You are on page 1of 297

คู่มือ

คู่มือกำรปรับปรุงประสิทธิภำพกำรใช้พลังงำนในระบบหม้อไอน้ำ 2559
หม้อไอนำ้

บริษทั เอ็นเนอร์ยี่ คอนเซอร์เวชั ่น เทคโนโลยี่ จำกัด


11/6 ซอยอินทำมระ 40 ถนนสุทธิสำรวินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง
กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2691-9533-4 โทรสำร 0-2691-9535
Mail : econccmail@gmail.com www.energy-conservationtech.net
คํานํา
คู่ มื อ เล่ ม นี้ เป็ นอี ก ตัว ช่ ว ยหนึ่ งที่ จ ะนํา ท่ า นไปสู่ เส้ น ทางการลดการใช้
พลังงานความร้อนสําหรับสถานประกอบการที่ มีการใช้งานระบบหม้อไอนํ้า ซึ่ งเป็ น
ส่ ว นหนึ่ งของหลัก สู ต ร “การพัฒ นาบุ ค ลากรเพื่ อ การปรั บ ปรุ งประสิ ท ธิ ภ าพการใช้
พลังงานในระบบหม้อไอนํ้า” ได้รับการพัฒนาโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงใน
ด้านระบบหม้อไอนํ้าหลายท่าน และได้ทาํ การพัฒนาเนื้ อหาวิชาจากหลักสู ตรต่างๆ มี
เป้ าหมายเพื่อให้บุคลากรที่ใช้และควบคุมหม้อไอนํ้า สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการ
ตรวจวิ เคราะห์ ก ารอนุ รั ก ษ์ พ ลัง งานได้จ ริ ง อ่ า นง่ า ย เข้า ใจง่ า ย โดยใช้ โ ปรแกรม
Microsoft Excell ช่ ว ยในการวิ เคราะห์ ห าดัช นี ก ารใช้พ ลัง งาน และผลการประหยัด
พลังงานจากอุ ป กรณ์ ต่ างๆ ในระบบหม้อ ไอนํ้า เพื่ อ จัด พิ ม พ์น ําเสนอผูบ้ ริ ห าร และ
ผูเ้ กี่ ยวข้องได้โดยสะดวก นอกจากนั้นยังประกอบด้วย ตารางการตรวจวินิจฉัยเพื่อหา
แนวทางการอนุ รักษ์พลังงาน ตารางสมการวิเคราะห์พลังงานและประสิ ทธิ ภาพ ตาราง
ค่าความร้อนทางตํ่าของเชื้อเพลิง และตารางแนะนําการใช้และการบํารุ งรักษาอุปกรณ์ที่
ใช้พลังงานในระบบหม้อไอนํ้า

ทั้งนี้ คู่มือ ได้ถูกออกแบบให้มีขนาดเล็กเพื่อให้ง่ายต่อการพกพาและการใช้


งานจริ งขณะปฏิ บตั ิ งานในสถานประกอบการ จึงได้ทาํ การสรุ ปเนื้ อหาเฉพาะที่ สําคัญ
แบ่งเป็ นจํานวน 5 บท ดังนี้ บทที่1 ความรู ้พ้ืนฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอนํ้า
และระบบส่ งจ่าย, บทที่ 2 แนวทางการปรับ ปรุ งประสิ ท ธิ ภาพการผลิ ตและใช้ไอนํ้า,
บทที่ 3 การตรวจวินิ จ ฉัยและการบํารุ งรั กษาเพื่ อ การอนุ รัก ษ์พ ลังงาน, บทที่ 4 แนว
ทางการอนุ รั ก ษ์ พ ลัง งาน และการตรวจวิ เคราะห์ ม าตรการอนุ รั ก ษ์ และบทที่ 5
กรณี ศึกษาที่ประสบสําเร็ จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

