You are on page 1of 100

พรบ.ควบคุ ม อาคาร พ.ศ.

2522

อนวัช บูรพาชน
สานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

ควบคุมในเรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
1.การสถาปัตยกรรม ความสวยงาม
ความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง
2.ความมั่งคงแข็งแรงของอาคาร
3.ความปลอดภัยของผู้อาศัยหรือใช้อาคาร
4.การป้องกันอัคคีภัยภายในอาคาร
5.การสาธารณสุขและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
6.การอานวยความสะดวกแก่การจราจร
ฯลฯ

กลไกควบคุม : เป็นกฎหมายที่กระจายอานาจให้ อปท. เป็นผู้ควบคุมให้เป็นไปตามกฎหมาย


ภารกิจด้ านงานอาคาร
กรมโยธาธิการและผังเมืองออกกฎเกณฑ์ ควบคุมและดูแลในภาพรวม

เจ้าของอาคาร อปท. อปท. อปท. อปท.

การ การ การใช้ การตรวจ


ออกแบบ
อนุญาต ก่อสร้างฯ งาน บารุ งรั กษา
เจ้ าของ เจ้ าของ เจ้ าของอาคาร เจ้ าของ เจ้ าของ
อาคาร อาคาร ที่ปรึกษา อาคาร อาคาร
สภาวิศวกร วิศวกร ผู้รับเหมา หน่ วย ผู้ตรวจสอบ
สภาสถาปนิก สถาปนิก ก่ อสร้ าง ราชการ อาคาร
พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535

พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543

พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2550

พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2558


พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535
ประเด็นสาคัญ
1. การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น การยกเลิกหรือแก้ไขข้อบัญญัติท้องถิ่นอานาจของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
2. การแจ้งและรับแจ้งการก่อสร้าง ฯ ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยไม่ใช้วิธียื่นคาขอรับใบอนุญาต
มาตรา 39 ทวิ
3. ระยะเวลาตรวจพิจารณาอนุญาต การสั่งให้แก้ไขแบบของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
4. อาคารควบคุมการใช้ การเปลี่ยนการใช้อาคาร
5. บทกาหนดโทษ
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2543
ประเด็นสาคัญ
1. เขตควบคุมอาคาร
2. อานาจในการออกกฎกระทรวง มาตรา 8 มาตรา 8 ทวิ
3. หมวดว่าด้วยโรงมหรสพ
4. อานาจสั่งแก้ไขอุปกรณ์ประกอบของอาคาร ๆ
5. อานาจในการแต่งตั้งวิศวกรหรือสถาปนิกเป็นนายช่าง
6. การแจ้งเวียนชื่อผู้รับผิดชอบออกแบบและคานวณอาคาร
หรือผู้ควบคุมงาน
1. การตรวจสอบอาคาร ตามมาตรา 32 ทวิ
2. การตรวจสอบงานออกแบบและคานวณ
3. นายช่าง นายตรวจ และผู้ตรวจสอบ
4. บทกาหนดโทษ
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2550
มาตรา 7(8) : ให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงยกเว้น ผ่อนผัน หรือกาหนด
เงื่อนไขในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนเกี่ยวกับ
อาคารที่ กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐ
ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ จัดให้มี หรือพัฒนาเพื่อเป็นที่
อยู่อ าศัยสาหรั บผู้มีร ายได้น้อย ทั้งนี้ ต้ องมิใช่การยกเว้นหรื อผ่อนผันเงื่อนไข
เกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรงและความ ปลอดภัยของอาคารหรือความปลอดภัย
ของผู้ซึ่งอยู่อาศัยหรือใช้อาคาร
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร

พระราชกฤษฎีกาให้ กฎกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น


ใช้บังคับกฎหมาย ข้อกาหนดด้านเทคนิค กฎกระทรวงด้านอื่น

ประกาศกระทรวงมหาดไทย มาตรฐานอ้างถึง
ข้อกาหนดด้านเทคนิค (Referenced Standard)
มยผ. หรือ มาตรฐานที่คณะกรรมการ
แก้ ไขโดยพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร(ฉบับที่5) พ.ศ.2558
ควบคุมอาคารให้การรับรอง
การคานวณออกแบบโครงสร้ างป้าย
มาตรฐานการคานวณแรงลมและการตอบสนองของอาคารของกรมโยธาธิการ
และผังเมือง หรือมาตรฐานที่คณะกรรมการควบคุมอาคารรับรอง
กฎหมายควบคุมอาคารใช้เมือ่ เป็ นอาคารและ
อยูใ่ นกรณีทใ่ี ช้บงั คับกฎหมายได้
1.อยูใ่ นเขตควบคุมอาคาร
2.อยูใ่ นเขตผังเมืองรวมหรือเคย
เป็ นเขตผังเมืองรวม
3.อาคารสูง ขนาดใหญ่พเิ ศษ
อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ
4.อยูใ่ นเขตเพลิงไหม้(ชัวคราว)

การก่อสร้าง ดัดแปลง รือ้ ถอน เคลื่อนย้าย ใช้
อาคารต้องได้รบั อนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิน่
เป็นอาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
อาคารชุมนุมคน หรือ โรงมหรสพ

