้อาหารเลี้ยงเชื้อเหลว LB ที่มี E. coli และ S. aureus และไม่มี m-TRG เป็ นตัวควบคุม การทางานของเซลล์แบคทีเรี ย
ในแต่ละตัวอย่างระบุเป็ นเปอร์ เซ็นต์ของการควบคุม นอกจากนี้ยงั ประเมินการเสี ยชีวิตของเซลล์โดยวิธีการนับโคโลนี
สาหรับสิ่ งนี้ 100μl ของตัวอย่างทดสอบและกลุ่มควบคุมถูกกระจายบนแผ่นวุน้ LB ซึ่งบ่มที่อุณหภูมิ 37 °C เป็ นเวลา 24
ชัว่ โมง จากนั้น จานจะถูกตรวจสอบด้วยสายตาเพื่อสังเกตว่ามีการเจริ ญเติบโตของแบคทีเรี ยหรื อไม่ และบันทึกผลลัพธ์ที่ได้

อัตราการเสี ยชีวิตต่อชัว่ โมงของเซลล์คานวณได้โดยใช้สมการต่อไปนี้ :


N1 = จานวนโคโลนีที่ปลูกบนจานควบคุม
N2 = จานวนโคโลนีที่ปลูกบนจานที่บาบัด
ε% = อัตราการตายของแบคทีเรี ย

You might also like