สุ ดท้ายนี้ สํานักพัฒนาทรัพยากรบุ ค คลด้านพลังงาน กรมพัฒ นาพลังงาน


ทดแทนและอนุ รั ก ษ์พ ลัง งานกระทรวงพลังงาน หวัง เป็ นอย่างยิ่ง ว่า คู่ มื อ ฉบับ นี้ จะ
สามารถนําไปใช้ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในการอนุ รักษ์พลังงานในระบบ
หม้อไอนํ้าอย่างยัง่ ยืนต่อไป
สารบัญ
หน้ า
บทที่ 1 ความรู้ พืน้ ฐานด้ านการอนุรักษ์ พ ลังงานในหม้ อไอนํา้ และระบบส่ งจ่ าย 1-74
1.1 ประเภทของหม้อไอนํ้า 5
1.1.1 หม้อไอนํ้าประเภทท่อไฟ (Fire-tube or Shell Boiler) 5
1.1.2 หม้อไอนํ้าประเภทท่อนํ้า (Water-tube Boiler) 9
1.1.3 หม้อไอนํ้าแบบอื่น ๆ 13
1.2 อุปกรณ์ประกอบในระบบหม้อไอนํ้า 16
1.2.1 อุปกรณ์ในระบบนํ้าป้อน 16
1.2.2 อุปกรณ์ในระบบเชื้อเพลิง 18
1.2.3 อุปกรณ์ในระบบเผาไหม้ 22
1.2.4 อุปกรณ์ในระบบอากาศ 25
1.2.5 อุปกรณ์ในระบบวัดและควบคุมความดันไอนํ้า 26
1.2.6 อุปกรณ์ในระบบท่อไอนํ้า 28
1.2.7 อุปกรณ์ที่ใช้ไอนํ้า 29
1.2.8 อุปกรณ์ในระบบระบายนํ้าออกจากหม้อนํ้า หรื อระบบโบลว์ดาวน์ 30
1.2.9 อุปกรณ์ในระบบจัดการคอนเดนเสท 31
1.3 อุปกรณ์เผาไหม้เชื้อเพลิงของหม้อไอนํ้า 35
1.3.1 การเผาไหม้เชื้อเพลิงก๊าซ 35
1.3.2 การเผาไหม้เชื้อเพลิงเหลว 36
1.3.3 การเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็ง 50
1.4 การเผาไหม้เบื้องต้น 57
1.4.1 ปฏิกิริยาเคมีการเผาไหม้ทฤษฎี 59
1.4.2 อากาศตามทฤษฎี (Theoretical air) 60
สารบัญ
หน้ า
1.4.3 อากาศส่ วนเกิน (Excess Air) 61
1.4.4 จะสังเกตอย่างไรว่าการเผาไหม้เหมาะสมหรื อไม่ 63
1.5 ผลิตและใช้ไอนํ้าให้ประหยัดพลังงาน 64
1.5.1 การหาดัชนีการใช้พลังงาน และเกณฑ์เปรี ยบเทียบ 66
1.5.2 การเดินหม้อไอนํ้าให้เหมาะสมกับความต้องการใช้ไอนํ้า 73
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุงประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ ไอนํา้ 1-106
2.1 แนวทางการปรับปรุ งในส่ วนผลิตไอนํ้า (หม้อไอนํ้า) 1
2.1.1 การตรวจวิเคราะห์หม้อไอนํ้า 1
2.1.2 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพหม้อไอนํ้า 9
2.1.3 การผลิตไอนํ้าที่มีความดันเหมาะสม 38
2.1.4 ข้อควรปฏิบตั ิในการใช้หม้อไอนํ้า 42
2.2 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพระบบส่ งจ่ายไอนํ้า 44
2.2.1 การลดการสู ญเสี ยความร้อนจากผิวท่อไอนํ้า 44
2.2.2 การคํานวณการสู ญเสี ยความร้อนของท่อ 48
2.2.3 การสู ญเสี ยจากการรั่วไหลของไอนํ้า 55
2.2.4 การสู ญเสี ยความดันในระบบส่ งจ่ายไอนํ้า 58
2.3 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพอุปกรณ์ใช้ไอนํ้า 64
2.3.1 กับดักไอนํ้า 65
2.4 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพระบบคอนเดนเสท 86
2.4.1 การใช้คอนเดนเสท 86
2.4.2 การนําไอนํ้าแฟลชกลับมาใช้ 97
สารบัญ
หน้ า
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบํารุงรักษาเพื่อการอนุรักษ์ พ ลังงาน 1-15
3.1 การตรวจวินิจฉัยเพื่อหาแนวทางการอนุรักษ์พลังงาน 1
3.2 การบํารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 11
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์ พ ลังงาน และการตรวจวิเคราะห์ มาตรการอนุรักษ์ 1-31
พลังงาน
4.1 แนวทางการอนุรักษ์พลังงาน 1
4.2 การตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4
บทที่ 5 กรณีศึกษาทีป่ ระสบผลสํ าเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์ พ ลังงาน 1-45
5.1 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสําเร็ จ 1
5.2 เทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน 9
5.2.1 การใช้ปั๊มความร้อนสําหรับการทําความร้อน 9
5.2.2 การปรับสมดุลการใช้หม้อนํ้า 16
5.2.3 ระบบควบคุมแรงดันไอนํ้า 18
5.2.4 ระบบควบคุมการระบายนํ้าทิ้งของหม้อไอนํ้า 20
5.2.5 กับดักไอนํ้าแบบแจ้งเตือนอัตโนมัติ 23
5.2.6 หม้อไอนํ้าลูกผสม 25
5.2.7 หม้อไอนํ้าแบบ Once-Through 27
5.2.8 Coal Water Mixture (CWM) 29
5.2.9 การใช้อุปกรณ์ตวั เร่ งปฏิกิริยาแบบ Contact Catalyst 33
5.2.10 การใช้สารลดแรงยึดเหนี่ยวโมเลกุล 35
5.2.11 หัวเผาเม็ดพลาสติก 36
5.2.12 การควบคุมการเผาไหม้อตั โนมัติ 38
สารบัญ
หน้ า
5.2.13 เครื่ องอุ่นนํ้าป้อนแบบ Tube & Fin 40
5.2.14 เครื่ องอุ่นนํ้าป้อนแบบสัมผัสตรง 43
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

บทที่ 1 1
ความรู้ พืน้ ฐานด้ านการอนุรักษ์ พลังงานในหม้ อไอนา้ และระบบส่ งจ่ าย

หม้ อไอน้ า เป็ นอุ ป กรณ์ ส าหรั บ ผลิ ต ไอน้ า เพื่ อ น าไอน้ าไปใช้
ประโยชน์ในโรงงานอุตสาหกรรมด้านต่างๆโดยสามารถผลิตไอน้ าได้ท้ งั
ปริ มาณและความดันที่ ตอ้ งการ ดังนั้นหม้อน้ า จึ งมี หลายแบบตามความ
เหมาะสมกับการใช้งาน เช่ น ไอน้ าอิ่ มตัว (Saturated Steam) จะใช้ในการ
ถ่ ายเทความร้ อ น (Heat Transfer) ในกระบวนการผลิ ต และไอน้ ายิ่งยวด
(Superheat Steam) ซึ่ งมี อุณ หภู มิแ ละความดัน สู งจะใช้เป็ นต้น กาลัง เช่ น
ขับเครื่ องกังหันไอน้ าเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้ า เป็ นต้น คาจากัดความของ
หม้ อ น้ าตามกฏกระทรวงอุ ต สาหกรรม เรื่ องก าหนดมาตรการความ
ปลอดภัยเกี่ ยวกับหม้อน้ า หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็ นสื่ อนาความร้อนและ
ภาชนะรับแรงดันในโรงงาน พ.ศ. 2549 ระบุ ว่า หม้อน้ า หมายถึง ภาชนะ
ปิ ดสาหรับบรรจุน้ าที่มีปริ มาณความจุเกิน 2 ลิตรขึ้นไป เมื่อได้รับความร้อน
จากการสันดาปของเชื้อเพลิงหรื อแหล่งพลังงานความร้อนอื่น น้ าจะเปลี่ยน
สถานะกลายเป็ นไอน้ าภายใต้ค วามดัน มากกว่ า 1.5 เท่ า ของความดัน
บรรยากาศที่ ระดับน้ าทะเล หรื อภาชนะปิ ดส าหรั บบรรจุ น้ าซึ่ งใช้ในการ
ผลิตน้ าร้อนที่มีพ้นื ที่ผวิ รับความร้อนตั้งแต่ 8 ตารางเมตรขึ้นไป
ระบบไอน้ าเป็ นระบบที่มีการใช้งานในสถานประกอบการที่มีการใช้
พลังงานความร้อนจากไอน้าที่สูงกว่ า 100OC โดยระบบไอน้ าประกอบด้วย
อุ ป กรณ์ แ ละระบบย่อ ยต่ างๆ ได้แ ก่ (1) หม้อ ไอน้ า (2) ระบบส่ งจ่ ายไอน้ า
(3) ระบบนากลับไอน้ าควบแน่น (คอนเดนเสท) และ (4) อุปกรณ์ใช้ไอน้ า

หน้า 1 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ระบบส่งจ่ายไอน้ า ไอน้ า
1
อุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ า
ก๊าซร้อนทิ้ง
น้ าเลี้ยงเย็น น้ าควบแน่น