“โรงมหรสพ”
หมายความว่ าอาคารหรื อ
ส่ วนใดของอาคาร ที่ใช้
เป็ น สถานที่สาหรั บฉาย
“อาคารชุมนุมคน” ภาพยนตร์ แสดงละคร
หมายความว่ า อาคารหรื อ แสดงดนตรี หรื อการ
“อาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ” หมายความว่ า ส่ วนใดของอาคารที่บุคคล แสดงรื่ นเริงอื่นใดและมี
อาคารที่ก่อสร้ างขึน้ เพื่อใช้ พนื ้ ที่อาคาร วัตถุประสงค์ เพื่อเปิ ดให้
อาจเข้ าไปภายใน เพื่อ
หรื อส่ วนใดของอาคารเป็ นที่อยู่อาศัย สาธารณชนเข้ าชมการ
“อาคารสูง” หมายความว่ า หรื อประกอบกิจการประเภทเดียวหรื อ ประโยชน์ ในการชุมนุมคนที่ แสดงนัน้ เป็ นปกติธุระ
อาคารที่บุคคลอาจเข้ าอยู่ หลายประเภท โดยมีพนื ้ ที่รวมกันทุก มีพนื ้ ที่ตงั ้ แต่ 1,000 ตาราง โดยจะมีค่าตอบแทน
หรื อเข้ าใช้ สอยได้ ท่ มี ีความ ชัน้ ในหลังเดียวกันตัง้ แต่ เมตรขึน้ ไป หรื อชุมนุมคนได้
หรื อไม่ กต็ าม
สูงตัง้ แต่ 23 เมตรขึน้ ไป 10,000 ตารางเมตรขึน้ ไป ตัง้ แต่ 500 คนขึน้ ไป
กรอบการใช้ บังคับกฎหมายอาคาร
 ก่ อสร้ าง
 ดัดแปลง
 รื อ้ ถอน ต้ องได้ รับอนุญาต
 เคลื่อนย้ าย จากเจ้ าพนักงาน
 ใช้ หรื อ เปลี่ยนการใช้ ท้ องถิ่น
“เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น” หมายความว่ า
• ผู้ว่าราชการกรุ งเทพมหานครสาหรับในเขตกทม.
• นายกเทศมนตรี สาหรับในเขตเทศบาล
• ประธานกรรมการบริหาร ( นายก ) องค์ การบริหารส่ วนตาบล
สาหรับในเขตองค์ การบริหารส่ วนตาบล
• นายกเมืองพัทยา สาหรับในเขตเมืองพัทยา
• ผู้บริหารท้ องถิ่นขององค์ การบริหารส่ วนท้ องถิ่นอื่นที่รัฐมนตรี
ประกาศกาหนด สาหรับในเขตองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นนัน้
อานาจหน้ าที่ต่าง ๆ ของ
เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
1.การอนุญาตต่ าง ๆ
2.ดาเนินการกรณีฝ่าฝื นกฎหมาย
3.แจ้ งความดาเนินคดีอาญา
4.กรณีเป็ นเขตเพลิงไหม้
5.กรณีอุทธรณ์
6.กรณีเกิดอุบัติภัยกับอาคาร
7.กรณีการตรวจสอบอาคาร
มาตรา 32 อ า ค า ร ค ว บ คุ ม ก า ร ใ ช้
เ มื่ อ ก่ อ ส ร้ า ง เ ส ร็ จ ต้ อ ง ใ ห้
เ จ้ า พ นั ก ง า น ท้ อ ง ถิ่ น ต ร ว จ
รับรองการก่อสร้างก่อนเปิดการ
ใช้อาคาร
คลังสินค้า โรงแรม อาคารชุด หรือสถานพยาบาล
อาคารพาณิชยกรรม ตั้งแต่ 300 ตร.ม.ขึ้นไป
อาคารพาณิชยกรรมประเภทค้าปลีกค้าส่ง ตั้งแต่ 300 ตร.ม.ขึ้นไป
อาคารหอประชุม ตั้งแต่ 300 ตร.ม.ขึ้นไป
อาคารสานักงานหรือที่ทาการ ตั้งแต่ 300 ตร.ม.ขึ้นไป
อาคารสาหรับใช้เพื่อกิจการอุตสาหกรรม
อาคารสาหรับใช้เพื่อกิจการการศึกษา
อาคารหอพัก ที่มีลักษณะเป็นอาคารขนาดใหญ่
อาคารอยู่อาศัยรวม ที่มีลักษณะเป็นอาคารขนาดใหญ่
อาคารสาหรับใช้เก็บวัตถุอันตราย
“มาตรา 32 อาคารประเภทควบคุมการใช้ คือ อาคารดังต่อไปนี ้
(1) อาคารสาหรั บใช้ เป็ น คลังสินค้ า โรงแรม อาคารชุด หรื อ
สถานพยาบาล
(2) อาคารสาหรั บใช้ เพื่อกิจการพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา
การสาธารณสุข หรื อกิจการอื่น ทัง้ นี ้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
เมื่ อ ผู้ ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตให้ ก่ อ สร้ าง ดั ด แปลง หรื อ เคลื่ อ นย้ า ยอาคาร
ประเภทควบคุมการใช้ หรื อผู้แจ้ งตามมาตรา 39 ทวิ ได้ กระทาการดังกล่ าวเสร็ จ
แล้ ว ให้ แ จ้ ง เป็ นหนั ง สื อ ให้ เ จ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่น ทราบตามแบบที่ เ จ้ า พนั ก งาน
ท้ อ งถิ่น ก าหนด เพื่ อท าการตรวจสอบการก่ อสร้ าง ดั ด แปลง หรื อ เคลื่ อ นย้ า ย
อาคารนัน้ ให้ แล้ วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้ รับแจ้ ง
ห้ ามมิให้ บุคคลใดใช้ อาคารนัน้ เพื่อกิจการดังที่ระบุไว้ ในใบอนุญาต หรื อ
ที่ได้ แจ้ งไว้ ตามมาตรา 39 ทวิ ภายในกาหนดเวลาตามวรรคสอง
(ม.32ต่ อ)
ถ้ าเจ้ าพนั กงานท้ องถิ่นได้ ทาการตรวจสอบแล้ วเห็นว่ าการก่ อสร้ าง
ดัดแปลง หรื อเคลื่อนย้ ายอาคารนัน้ เป็ นไปโดยถูกต้ องตามที่ได้ รับใบอนุญาตหรื อ
ที่ได้ แจ้ งไว้ ตามมาตรา 39 ทวิ แล้ ว ก็ให้ ออกใบรั บรองให้ แก่ ผ้ ู ได้ รับใบอนุ ญาต
หรื อผู้ แจ้ งตามมาตรา 39 ทวิ เพื่อให้ มีการใช้ อาคารนั น้ ตามที่ได้ รั บใบอนุ ญาต
หรื อที่ ได้ แจ้ งไว้ ตามมาตรา 39 ทวิ ได้
แต่ ถ้าเจ้ าพนักงานท้ องถิ่นมิได้ ทาการตรวจสอบภายในกาหนดเวลาตาม
วรรคสอง ให้ เจ้ าของหรื อผู้ ครอบครองอาคารนั น้ ใช้ หรื อยินยอมให้ บุคคลใดใช้
อาคารนัน้ เพื่อกิจการดังที่ระบุไว้ ใน
ใบอนุญาตหรื อที่ได้ แจ้ งไว้ ตามมาตรา 39 ทวิ ต่ อไปได้
ห้ ามมิให้ เจ้ าของหรื อผู้ครอบครองอาคารประเภทควบคุมการใช้ ใช้ หรื อ
ยินยอมให้ บุคคลใดใช้ อาคารนั น้ เพื่อกิจการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ ในใบอนุ ญาต
หรื อที่ได้ แจ้ งไว้ ตามมาตรา 39 ทวิ”
ขออนุญาตอย่างไร
1.โดยการยื่นขออนุญาต
ก่อสร้างฯ
2.การแจ้งการก่อสร้างอาคาร ฯ
( มาตรา 39 ทวิ )