เครื่ องอุ่นน้ าเลี้ยง


ระบบนากลับน้ า
หม้อไอน้ า
น้ าร้อน ควบแน่
ถังนน้ าเลี้ยง

ปั มน้ า

รู ปที่ 1-1 ระบบไอน้ าและการทางานของหม้อไอน้ า

น้ าป้ อนที่ มีอุณหภูมิต่าจะถูกเครื่ องสู บน้ าป้ อนส่ งน้ าไปยังหม้อไอน้ า


เพื่อรั บความร้ อนจากก๊าซเผาไหม้และกลายเป็ นไอน้ า ไอน้ าที่ ผลิ ตขึ้ นจะ
ผ่านระบบท่อส่ งจ่ายไอน้ าไปยังอุปกรณ์ใช้ไอน้ า แล้วเกิดการควบแน่นเป็ น
ของเหลว (คอนเดนเสท) ผ่านกับดักไอน้ า ซึ่ งน้ าคอนเดนเสทที่ มีอุณหภูมิ
สู งจะไหลผ่านท่ อ คอนเดนเสทกลับ ไปยังถังน้ าเลี้ ย งเพื่ อ รวมกับ น้ าเติ ม
ก่อนที่จะส่ งไปยังหม้อไอน้ าและผลิตเป็ นไอน้ าต่อไป
ก๊าซร้อนจากกระบวนการเผาไหม้ เมื่อถ่ายเทความร้อนให้กบั น้ าแล้ว
จะถู ก ปล่ อ ยสู่ สิ่ ง แวดล้อ ม ซึ่ งความร้ อนที่ ป ล่ อ ยออกไปพร้ อ มกั บ ก๊ า ซ
ไอเสี ย นี้ เป็ นการสู ญ เสี ย พลั ง งานมากที่ สุ ด ของหม้ อ ไอน้ า ดัง นั้ นควร
พิจารณานากลับมาใช้ประโยชน์โดยการติดตั้งอุปกรณ์ อุ่นน้ าป้ อนซึ่ งเป็ น
อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างก๊าซไอเสี ยกับน้ าป้ อนเพื่อให้น้ าป้ อน
มี อุณหภูมิสูงขึ้ นก่อนจ่ ายเข้าหม้อไอน้ า วิธีการดังกล่าวเป็ นหนึ่ งในหลาย
มาตรการเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพโดยรวมของหม้อ ไอน้ าและระบบไอน้ า
อุตสาหกรรม

หน้า 2 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ในสถานประกอบการที่ มี ค วามต้อ งการใช้ท้ ัง ไอน้ าและน้ าร้ อ น 1


มักใช้หม้อไอน้ าขนาดใหญ่หนึ่ งลูกเพื่อผลิตไอน้ าความดันปานกลาง และ
นาไอน้ าส่ วนหนึ่ งไปใช้เพื่อผลิ ตน้ าร้ อนด้วยเครื่ องแลกเปลี่ ยนความร้ อน
(Heat Exchanger) ซึ่ งเป็ นการลดคุ ณ ภาพด้า นพลัง งาน (ไดอะแกรม 1)
ดังนั้นควรใช้ห ม้อไอน้ าเล็กๆ หนึ่ งลู กผลิ ตไอน้ าและใช้เครื่ องท าน้ าร้ อน
1 ลูกแทน (ไดอะแกรม 2) ด้วยเหตุผลดังนี้

• หม้อไอน้ าจะมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่า เมื่อใช้งานที่ความดันไอน้ าต่า ๆ


• หม้อ ไอน้ าขนาดใหญ่ จ ะมี ก ารสู ญ เสี ย โดยการแผ่รั งสี ม ากกว่าหม้อ
ไอน้ าขนาดเล็ก
• หม้อไอน้ าจะมีการสู ญเสี ยทางปล่อง (Stack Losses) สู งกว่าเครื่ องทา
น้ าร้อน

ไดอะแกรม 1 ไอน้ า
1.
น้ าเย็น
หม้ อไอนา้ เครื่องแลกเปลีย่ นความร้ อน
คอนเดนเสท
น้ าร้อน

ไดอะแกรม 2 ไอน้ า น้ าร้อน

ความดันไอน้ าต่า
หม้อไอน้ าขนาด หม้ อไอนา้ เครื่องทานา้ ร้ อน
เล็ก
การสูญเสี ยน้อย

รู ปที่ 1-2 การใช้งานหม้อไอน้ าให้เหมาะสม

หน้า 3 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 ในงานที่ ตอ้ งการอุณหภูมิสูงมาก (เช่น 260°C) ควรใช้หม้อต้มน้ ามัน


ร้อน (Thermal Oil Boiler) ซึ่ งสามารถทาความร้อนได้ถึง 350°C ที่ความดัน
บรรยากาศแทนหม้อไอน้ าความดันสู งในระบบน้ ามันร้อนนี้ ปั มน้ ามันร้อน
จะทาหน้าที่ดูดและส่ งน้ ามันร้อนอุณหภูมิ 350°C ด้วยความดันต่า (2-3 bar)
ไปยังกระบวนการผลิ ตที่ อ ยู่ไกลๆ หลังจากน้ ามัน ร้ อ นถ่ ายเทความร้ อ น
ให้กบั อุปกรณ์ที่ใช้งานความร้อนแล้ว ทาให้อุณหภูมิจะลดลง 10-20°C แล้ว
จึ งไหลกลับ เข้าไปรั บ ความร้ อนในหม้อต้ม ใหม่ อีกจนมี อุ ณ หภู มิ 350°C
และถูกส่ งไปใช้งานวนไปเรื่ อยๆ จากคุณสมบัติไอน้ า ถ้าต้องการอุณหภูมิ
260°C ไอน้ าจะต้องมี ความดันสู งถึง 47 bar ซึ่ งหม้อไอน้ าความดันสู งจะมี
ราคาแพงมาก ระบบท่อไอน้ า และอุปกรณ์ใช้ไอน้ าจะต้องออกแบบให้ทน
ความดันสู งได้ การใช้งานต้องการการควบคุ มดู แล และบารุ งรั กษาอย่าง
ละเอียดรอบคอบ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยตลอดเวลาเป็ นผลให้มีค่าใช้จ่าย
ในการเดิ นเครื่ องและการบารุ งรั กษาสู ง ดังนั้นการใช้หม้อต้มน้ ามันร้อน
ทางานที่ ความดันต่ า และการใช้ระบบท่ อความดันต่ าจึ งมี ความปลอดภัย
กว่า

หม้ อนา้ ทุกแบบจะต้ องประกอบด้ วย


1) เตา (Furnace) หรื อห้องเผาไหม้ (Combustion chamber) เป็ นส่ วน
สาหรับให้เชื้อเพลิงเกิดการเผาไหม้หรื อสันดาปกับอากาศ
2) ส่ วนที่เก็บน้ า (Water space) เป็ นส่ วนที่เก็บน้ าไว้ภายในหม้อน้ า
3) ส่ วนที่เก็บไอน้ า (Steam space) คือ ส่ วนที่สะสมไอน้ าที่เกิดจากการผลิต
ไอน้ า

หน้า 4 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.1 ประเภทของหม้ อไอนา้ 1


หม้อไอน้ าเป็ นอุปกรณ์ สาคัญหลักในระบบไอน้ า ซึ่ งมีหน้าที่ในการ
ผลิต ไอน้ าให้ ได้ ต ามอุ ณ หภู มิ ที่ ต้ อ งการเพื่ อ จ่ ายไปยังกระบวนการผลิ ต
ภายในโรงงานหรื อกิจกรรมต่างๆ ภายในอาคาร อีกทั้งเพื่อผลิตกาลังงานกล
หรื อผลิตพลังงานไฟฟ้า
หม้อไอน้ าที่มีการใช้งานแพร่ หลายจาแนกตามการไหลของก๊าซร้อน
ภายในหม้อไอน้ าเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
1.1.1 หม้ อไอนา้ ประเภทท่ อไฟ (Fire-tube or Shell Boiler)
ก๊าซร้อนจากการเผาไหม้จะเคลื่อนที่ในท่อซึ่ งจมอยูใ่ นน้ า โดยที่น้ าจะ
อยูน่ อกท่อ (ระหว่างเปลือกหม้อไอน้ าและท่อ) ของหม้อไอน้ า โดยทัว่ ไป
หม้อไอน้ าประเภทท่อไฟสามารถผลิตไอน้ าให้ได้ความดันตามต้องการช้า
กว่าหม้อ ไอน้ าแบบท่ อ น้ า ในกรณี ที่ ภ าระการใช้ไ อน้ าเปลี่ ย นแปลงอยู่
ตลอดเวลา ควรใช้หม้อไอน้ าประเภทท่อน้ า เพราะจะสามารถผลิตไอน้ าได้
ทั น ต่ อ ความต้ อ งการได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว กว่ า หม้ อ ไอน้ าประเภทท่ อ ไฟ
นอกจากนั้นถ้าจานวนกลับของท่อไฟยิ่งมากประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ าก็ยิ่ง
สู งขึ้น เนื่ องจากก๊าซร้อนใช้เวลาไหลอยูภ่ ายในหม้อไอน้ านานขึ้น สาหรับ
หม้อ ไอน้ าขนาดเล็ก มัก จะมี จ านวนกลับ เพี ย ง 2 กลับ ขณะที่ ห ม้อ ไอน้ า
ขนาดใหญ่จะมี 3 หรื อ 4 กลับ การพิจารณาจานวนกลับนั้นในกรณี จานวน
กลับเลขคี่ปล่องไฟจะอยูต่ รงกันข้ามกับหัวเผาเสมอ

หน้า 5 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 หม้ อนา้ แบบท่ อไฟมีลกั ษณะโครงสร้ างดังต่ อไปนี้


(ก) เปลือกหม้ อนา้ (Boiler shell)
หมายถึง เปลือกเหล็กของหม้อน้ าภายในบรรจุน้ าและไอน้ าที่มีความดัน จึง
ต้องได้รับการออกแบบและสร้ างอย่างแข็งแรง แต่ไม่ได้หมายรวมถึ งอิ ฐ
หรื อฉนวนความร้ อนที่ หุ้มหม้อน้ า เปลือกหม้อน้ ามี ท้ งั ที่ ทาด้วยเหล็กกล้า
และเหล็กหล่อ แต่ที่ทาด้วยเหล็กหล่อจะเป็ นหม้อน้ าขนาดเล็กส่ วนหม้อน้ า
ขนาดใหญ่จะทาด้วยแผ่นเหล็กกล้า (เช่น ASTM SA516-70 ตามมาตรฐาน
ASME Section II) ม้วนขึ้นรู ปให้มีรูปทรงกระบอก
(ข) ผนังหน้ าและผนังหลังหม้ อนา้ (End plate or tube sheet)
คื อ ส่ วนที่ ปิ ดหั วปิ ดท้ายของเปลื อ กหม้อ น้ า ผนังหม้อ น้ ามี ท้ ังแบบแผ่น
เหล็กเรี ยบขึ้นรู ปเป็ นแผ่นโค้ง และแบบขอบโค้ง ผนังหม้อน้ าแบบแผ่นโค้ง
สามารถรั บความดันไอน้ าได้ดี แต่มีความยุ่งยากในการสร้ างที่ ตอ้ งเจาะรู
เพื่อใส่ ท่อไฟ ผนังหม้อน้ าแบบแผ่นเรี ยบทาได้ง่าย เหมาะสาหรับเป็ นผนังที่
ต้องเจาะรู เพื่อใส่ ท่อไฟ แต่ผนังแผ่นเรี ยบแข็งแรงน้อยกว่า จะต้องออกแบบ
ให้มีความหนาของแผ่นเหล็กมากกว่า และต้องออกแบบติดตั้งเหล็กยึดโยง
เพื่อเสริ มความแข็งแรงของผนังเปลือกหม้อน้ า
(ค) เหล็กยึดโยง (Stay)
ทาหน้าที่เสริ มความแข็งแรงของผนังหม้อน้ า โดยการดึงผนังหม้อน้ าเอาไว้
อาจจะดึ งผนังไว้กบั เปลื อกหม้อน้ า หรื อดึ งระหว่างผนังหน้ากับผนังหลัง
หม้อ น้ าเอาไว้ด้ว ยกัน มี ท้ ัง แบบเหล็ ก แท่ ง กลม (Stay Rod) แบบหู ช้า ง
(Gusset stay) หรื อเป็ นท่อกลวง (Stay tube) เพื่อถ่ายเทความร้อนด้วย