“มาตรา 21 ผู้ใดจะก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคาร ต้องได้รับใบอนุญาตจาก


เจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น และดาเนินการตามมาตรา 39 ทวิ”
1.เจ้ าของจัดเตรียม
แบบ และเอกสาร
เจ้าของ

ผู้ออกแบบ คานวณ เขียนแบบ

3. เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น


2. เจ้ าของอาคารยื่น พิจารณาออกใบอนุญาต
คาขอรับใบอนุญาต
เอกสาร แบบแปลน
รายการคานวณ เจ้าพนักงานท้องถิ่น
ในการยื่นขออนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนย้าย ใช้
หรือเปลี่ยนการใช้อาคาร หากแบบแปลนและเอกสารของผู้ยื่นขอ
อนุญาตครบถ้วนและถูกต้องเจ้าพนักงานท้องถิ่นต้องตรวจพิจารณา
และออกใบอนุญาต หรือมีหนังสือแจ้งคาสั่งไม่อนุญาต พร้อมด้วย
เหตุผลให้ผู้ยื่นขออนุญาตทราบภายใน 45 วันนับแต่วันที่ได้รับคาขอ
ในกรณี ที่ มี ค วามจ าเป็ น ที่ เ จ้ า พนั ก งานท้ อ งถิ่ น ไม่ อ าจออก
ใบอนุญาต หรือยังไม่มีคาสั่งไม่อนุญาตภายใน 45 วัน เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่นสามารถขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกิน 2 ครั้ง ๆ ละไม่เกิน 45
วั น แต่ ต้ อ งมี ห นั ง สื อ แจ้ ง การขยายเวลาพร้ อ มด้ ว ยเหตุ ผ ล ให้ ผู้ ยื่ น
ขออนุญาตทราบก่อนที่ระยะเวลาในการขอขยายสิ้นสุดลง
วิธีการแจ้งการก่อสร้าง ฯ ตามมาตรา 39 ทวิ