หน้า 6 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

(ง) ท่ อไฟใหญ่ หรื อลูกหมู (Furnace) 1


คื อท่ อนาก๊าซร้ อนที่ มีเส้นผ่าศู นย์กลางขนาดใหญ่ มกั จะเป็ นห้องเผาไหม้
ของหม้อน้ าเชื้อเพลิงเหลวหรื อก๊าซ มีท้ งั แบบขึ้นรู ปเป็ นลอนที่แข็งกว่าและ
ถ่ายเทความร้อนได้มากกว่าแบบท่อไฟเรี ยบ ที่ตอ้ งมีความหนามากกว่าและ
ต้องมีวงแหวนเสริ มความแข็งแรง (Reinforce ring)ภายนอก
(จ) ท่ อไฟเล็กหรื อจุ๊ป (Fire tube)
คือท่อขนาดเล็กที่ให้ก๊าซร้อนไหลผ่านภายในท่อ มีการติดตั้ง 2 ลักษณะคือ
แบบเชื่อม และแบบเบ่งสาหรับถ่ายเทความร้อนให้กบั น้ าที่อยูภ่ ายนอกท่อ
และทาหน้าที่ เสริ มความแข็งแรงของผนังหม้อน้ า (กรณี ติดตั้งแบบเชื่ อม)
โดยการดึงผนังหม้อน้ าท่อไฟเล็กมีท้ งั แบบเกลียวและแบบเรี ยบซึ่ งส่ วนมาก
มักจะเป็ นท่ อเรี ยบ มี ขนาดเส้ นผ่าศู นย์กลางไม่ เกิ น 4” ความหนาของท่ อ
ระหว่าง 2.5-3.5 มิ ลลิ เมตร แต่หม้อน้ าบางยี่ห้ออาจจะเป็ นท่ อไฟเล็กแบบ
เกลียวเพื่อให้ก๊าซร้อนเกิดการหมุนวนเป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการถ่ายเท
ความร้อนสาหรับหม้อน้ าทัว่ ไปจะมี การออกแบบท่อไฟเล็กในหม้อน้ าให้
ก๊ า ซร้ อ นมี ทิ ศ ทางการไหลกลับ ไปกลับ มาอยู่ภ ายในหม้อ น้ า เพื่ อ เพิ่ ม
ระยะทางในการแลกเปลี่ยนความร้ อน ส่ งผลให้ป ระสิ ทธิ ภาพการถ่ายเท
ความร้ อนสู งของหม้อน้ าสู งขึ้ นตามไปด้วย เรี ยกจานวนครั้ งในการไหล
กลับไปกลับมาของก๊าซร้อนในท่อไฟทั้งหมดภายในหม้อน้ าว่าจานวนกลับ
(Pass) นอกจากนี้ ตรงบริ เวณหัวและท้ายหม้อน้ าซึ่ งเป็ นส่ วนที่ไฟมีการกลับ
ทิศทางการไหล จะเรี ยกบริ เวณนี้ ว่า ห้องไฟกลับ หากห้องไฟกลับนั้นมีน้ า
ล้อ มรอบภายนอก จะเรี ยกว่าแบบหลังเปี ยก (Wet back) ในทางกลับ กัน
หากห้องไฟกลับไม่มีน้ าล้อมรอบ หรื อเป็ นแบบห้องที่ก่อด้วยอิฐทนไฟยื่น
ออกไปนอกตัวหม้อน้ า จะเรี ยกว่าแบบหลังแห้ง (Dry back)

หน้า 7 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

(ก) ท่อไฟแบบ 1 กลับ (ข) ท่อไฟแบบ 2 กลับ (ค) ท่อไฟแบบ 3 กลับ


รู ปที่ 1.1-1 จานวนกลับของหม้อไอน้ า

รู ปที่ 1.1-2 โครงสร้างหม้อไอน้ าแบบท่อไฟ

หน้า 8 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.1.2 หม้ อไอนา้ ประเภทท่ อนา้ (Water-tube Boiler) 1


น้ าจะบรรจุ แ ละไหลอยู่ภ ายในท่ อ โดยเปลวไฟหรื อ ก๊ า ซร้ อ นจะ
เคลื่อนที่อยูโ่ ดยรอบท่อน้ า หม้อน้ าแบบท่อน้ ามีหลากหลายประเภทโดยมี
ขนาดกาลังผลิตไอน้ าตั้งแต่ขนาดเล็กๆ 100 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง จนถึงขนาด
ใหญ่ ม ากที่ ส ามารถใช้ผลิ ต กระแสไฟฟ้ าได้ม ากกว่า 1,300 MW ส าหรั บ
หม้อ น้ าแบบท่ อ น้ าที่ มี ข นาดกาลังผลิ ตไอน้ ามากกว่า 5,000 กิ โลกรั ม ต่ อ
ชั่วโมงมักจะเป็ นหม้อน้ าที่ ผลิ ตไอน้ าที่ ความดันสู งกว่า 1 MPa เนื่ องจาก
ลักษณะทางโครงสร้างที่ สามารถรับความดันไอน้ าได้สูงกว่าหม้อน้ าแบบ
ท่อไฟซึ่ งใช้เปลือกหม้อน้ าเป็ นส่ วนรับความดันจึงไม่สามารถรับความดัน
ไอน้ าที่สูงมากได้

การเลือกใช้หม้อน้ าแบบท่อน้ า ควรจะเลือกใช้งานในกรณี ที่ตอ้ งการ


ผลิ ต ไอน้ าความดัน สู งกว่า 1.5 MPa หรื อ ต้อ งการปริ ม าณไอน้ ามากกว่า
15,000 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง แต่ถา้ ต้องการผลิตไอน้ าความดันและปริ มาณต่า
กว่านี้ ไม่ควรเลือกใช้หม้อน้ าแบบท่อน้ า เพราะการดูแลบารุ งรักษาที่ยงุ่ ยาก
กว่าหม้อน้ าแบบท่อไฟมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งไม่ควรเลือกใช้หม้อน้ าแบบ
ท่อน้ าที่ ใช้เชื้ อเพลิ งที่ มีสารกามะถันสู ง และหม้อน้ าต้องมี การหยุดเครื่ อง
บ่อยและเป็ นเวลานานหลายวัน เพราะแม้ว่าหม้อน้ าจะมีระบบ Boiler lay-
up ทาการอุ่นหม้อน้ าไม่ ให้เกิ นการกัดกร่ อนของกรดกามะถัน (Cold end
corrosion) แต่กต็ อ้ งใช้พลังงานในการอุ่นหม้อน้ าให้ร้อนอยูต่ ลอดเวลา

หน้า 9 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 โครงสร้ างหลักของหม้ อนา้ แบบท่ อนา้ ประกอบด้ วย 3 ส่ วนดังนี้


(ก) ถังไอ (Steam drum or Upper drum)
เป็ นโครงสร้างเหล็กทรงกระบอกที่อยูด่ า้ นบนของหม้อน้ าแบบท่อน้ า เป็ นที่
เกิดหรื อแยกตัวของไอน้ าที่ระเหยขึ้นมาจากผิวน้ า โดยปรกติระดับน้ าจะอยู่
ประมาณระดับครึ่ งหนึ่ งของถังไอนี้ ส่ วนด้านล่างของถังไอจะเป็ นส่ วนที่
ท่อน้ าจานวนมากเข้ามาต่อชนเพื่อให้น้ าในท่อน้ าที่ ได้รับการถ่ายเทความ
ร้ อ นเวี ย นขึ้ นมาแยกตัว เป็ นไอน้ า หม้ อ น้ าแบบท่ อ น้ าที่ ดี จ ะมี Steam
separator หรื อSteam purifier อยู่ ใ นถั ง ไอด้ า นบน เพื่ อ แยกน้ าและสิ่ ง
สกปรกออกจากไอน้ า เพื่อทาให้ไอน้ าแห้งและสะอาดมากขึ้น
(ข) ถังโคลน (Mud drum or Lower drum)
เป็ นโครงสร้ างเหล็ก ทรงกระบอกที่ อ ยู่ด้านล่ างของหม้อ น้ าแบบท่ อ น้ า
มักจะมี ขนาดเล็กกว่าถังไอ ถังโคลนทาหน้าที่ คล้ายท่อร่ วม (Header) ของ
ท่อน้ า โดยส่ วนด้านบนของถังโคลนจะเป็ นส่ วนที่ ท่อน้ าจานวนมากจาก
ด้านบนเข้ามาต่อชน ในขณะผลิตไอน้ าจะมีการหมุนเวียนของน้ าในท่อมาก
ตะกอนหนักจะตกลงสะสมที่ถงั โคลนนี้ ส่วนตะกอนเบาจะถูกหมุนเวียนไป
ตามธรรมชาติ ข องความแตกต่ างกันของอุ ณ หภู มิ น้ า ดังนั้นน้ าที่ ป้อ นเข้า
หม้อ น้ าจะต้อ งมี ค วามสะอาดมาก เพราะสิ่ งสกปรกที่ เป็ นของแข็ง เช่ น
ทราย สนิ ม ขี้ เชื่ อมโลหะ ฯลฯ จะขัดสี ภายในท่ อน้ า เพราะการหมุนเวียน
ของน้ าในท่อ จนทาให้ท่อน้ าบางลงจนแตกได้

หน้า 10 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

(ค) ท่ อนา้ (Water tube) 1


คือท่อที่ ให้น้ าไหลผ่านภายในท่อ โดยรับความร้อนจากก๊าซร้อนภายนอก
ท่อถ่ายเทให้กบั น้ าที่อยูภ่ ายในท่อ ท่อน้ าเป็ นส่ วนที่รับความร้อนส่ วนใหญ่
จากก๊าซร้อนจากการเผาไหม้ ดังนั้นท่อน้ าจึ งต้องสะอาด ปราศจากตะกรัน
ถ้าภายในท่อน้ ามีตะกรันเพียงบางๆ ท่อน้ าอาจเกิดการเสี ยหายได้ เนื่ องจาก
โลหะผิวนอกท่อน้ ามีอุณหภูมิสูงขึ้นเนื่ องจากถ่ายเทความร้อนได้นอ้ ยลงทา
ให้เกิ ดการสะสมความร้ อนของเนื้ อโลหะ(Overheat) จนโครงสร้างโลหะ
ของเหล็กเสี ยไป ไม่ ส ามารถรั บ ความดัน ได้ (Long term overheat) ท่ อน้ า
มักจะเป็ นท่อเรี ยบหรื ออาจมีครี บ (Fin) ภายนอก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
½” ถึง 3” (12.7-76.2 มิลลิเมตร) ความหนาของท่อ 2.0-3.5 มิลลิเมตร

หน้า 11 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

รู ปที่ 1.1-3 โครงสร้างหม้อไอน้ าแบบท่อน้ า

หน้า 12 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.1.3 หม้ อไอนา้ แบบอื่นๆ 1


1.1.3.1 หม้ อนา้ แบบผสม (Hybrid boiler)
เป็ นหม้อน้ าที่ มีท้ งั หม้อน้ าแบบท่ อน้ าและหม้อน้ าแบบท่ อไฟอยู่ใน
เครื่ องเดี ยวกัน ส่ วนใหญ่จะเป็ นหม้อน้ าใช้เชื้ อเพลิงแข็ง โดยสร้างให้หม้อ
น้ าแบบท่ อน้ าที่ อ ยู่ด้านล่ างเป็ นส่ วนของห้องเผาไหม้เชื้ อเพลิ งแข็ง ส่ วน
โครงสร้างที่เป็ นหม้อน้ าแบบท่อไฟที่อยูด่ า้ นบนจะเป็ นส่ วนที่รับการถ่ายเท
ความร้อนที่เหลือออกมาจากส่ วนโครงสร้างหม้อน้ าแบบท่อน้ า หรื อหากใช้
เชื้ อเพลิ งเหลวหรื อก๊าซ การออกแบบอาจจัดวางให้ท้ งั หม้อน้ าแบบท่อน้ า
และหม้อน้ าแบบท่อไฟอยูข่ า้ งกันในแนวระดับเกือบเสมอกัน ขนาดกาลัง
ผลิตไอน้ าของหม้อน้ าแบบผสม ประมาณ 5,000-20,000 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง
ความดันไอน้ าจึ งถู กจากัดด้วยโครงสร้ างของหม้อน้ าแบบท่ อไฟ จึ งผลิ ต
ความดันไอน้ าสู งสุ ดไม่เกิน 2 MPa

รู ปที่ 1.1-4 หม้อน้ าแบบผสม กรณี ใช้เชื้อเพลิงแข็ง

หน้า 13 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

รู ปที่ 1.1-5 หม้อน้ าแบบผสม กรณี ใช้เชื้อเพลิงเหลวหรื อก๊าซ

หน้า 14 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.1.3.2 หม้ อนา้ ไฟฟ้ า (Electrical boiler) 1


มี กาลังผลิ ตไอน้ าประมาณ 10-3,000 กิ โลกรั ม ต่ อ ชั่วโมงผลิ ตไอน้ า
อิ่ ม ตัวความดัน 1-2 MPa เป็ นหม้อ น้ าที่ ไม่ มี ก ารเผาไหม้เชื้ อ เพลิ ง ท าให้
สะอาดเพราะไม่มีระบบลาเลียงเชื้ อเพลิงและการเผาไหม้ปราศจากมลพิษ
ทางอากาศ เหมาะกับการผลิตไอน้ าปริ มาณไม่มาก แต่การใช้พลังงานไฟฟ้ า
ในการผลิตไอน้ า มีตน้ ทุนในการผลิตไอน้ าสู งที่สุด เมื่อเปรี ยบเทียบกับการ
ใช้เชื้อเพลิงชนิดอื่น

รู ปที่ 1.1-6 หม้อน้ าไฟฟ้า

หน้า 15 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 1.2 อุปกรณ์ ประกอบในระบบไอนา้