ยื่นแจ้ง

ชาระค่าธรรมเนียม มาตรา 39 ทวิ

ออกใบรับแจ้ง

ให้แก้ไข
ตรวจข้อมูลเอกสาร
มาตรา 39 ตรี
ตรวจแบบ แจ้งข้อทักท้วง
ไม่เกิน 120 วัน
ไม่ แก้ ไขตามคาสั่ง
25
26
27
“อาคารขนาดใหญ่ พเิ ศษ” หมายความว่ า อาคารที่ก่อสร้ างขึน้
เพื่อใช้ พนื ้ ที่อาคารหรื อส่ วนใดของอาคารเป็ นที่อยู่อาศัยหรื อ
ประกอบกิจการประเภทเดียวหรื อหลายประเภท โดยมีพนื ้ ที่
อาคารสู28ง หมายความว่ า อาคารที่บุคคลอาจเข้ าอยู่ รวมกันทุกชัน้ ในหลังเดียวกันตัง้ แต่
หรื อเข้ าใช้ สอยได้ ท่ มี ีความสูงตัง้ แต่ 23 เมตรขึน้ ไป 10,000 ตารางเมตรขึน้ ไป
29
30
31
32
33
34
กาหนดตามขนาดของพืน้ ทีอ่ าคารส่ วนที่จะทาการก่อสร้ างหรือดัดแปลง
ดังนี้
(1) พืน้ ทีข่ องอาคารขนาดน้ อยกว่ า 10,000 ตารางเมตรให้ กาหนด
อายุใบอนุญาตหนึ่งปี
(2) พืน้ ทีข่ องอาคารขนาดตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตร แต่ ไม่ ถึง
100,000 ตารางเมตรให้ กาหนด อายุใบอนุญาตสองปี
(3) พืน้ ทีข่ องอาคารขนาดตั้งแต่ 100,000 ตารางเมตรขึน้ ไป ให้
กาหนดอายุใบอนุญาตสามปี
- ถ้ าเป็ นการขอต่ ออายุใบอนุญาตครั้งแรก ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
อนุ ญาตให้ ต่ออายุใบอนุ ญาตได้ เป็ นระยะเวลาไม่ เกินอายุใบอนุ ญาต
ตามเกณฑ์ ที่กาหนด
-ในกรณีที่ได้ มีการต่ ออายุใบอนุญาตมาแล้ ว เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นจะ
อนุ ญ าตให้ ต่ อ อายุ ใ บอนุ ญาตได้ ต่ อเมื่ อ ด าเนิ น การก่ อ สร้ า งฐานราก
ทั้งหมดของอาคารแล้ วเสร็ จ หรื อมีการก่ อสร้ างหรื อ ดัดแปลง
โครงสร้ างของอาคารไปแล้ วเกินร้ อยละสิ บของพื้นที่อาคารที่ได้ รับ
อนุญาต โดยจะต่ ออายุใบอนุญาตให้ ได้ อกี ไม่ เกินสามครั้ง ครั้งละ
หนึ่งปี
การต่ ออายุใบอนุญาต
-การต่ ออายุใบอนุญาตก่ อสร้ างอาคารหรือ
ดัดแปลงอาคารทุกครั้ง ผู้ขอต่ ออายุใบอนุญาต
จะต้ อง แก้ ไขแบบแปลนของอาคารให้ มหี รือ
ปรับปรุงระบบการป้องกันอัคคีภยั และระบบ
ความปลอดภัยภายในอาคาร โดยให้ เป็ นไป
ตามกฎหมายทีใ่ ช้ บังคับในขณะยืน่ คาขอต่ ออายุ
ใบอนุญาตนั้น
นายช่ าง นายตรวจ มีหน้ าที่ต่างกันอย่ างไร
ใครมีหน้ าที่ตรวจแบบส่ วนไหน ?
มาตรา 4
“นายตรวจ” หมายความว่ า ผู้ซ่ งึ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นแต่ งตัง้ ให้
เป็ นนายตรวจ
“นายช่ าง” หมายความว่ า ข้ าราชการ หรือ พนักงานซึ่งราชการ
ส่ วนท้ องถิ่นแต่ งตัง้ ให้ เป็ นนายช่ าง หรือวิศวกร หรือสถาปนิก ซึ่ง
อธิบดีกรมโยธาธิการแต่ งตัง้ ให้ เป็ นนายช่ าง
นายช่างตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2524
-ได้รบั ประกาศนี ยบัตรชัน้ สูง (ปวส.) แผนกวิชาช่าง
ก่อสร้าง หรือแผนกวิชาช่างสารวจหรือ แผนกวิชาช่างโยธา
หรือแผนกวิชาช่างเขียนแบบโยธา
- ได้รบั ประกาศนี ยบัตรตามที่ ก.พ. กาหนดว่าใช้เป็ น
คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ งช่างโยธา
- ได้รบั ประกาศนี ยบัตรวิชาช่างตรี ตามหลักสูตรของทาง
ราชการ ซึ่ง ก.พ. ได้รบั รองแล้ว หรือได้รบั อนุญาตให้เป็ น
ผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขา 1 วิศวกรรมโยธา
ตามกฎหมายวิชาชีพวิศวกรรม
- เป็ นนายตรวจตัง้ แต่ ระดับ 3 ขึน้ ไป
นายตรวจตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2524
-ได้รบั ประกาศนี ยบัตรประโยคมัธยมศึกษา
ตอนปลายสายอาชีพ (ปวช.) แผนกวิชา
ก่อสร้างหรือ แผนกวิชาช่างสารวจ หรือ
แผนกวิชาช่างโยธา หรือ แผนกวิชาช่างเขียน
แบบโยธา
- ได้รบั ประกาศนี ยบัตรตามที่ กพ. กาหนด
ว่าใช้เป็ นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ ง
นาย ช่างโยธา 1 หรือเทียบเท่า
การตรวจสอบสถานที่ขออนุญาต
ออกใบนัดหมายเพือ่ ตรวจสอบสถานที่
ตรวจสอบสถานที่ ประกอบเอกสารสิทธิ ์ ผังบริเวณ
แบบแปลน
บันทึกรายงานผลการตรวจสอบ ให้ผขู้ ออนุ ญาตหรือ
ผูแ้ ทนร่วมลงนามรับทราบ
รายละเอียดสาคัญในการตรวจสอบสถานที่
ข้อเท็จจริงต้องมีความถูกต้อง ชัดเจน สอดคล้องกับแบบ
แปลน แผนผังทีย่ น่ื ขออนุญาต
ตรวจสอบสถานที่ ประกอบเอกสารสิทธิ ์ ผังบริเวณ
แบบแปลน
บันทึกรายงานผลการตรวจสอบ ให้ผขู้ ออนุ ญาตหรือ
ผูแ้ ทนร่วมลงนามรับทราบ
การตรวจสอบรายการคานวณ
 ข้อ 9 (5) รายการคานวณ ให้แสดงวิธกี ารตามหลักวิศวกรรมศาสตร์ โดย
คานวณกาลังของวัสดุ การรับน้าหนัก และกาลังต้านทานของส่วนต่าง ๆ ของ
อาคาร
 ข้อ ๑๐ ผูร้ บั ผิดชอบงานออกแบบหรือผูร้ บั ผิดชอบงานออกแบบและคานวณต้อง
ลงลายมือชื่อพร้อมกับเขียนชื่อด้วยตัวบรรจงในแผนผังบริเวณแบบแปลน
รายการประกอบแบบแปลนและรายการคานวณทุกแผ่น และให้ระบุสานักงาน
หรือทีอ่ ยูพ่ ร้อมกับคุณวุฒขิ องผูร้ บั ผิดชอบดังกล่าวไว้ในแผนผังบริเวณ แบบ
แปลน รายการประกอบแบบแปลน และรายการคานวณแต่ละชุดด้วย หรือจะใช้
สิง่ พิมพ์ สาเนา ภาพถ่ายทีผ่ รู้ บั ผิดชอบงานออกแบบ หรือผูร้ บั ผิดชอบงาน
ออกแบบและคานวณได้ลงลายมือชื่อพร้อมกับเขียนชื่อด้วยตัวบรรจง และระบุ