ในระบบกาเนิ ดไอน้ า นอกจากจะประกอบด้วยตัวหม้อน้ าแล้ว ยังต้อง
ประกอบด้วยอุปกรณ์ในระบบย่อยต่างๆ อีกหลายระบบดังต่อไปนี้
1.2.1 อุปกรณ์ ในระบบนา้ ป้ อน
ระบบน้ าป้ อน (Feed water system) เป็ นระบบแรกสุ ดที่ตอ้ งคานึ งถึง
เนื่ องจากน้ าป้ อนเปรี ยบเสมื อนวัตถุดิบต้นทางในการผลิ ตไอน้ า คุณภาพ
ของน้ าป้ อนส่ งผลโดยตรงต่อประสิ ทธิ ภาพของหม้อน้ าและความปลอดภัย
ในการใช้งานหม้อน้ า

หน้า 16 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ระบบนา้ ป้ อนประกอบด้ วยอุปกรณ์ ดงั ต่ อไปนี้ 1


1.2.1.1 ระบบปรับปรุ งคุณภาพนา้ (Water treatment system) หรื อบางครั้ง
เรี ยกว่าระบบกรองน้ า
มีหน้าที่ขจัดความกระด้างของน้ าที่มาจากเกลือแคลเซี ยมและแมกนี เซี ยมที่เป็ น
ของแข็ ง ที่ ล ะลายในน้ า (Total dissolved solids, TDS) ซึ่ งเป็ นต้น เหตุ ใ ห้ เกิ ด
ตะกรันเกาะผิวถ่ายเทความร้อนภายในหม้อน้ า
1.2.1.2 ถังนา้ ป้ อน (Feed water tank)
ใช้บรรจุ น้ าป้ อนที่ จะนาไปใช้ในหม้อน้ า โดยทัว่ ไปแล้วจะมี ระบบนาคอนเดน
เสทกลับมาใช้ใหม่ เพื่อให้เกิดการประหยัดเชื้อเพลิงในการต้มน้ าให้ได้มากที่สุด
1.2.1.3 ระบบปั๊มนา้ ป้อน (Feed water system)
ประกอบด้วยตัวปั ม ท่อป้อน มิเตอร์ วดั ปริ มาณน้ าป้อน และวาล์วกันกลับป้องกัน
น้ าในหม้อน้ าไหลย้อนกลับได้
1.2.1.4 ระบบปั๊มสารเคมีเข้ าหม้ อนา้ (Chemical feed system)
ประกอบด้วยถังน้ ายาเคมี เครื่ องกวน และปั มน้ ายาเคมี ที่มีคุณสมบัติพิเศษ คือ
ทนการกัด กร่ อ นได้เป็ นอย่างดี ระบบปั มสารเคมี เข้าหม้อ น้ าท าหน้ าที่ ป้ อ น
สารเคมีเข้าผสมกับน้ าป้ อนหรื อน้ าที่อยูใ่ นหม้อน้ า เพื่อปรับสภาพทางเคมีให้อยู่
ในสภาวะที่ เหมาะสมถื อ เป็ นระบบปรั บ ปรุ งคุ ณ ภาพน้ าแบบภายในหม้อ น้ า
(Boiler internal water treatment)

หน้า 17 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 1.2.2 อุปกรณ์ ในระบบเชื้อเพลิง


ระบบเชื้ อเพลิง (Fuel system) เป็ นระบบที่มีหน้าที่ป้อนเชื้อเพลิงที่ใช้
สาหรับการเผาไหม้เข้าสู่ หวั เผาหรื อห้องเผาไหม้ อุปกรณ์ในระบบเชื้อเพลิง
จะแตกต่ างกัน ไปตามประเภทของเชื้ อ เพลิ ง โดยทั่ว ไปจะแบ่ งประเภท
เชื้ อ เพลิ ง ออกเป็ น 3 ประเภท ได้แ ก่ เชื้ อ เพลิ ง แข็ ง เชื้ อ เพลิ ง เหลว และ
เชื้อเพลิงก๊าซ
อุปกรณ์ ในระบบเชื้อเพลิงจึงแยกตามประเภทเชื้อเพลิงมีดังต่ อไปนี้
1.2.2.1 อุปกรณ์ ในระบบเชื้อเพลิงแข็ง ประกอบด้ วย
(ก) โรงเก็บเชื้อเพลิงแข็ง (Storage)
ใช้เป็ นสถานที่ในการกองเก็บเชื้อเพลิงแข็ง เพื่อรอการนาไปบดโม่เพื่อให้มีขนาด
ที่ เล็ก ลงต่ อ ไป โรงเก็บ เชื้ อ เพลิ งต้อ งมี ข นาดใหญ่ พ อที่ จ ะส ารองเชื้ อ เพลิ งให้
เพี ยงพอกับ ความต้องการล่วงหน้าในระยะเวลาหนึ่ ง โดยพิจารณาถึ งการขาด
แคลนเชื้ อเพลิงชัว่ ขณะที่ อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การขนส่ งเชื้ อเพลิงหยุดลงชัว่ คราว
หรื อมาส่ งไม่ตรงเวลา เป็ นต้น
(ข) เครื่ องบดโม่ เชื้อเพลิงแข็ง (Pulverizer)
ทาหน้าที่ บดโม่เชื้ อเพลิงแข็งที่ มีขนาดใหญ่และไม่สม่ าเสมอ ให้มีขนาดเล็กลง
เป็ นอย่างมาก โดยที่เชื้ อเพลิงที่ผา่ นการบดโม่จะมีขนาดสม่าเสมอกันมากยิ่งขึ้น
ในกรณี ที่ใช้เชื้ อเพลิงเป็ นถ่านหิ น ถ่านหิ นที่ ผ่านการบดแล้วอาจมี ขนาดเล็กลง
จนกระทัง่ มี ขนาดเท่ากับผงแป้ งผัดหน้า ซึ่ งสามารถนาถ่านหิ นแบบนี้ ไปใช้กบั
หัวเผาถ่านหิ น (Coal burner) ได้
(ค) ตะกรับหรื อสายพานลาเลียง (Grate or conveyer)
ทาหน้าที่ป้อนเชื้อเพลิงที่ผา่ นการบดโม่แล้วเข้าสู่ หอ้ งเผาไหม้ หรื อหัวเผาถ่านหิ น
เพื่อใช้ในการเผาไหม้ต่อไป

หน้า 18 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.2.2.2 อุปกรณ์ ในระบบเชื้อเพลิงเหลว ประกอบด้ วย 1