รายละเอียดดังกล่าวแทนก็ได้
 ในกรณีทผ่ี รู้ บั ผิดชอบงานออกแบบหรือผูร้ บั ผิดชอบงานออกแบบและ
คานวณเป็ นผูไ้ ด้รบั ใบอนุ ญาตให้เป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพสถาปตั ยกรรมควบคุม
หรือวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปตั ยกรรมหรือกฎหมาย
ว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรม ให้ระบุเลขทะเบียนใบอนุญาตไว้ดว้ ย
ในกรณี ที่แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน
และรายการคานวณที่ได้ยื่นมาพร้อมกับคาขอรับ
ใบอนุญาตกระทาโดยผูท้ ี่ได้รบั ใบอนุญาตให้เป็ นผู้
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่า
ด้วยวิชาชีพวิศวกร ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นตรวจ
พิจารณาแต่เฉพาะในส่วน ที่ไม่เกี่ยวกับรายการ
คานวณ
การพิจารณาแบบแปลนในการ
อนุญาตของเจ้ าพนักงานท้ องถิ่น
 กฎกระทรวงฉบับที่ 10 (พ.ศ.2528) ว่าด้วยเรื่อง
หลัก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขในการขออนุ ญ าต
การอนุ ญาต การต่ ออายุ ใ บอนุ ญาต การออก
ใบรับรอง การขอรับใบแทนใบอนุญาต หรือใบแทน
ใบรับ รอง และการออกใบแทนใบอนุ ญ าต หรื อ ใบ
แทนใบรับรอง
 “มาตรา 25 ในกรณีที่เป็ นการยื่น ค าขอรั บใบอนุ ญาต ให้ เ จ้ า พนั กงาน
ท้ องถิ่นตรวจพิจารณาและออกใบอนุ ญาตหรื อมี หนังสื อแจ้งคาสั่งไม่
อนุญาตพร้อมด้วยเหตุผล ให้ผขู้ อรับใบอนุญาตทราบภายในสี่ สิบห้าวัน
นับแต่วนั ที่ได้รับคาขอ
ในกรณี มีเหตุจาเป็ นที่ เจ้าพนักงานท้องถิ่นไม่อาจออกใบอนุ ญาต
หรื อยังไม่อาจมีคาสัง่ ไม่อนุญาตได้ภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้
ขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินสองคราว คราวละไม่เกินสี่ สิบห้าวัน แต่
ต้องมี หนังสื อแจ้งการขยายเวลาและเหตุจาเป็ นแต่ละคราวให้ผูข้ อรั บ
ใบอนุ ญาตทราบก่อนสิ้ นกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ งหรื อตามที่ได้ขยาย
เวลาไว้น้ นั แล้วแต่กรณี
ในกรณี ที่ เ จ้า พนั ก งานท้อ งถิ่ น ออกใบอนุ ญ าตหรื อมี ค าสั่ ง ไม่
อนุญาตให้ เจ้าพนักงานท้องถิ่นแจ้งให้ผขู้ อรับใบอนุญาตทราบโดยไม่
ชักช้า”
กฎกระทรวงฉบับที่ 10 (พ.ศ.2528)
ข้อ 1 เจ้าของอาคารผูใ้ ดประสงค์จะขอรับใบอนุญาต
(1) ก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือรือ้ ถอนอาคาร ให้ยน่ื คาขอ
อนุญาตตามแบบ ข.1 พร้อมด้วยเอกสารตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ข.1 ต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่
(2) เคลื่อนย้ายอาคาร ให้ยน่ื คาขออนุญาตตามแบบ ข.2 พร้อมด้วย
เอกสารตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ข.2 ต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ ทีอ่ าคารนัน้ ตัง้ อยู่ เว้นแต่การ
เคลื่อนย้ายอาคารจากท้องทีท่ ไ่ี ม่อยูภ่ ายใต้บงั คับพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร
พ.ศ.2522 ไปยังท้องทีท่ พ่ี ระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ใช้บงั คับ ให้ยน่ื คาขอ
อนุญาตต่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ ในท้องทีท่ อ่ี าคารนัน้ จะย้ายไปตัง้
ผูข้ อรับใบอนุญาตต้องแนบเอกสารเกีย่ วกับแผนผังบริเวณ แบบแปลน
รายการประกอบแบบแปลน ตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ข.1 และ ข.2 จานวนห้าชุดพร้อมกับคา
ขอ สาหรับการขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือเคลื่อนย้ายอาคารทีเ่ ป็ น
อาคารประเภทควบคุมการใช้ตามมาตรา 32 เจ้าพนักงานท้องถิน่ จะประกาศกาหนดให้ผู้
ขอรับใบอนุญาตต้องแนบเอกสารดังกล่าวมากกว่าห้าชุดก็ได้ แต่ตอ้ งไม่เกินเจ็ดชุด
การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือเคลื่อนย้ายอาคาร
เกีย่ วกับอาคารสาธารณะ อาคารพิเศษ หรืออาคารทีก่ ่อสร้างด้วยวัตถุถาวรและวัตถุทนไฟ
เป็ นส่วนใหญ่ ต้องแนบรายการคานวณจานวนหนึ่งชุดพร้อมกับคาขอตาม (1) หรือ (2)
ด้วย
กฎกระทรวงฉบับที่ 10 (พ.ศ.2528)
ข้อ 2 เมื่อเจ้าพนักงานท้องถิน่ ได้รบั คาขอตามข้อ 1 ให้ตรวจ
พิจารณาแผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน
และรายการคานวณ (ถ้ามี) เมื่อปรากฏว่าแผนผังบริเวณ แบบ
แปลน รายการประกอบแบบแปลน และรายการคานวณถูกต้องและ
เป็ นไปตามกฎกระทรวง ข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ และหรือประกาศของ
รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทย ซึ่ ง ออกตามความใน
พระราชบัญ ญัติควบคุม อาคาร พ.ศ.2522 แล้ว ให้เ จ้าพนัก งาน
ท้องถิน่ ออกใบอนุญาตตามแบบ อ.1 หรือแบบ อ.2 แล้วแต่กรณี
..................................
ถ้ าแบบแปลนไม่ถกู ต้ องทาอย่างไร
ออกคาสัง่ ให้ แก้ ไขแบบแปลน ตามอานาจหน้ าที่ตาม
มาตรา 27 ใช้ แบบคาสัง่ ค.1
ถ้ าแก้ ไขไม่ได้ ใช้ แบบ น.2 แจ้ งคาสัง่ ไม่อนุญาต
“มาตรา 27 ในการตรวจพิจารณาคาขอรั บใบอนุ ญาต ให้ เจ้ าพนั กงานท้ องถิ่นมี
อานาจสั่ ง ให้ ผ้ ู ข อรั บ ใบอนุ ญ าตแก้ ไ ขเปลี่ ยนแปลงแผนผั ง บริ เ วณ แบบแปลน
รายการประกอบแบบแปลน หรื อรายการคานวณที่ได้ ย่ ืนไว้ เพื่อให้ ถูกต้ องและ
เป็ นไปตามกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา 8 หรื อข้ อบัญญัติท้องถิ่นที่ออกตาม
มาตรา 9 หรื อมาตรา 10 และให้ นามาตรา 25 วรรคสาม มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
เมื่อผู้ขอรั บใบอนุ ญาตได้ แก้ ไขเปลี่ยนแปลงแผนผังบริ เวณ แบบแปลน
รายการประกอบแบบแปลน หรื อ รายการค านวณตามค าสั่ ง ของเจ้ า พนั ก งาน
ท้ องถิ่นแล้ ว ให้ เจ้ าพนักงานท้ องถิ่นตรวจพิจารณาและออกใบอนุ ญาตให้ ภายใน
สามสิบวัน แต่ ถ้าผู้ขอรั บใบอนุ ญาตได้ แก้ ไขเปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญผิดจาก
คาสั่ งของเจ้ าพนั กงานท้ องถิ่น ในกรณี นี ใ้ ห้ ถือว่ าเป็ นการยื่นคาขอใหม่ และให้
ดาเนินการตามมาตรา 25 ต่ อไป”
(“มาตรา 27” แก้ ไขโดย พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 มาตรา 9)
กฎกระทรวงฉบับที่ 10 (พ.ศ.2528)
 ข้อ 9 แผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลนและรายการ
คานวณต้องเป็ นสิง่ พิมพ์ สาเนา ภาพถ่าย หรือเขียนด้วยหมึก และต้อง
เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ และเงือ่ นไข ดังต่อไปนี้
(1) มาตราส่วน ขนาด ระยะ น้าหนัก และหน่วยการคานวณต่าง ๆ
ให้ใช้มาตราเมตริก
ข้อ 9 (ต่อ) (2) แผนผังบริเวณให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 ใน 500 แสดงลักษณะทีต่ งั ้ และขอบเขต
ของทีด่ นิ และอาคารทีข่ ออนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รือ้ ถอน เคลื่อนย้าย เปลีย่ นการใช้ ดัดแปลงหรือใช้ท่ี
จอดรถ ทีก่ ลับรถ และทางเข้าออกของรถเพือ่ การอื่น และขออนุญาตก่อสร้างพืน้ ทีห่ รือสิง่ ทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ใช้
เป็ นทีจ่ อดรถ ทีก่ ลับรถ และทางเข้าออกของรถ แทนของเดิม พร้อมด้วยรายละเอียด ดังนี้
(ก) แสดงขอบนอกของอาคารทีม่ อี ยูแ่ ล้ว
(ข) ระยะห่างจากขอบนอกของอาคารทีข่ ออนุญาตถึงขอบเขตของทีด่ นิ ทุกด้าน
(ค) ระยะห่างระหว่างอาคารต่าง ๆ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว และอาคารทีข่ ออนุญาตในขอบเขตของทีด่ นิ
(ง) ลักษณะและขอบเขตของทีส่ าธารณะและอาคารในบริเวณทีด่ นิ ทีต่ ดิ ต่อโดยสังเขปพร้อมด้วย
เครือ่ งหมายทิศ
(จ) ในกรณีทไ่ี ม่มที างน้าสาธารณะสาหรับการขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือ
เคลื่อนย้ายอาคาร ให้แสดงทางระบายน้าออกจากอาคารไปสูท่ างระบายน้าสาธารณะหรือวิธกี ารระบายน้า
ด้วยวิธอี ่นื พร้อมทัง้ แสดงเครือ่ งหมายชีท้ ศิ ทางน้าไหลและส่วนลาด
(ฉ) แสดงระดับของพืน้ ชัน้ ล่างของอาคารและความสัมพันธ์กบั ระดับทางหรือถนนสาธารณะที่
ใกล้ทส่ี ุดและระดับพืน้ ดิน
(ช) แผนผังบริเวณสาหรับการเคลื่อนย้ายอาคารให้แสดงแผนผังบริเวณของอาคารทีม่ อี ยูเ่ ดิม
และให้แสดงแผนผังบริเวณทีจ่ ะทาการเคลื่อนย้ายอาคารไปอยูใ่ นทีใ่ หม่ให้ชดั เจน
แผนผังบริเวณสาหรับอาคารตามมาตรา 4 เว้นแต่ตกึ บ้าน เรือน โรง ร้าน แพ คลังสินค้า
สานักงานและสิง่ ทีส่ ร้างขึน้ อย่างอื่นซึง่ บุคคลอาจเข้าอยูห่ รือเข้าใช้สอยได้ให้แสดงรายละเอียดตาม (ก)
(ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) หรือ (ช) เท่าทีจ่ ะต้องมีตามลักษณะของอาคารนัน้ ๆ
 ข้อ 9 (ต่อ) (3) แบบแปลนให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 ใน 100 โดยต้องแสดงรูปต่าง ๆ คือแปลน
พืน้ ชัน้ ต่าง ๆ รูปด้าน (ไม่น้อยกว่าสองด้าน) รูปตัดทางขวาง รูปตัดทางยาว ผังคานรับพืน้ ชัน้ ต่าง ๆ
และ ผังฐานรากของอาคารทีข่ ออนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รือ้ ถอน เคลื่อนย้าย เปลีย่ นการใช้ หรือ
ดัดแปลงหรือใช้ทจ่ี อดรถ ทีก่ ลับรถ และทางเข้าออกของรถเพือ่ การอื่น พร้อมด้วยรายละเอียด ดังนี้
(ก) แบบแปลนต้องมีรปู รายละเอียดส่วนสาคัญ ขนาด เครือ่ งหมาย วัสดุ และการใช้สอยต่าง
ๆ ของอาคารอย่างชัดเจนเพียงพอทีจ่ ะพิจารณาตามกฎกระทรวงข้อบัญญัตทิ อ้ งถิน่ หรือประกาศของ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยซึง่ ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ.2522
(ข) แบบแปลนสาหรับการก่อสร้างอาคาร ให้แสดงส่วนต่าง ๆ ของอาคารทีจ่ ะก่อสร้างให้
ชัดเจน
(ค) แบบแปลนสาหรับการดัดแปลงอาคาร ให้แสดงส่วนทีม่ อี ยูเ่ ดิมและส่วนทีจ่ ะดัดแปลงให้
ชัดเจน
(ง) แบบแปลนสาหรับการรือ้ ถอนอาคาร ให้แสดงขัน้ ตอน วิธกี ารตลอดจนความปลอดภัยใน
การรือ้ ถอนอาคาร
(จ) แบบแปลนสาหรับการเคลื่อนย้ายอาคาร ให้แสดงขัน้ ตอนวิธกี าร ความมันคงแข็
่ งแรง
ตลอดจนความปลอดภัยในการเคลื่อนย้ายอาคาร
........................................
วิธีการแจ้งการก่อสร้าง ฯ ตามมาตรา 39 ทวิ ใหม่
ยื่นแจ้ง

ชาระค่าธรรมเนียม มาตรา 39 ทวิ


ภายใน 1 วัน

ออกใบรับแจ้ง

ให้แก้ไข
ตรวจข้อมูลเอกสาร
ไม่เกิน 7 วัน
มาตรา 39 ตรี
ตรวจแบบ แจ้งข้อทักท้วง
ไม่เกิน 120 วัน
ไม่ แก้ ไขตามคาสั่ง
อานาจหน้ าที่ของเจ้ าพนักงานท้ องถิน่
กรณีมีการฝ่ าฝื นกฎหมาย
(มาตรา 40 - 49 ทวิ)
ก่อสร้าง กรณีมีการฝ่ าฝื นกฎหมาย
ดัดแปลง
โดยไม่ได้รับ
อนุญาต
ก่อสร้าง *ขอให้ศาลสั่ง
ดัดแปลงผิด
จากที่ได้รับ จับกุม คุมขัง
อนุญาต
*แก้ไข *รื้อถอน
*ระงับ *รื้อถอนได้เอง
*ห้ามใช้ *ยื่นคาขอ
ม.40
ม.40 (1) ม.41 ม.42 ม.43
ม.40(2) ขั้นตอนการออกคาสั่ง
ฝ่าฝืนมีโทษทางอาญา
ขั้นตอนการดาเนินคดีอาญา
 ตรวจสอบว่ามีการกระทาความผิดฐานใด
บทกาหนดโทษ มาตรา 65-74
 เจ้าพนักงานท้องถิ่นแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงาน

สอบสวน
 ส่งเอกสารหลักฐานให้ถ้อยคาข้อเท็จจริงการกระทา

ความผิดต่อพนักงานสอบสวน
 ติดตามผลการดาเนินคดีอาญาจนกว่าคดีจะถึงที่สุด
กรณีก่อสร้ าง ดัดแปลงโดยฝ่ าฝื นกฎหมาย
1. สั่ งระงับการกระทา ( มาตรา 40 ( 1 ) )
2. สั่ งห้ ามใช้ อาคาร ( มาตรา 40 ( 2 ) )
3. สั่ งอย่ างใดอย่ างหนึ่ง ภายใน 30 วัน นับแต่ วนั สั่ ง
ตาม 1 ( มาตรา 40 ( 3 ) )
กรณีก่อสร้ าง ดัดแปลงโดยไม่ ได้ รับอนุญาต
( ฝ่ าฝื นมาตรา 21 )
ไม่ มีส่วนขัดกฎหมาย สั่ งให้
สั่ งระงับการกระทา ค. 3
ขออนุญาต ค.9 มาตรา 41 แก้ไขได้ สั่ งให้ แก้ไข
( มาตรา 40 ( 1 ) )
มีส่วนขัดกฎหมายแต่ แก้ไข และหรือให้ ขออนุญาต
สั่ งห้ ามใช้ อาคาร ค. 4 ได้ สั่ งให้ แก้ไขและขอ แล้วไม่ ปฏิบัติ สั่ งให้
( มาตรา 40( 2 ) ) อนุญาต ค.10 มาตรา 41 รื้อถอน ค.15
มาตรา 42
มีส่วนขัดกฎหมาย แก้ไข
ไม่ ได้ สั่ งให้ รื้อถอน ค.7
มาตรา 42
กรณีก่อสร้ าง ดัดแปลงผิดจากแบบทีไ่ ด้ รับอนุญาต
( ฝ่ าฝื นมาตรา 31 )
ไม่ มีส่วนขัดกฎหมาย สั่ งให้
สั่ งระงับการกระทา ค. 5
ขออนุญาต ค.11 มาตรา 41 แก้ไขได้ สั่ งให้ แก้ไข
( มาตรา 40 ( 1 ) )
มีส่วนขัดกฎหมายแต่ แก้ไข และหรือให้ ขออนุญาต
สั่ งห้ ามใช้ อาคาร ค. 6 ได้ สั่ งให้ แก้ไขและขอ แล้วไม่ ปฏิบัติ สั่ งให้
( มาตรา 40( 2 ) ) อนุญาต ค.12 มาตรา 41 รื้อถอน ค.15
มาตรา 42
มีส่วนขัดกฎหมาย แก้ไข
ไม่ ได้ สั่ งให้ รื้อถอน ค.8
มาตรา 42
ทาถูกป่ าว
ข้อ 41
อาคาร ค.ส.ล. ๔ ชัน้ ๑,๙๙๖ ตารางเมตร สูง ๑๔.๗๐ เมตร
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ฯ
ประกอบด้วย
 ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็ นประธานกรรมการ
 อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เป็ นกรรมการ
 ผู้แทนหน่ วยงานอื่น อีก 4 หน่ วยงานเป็ นกรรมการ ได้ แก่ สานั กงาน
อัย การสู ง สุ ด ส านั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า สภาสถาปนิ ก สภา
วิศวกร
 ผู้ทรงคุ ณวุฒิที่รัฐมนตรี แต่ งตั้งไม่ เกิน 6 คน ซึ่ งรั ฐมนตรี แต่ งตั้งเป็ น
กรรมการ
 ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการควบคุมอาคาร เป็ นกรรมการและ
เลขานุการ
5.อานาจหน้ าที่กรณีอทุ ธรณ์
มาตรา 52
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ในเขตเทศบาล เขตเมืองพัทยา
หรือเขตราชการส่ วนท้ องถิ่น ประกอบด้ วย
1. ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็ นประธาน
2. อัยการจังหวัด เป็ นกรรมการ
3. กรรมการอื่นอีกไม่ เกิน 6 คน ซึ่งปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่ ง
ตัง้ ในจานวนนีใ้ ห้ มีกรรมการจากภาคเอกชนไม่ น้อยกว่ า 2 คน
โดยมีโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเป็ นเลขานุการ
ขั้นตอนการพิจารณาอุทธรณ์

ผู้ซึ่งได้รับคาสั่งจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น สามารถอุทธรณ์คาสั่ง ฯ
ได้ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับคาสั่ง
เจ้าพนักงานท้องถิ่นต้องจัดส่งคาอุทธรณ์ และเอกสารหลักฐานที่
เกี่ยวข้องทั้งหมดไปยังคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายใน 10 วัน
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์จะพิจารณาภายใน 60 วันหลังจาก
ที่ได้รับเรื่อง อุทธรณ์ แล้วจะแจ้งผลการวินิจฉัยให้ผู้อุทธรณ์ทราบ
ถ้าผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เสนอคดีต่อศาล
ภายใน 30วัน หลังจากที่ได้รับแจ้งคาวินิจฉัยอุทธรณ์
การดาเนินการกรณีเหตุเพลิงไหม้อาคาร
“เขตเพลิงไหม้” หมายความว่า บริเวณที่เกิดเพลิงไหม้
อาคาร ตั้งแต่ 30 หลังคาเรือนขึ้นไป หรือมีเนื้อที่ตั้งแต่หนึ่งไร่ขึ้นไป
รวมทั้งบริเวณที่อยู่ติดต่อภายในระยะ 30 เมตร โดยรอบบริเวณที่เกิด
เพลิงไหม้ด้วย

กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
การดาเนินการกรณีเหตุเพลิงไหม้อาคาร
“เขตเพลิงไหม้” หมายความว่า บริเวณที่เกิดเพลิงไหม้อาคาร ตั้งแต่ 30
หลังคาเรือนขึ้นไป หรือมีเนื้อที่ตั้งแต่หนึ่งไร่ขึ้นไป รวมทั้งบริเวณที่อยู่ติดต่อ
ภายในระยะ 30 เมตร โดยรอบบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ด้วย
ถ้าเหตุเพลิงไหม้นั้นเข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะ
ติดประกาศแสดงเขตเพลิงไหม้พร้อมแผนที่สังเขปไว้ ณ สานักงานของราชการ
ส่วนท้องถิ่นนั้น และบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ และระบุการกระทาอันต้องห้ามไว้
ในประกาศดังกล่าวภาย ใน 45 วันนับแต่วันที่เกิดเพลิงไหม้
เจ้าพนักงานท้องถิ่นจะต้องพิจารณาว่าสมควรปรับปรุงเขตเพลิงไหม้
หรือไม่โดยคานึงถึงประโยชน์ในการป้องกันอัคคีภัย ฯลฯ และเสนอความเห็น
ให้ ค ณะกรรมการควบคุ ม อาคารและรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทย
พิจารณาภายใน 45 วัน นับแต่วันที่เกิดเพลิงไหม้
80
การพิจารณาการปรับปรุงเขตเพลิงไหม้
1. กรณีที่ไม่ปรับปรุงเขตเพลิงไหม้
2. กรณีที่ปรับปรุงเขตเพลิงไหม้

กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
82
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
83
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
84
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
85
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
86
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
87
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
88
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
89
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
90
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
91
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
92
93
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
อาคารขนาดใหญ่ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ และอาคารสูง

94
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
95
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
96
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
97
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
98
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
99
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
Thank you

Mr.Anawat Buraphachon
Civil engineer expert level 081-835-5762
Building Control Bureau 02- 299-4348
anawat.bu@hotmail.com

You might also like