(ก) ถังเก็บนา้ มัน (Fuel oil storage tank)
มีท้ งั แบบตั้งบนดิน และติดตั้งอยูส่ ู งจากพื้นดินหากใช้เชื้อเพลิงที่มีความหนื ดสู ง
ต้อ งมี การติ ดตั้งฮี ท เตอร์ ส าหรั บ อุ่ น เชื้ อ เพลิ งให้มี อุณ หภู มิ สู งขึ้ นเพื่ อ ลดความ
หนื ดลง สิ่ งสาคัญคือต้องทาการระบายน้ าที่ เกิ ดจากความชื้ นในอากาศกลัน่ ตัว
แล้วเกิ ดการสะสมที่ กน้ ถังทุ กเดื อน ขนาดของถังเก็บน้ ามันเชื้ อเพลิงแบบนอน
โดยทัว่ ไปมีขนาด 20,000 ลิตร แบบตั้งโดยทัว่ ไปมีขนาดมากกว่า 100,000 ลิตร
(ข) ปั๊มส่ งนา้ มัน (Transfer pump)
มีหน้าที่ดูดน้ ามันจากถังเก็บน้ ามันแล้วส่ งไปยังถังพักน้ ามัน ที่ตวั ปั มจะมีตะแกรง
กรองติ ด ตั้งอยู่ฝั่งด้านดู ด ของปั มจ านวน 2 ตัว ติ ดตั้งคู่ กัน เพื่ อ สลับ กัน ท างาน
ตะแกรงกรองจะมี ขนาดค่อนข้างโตประมาณ 20-40 เมช (คื อจานวนรู ต่อความ
ยาว 1 นิ้ว)
(ค) ถังพักนา้ มัน (Service or day tank)
ทาหน้าที่กกั เก็บและสารองน้ ามันให้เพียงพอต่อการเปลี่ยนแปลงความต้องการ
ปริ มาณน้ ามันเชื้อเพลิงของหัวเผาที่ไม่คงที่ อาจมีหรื อไม่มีการติดตั้งฮีทเตอร์ หรื อ
ระบบอุ่นเชื้อเพลิง ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั ชนิ ดของน้ ามันเชื้อเพลิง และต้องทาการระบาย
น้ าก้นถังทุกเดือนเช่นเดียวกับถังเก็บน้ ามัน

หน้า 19 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 (ง) ระบบท่ อส่ งนา้ มัน (Fuel line)


ทาหน้าที่ลาเลียงน้ ามันเชื้อเพลิงไปป้ อนหัวเผาเพื่อใช้ในการเผาไหม้ การกาหนด
ขนาดของท่อน้ ามัน นอกจากกาหนดจากความเร็ วของน้ ามันที่ ไหลในท่อแล้ว
จะต้องพิจาณาถึงความดันน้ ามันที่ จะลดลงที่ ปลายท่อ เนื่ องจากความหนื ดของ
น้ ามัน ที่จะทาให้ความดันน้ ามันลดลงอย่างมากเมื่อความหนื ดของน้ ามันเพิ่มขึ้น
การกาหนดขนาดของท่อน้ ามันควรใช้ความหนื ดของน้ ามันในท่อที่ ความหนื ด
ขอน้ ามันที่ อุณหภูมิจุดไหลเทของน้ ามัน ถึ งแม้ว่าจะมี การอุ่นน้ ามันในท่อให้มี
อุณหภูมิสูงกว่าจุดไหลเท (Pour point) ของน้ ามันก็ตาม
(จ) ระบบอุ่นนา้ มัน (Oil heating system)
มี หน้าที่ ให้ความร้ อนแก่เชื้ อเพลิ งเหลวที่ มีค่าความหนื ดที่ อุณหภูมิห้องสู งมาก
เช่ น น้ ามัน เตา เพื่ อ ลดความหนื ดให้ เหมาะสมกับ ชนิ ดหั วเผาที่ ใช้ในหม้อ น้ า
ระบบอุ่นน้ ามันแบ่งได้ 2 ประเภท ได้แก่
• ระบบอุ่น น้ามันด้ วยฮี ทเตอร์ ไฟฟ้ า ใช้ขดลวดไฟฟ้ าเป็ นตัวให้ค วามร้ อ นแก่
น้ ามันภายในภาชนะปิ ด โดยขดลวดที่หุ้มภายนอกกันน้ าเป็ นอย่างดีจะจุ่มอยูใ่ น
น้ ามันหรื อสัมผัสกันโดยตรง (Direct contact)
• ระบบอุ่นน้ามันด้ วยไอน้า เป็ นการแบ่งไอน้ าจากระบบไอน้ าหลักเพื่อนามาให้
ความร้ อนแก่น้ ามัน โดยไอน้ าจะไหลผ่านเครื่ องแลกเปลี่ ยนความร้ อนที่ อีกฝั่ ง
เป็ นน้ ามัน ขณะเดียวกันความร้อนจากไอน้ าจะถ่ายเทด้วยการนา ความร้อนผ่าน
ผนังท่อของเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน ดังนั้นไอน้ าและน้ ามันจึ งไม่ได้สัมผัส
กันโดยตรง (Indirect contact)

หน้า 20 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.2.2.3 อุปกรณ์ ในระบบเชื้อเพลิงก๊ าซ ประกอบด้ วย 1


(ก) ถังเก็บก๊าซเชื้อเพลิง (Gas storage tank)
ทาหน้าที่กกั เก็บก๊าซเชื้อเพลิงที่ใช้ในการเผาไหม้ ตัวถังเก็บก๊าซควรแยกติดตั้งไว้
ในบริ เวณที่ โล่งแจ้ง ห่ างไกลจากตัวหม้อน้ าหรื อบริ เวณที่ มีกิจกรรมหนาแน่ น
และทาการล้อมรั้วแสดงอาณาเขตอันตรายอย่างชัดเจน
(ข) ระบบลดและควบคุมความดัน (Pressure reduction and regulation system)
ทาหน้าที่ ลดความดันของก๊าซที่ บรรจุ ในถังเก็บก๊าซ และควบคุมให้ความดันมี
ค่าคงที่ ก่ อนจ่ ายเข้าสู่ ระบบท่ อส่ งก๊าซต่อไปอุ ปกรณ์ ในระบบนี้ ประกอบด้วย
วาล์วขาเข้าเครื่ องกรอง วาล์วปิ ดฉุ กเฉิ นเครื่ องปรับความดัน วาล์วระบายมิเตอร์
วัด อัตราการไหล วาล์วขาออก นอกจากนี้ อาจมี ก ารติ ดตั้งระบบควบคุ ม และ
ระบบวัดค่าแบบควบคุมทางไกล ตัวกาจัดเสี ยง ระบบเพิ่มกลิ่นให้ก๊าซ ระบบทา
ความร้อน หรื อระบบเพื่อเสริ มความปลอดภัย เป็ นต้น
(ค) ระบบท่ อส่ งก๊าซ (Gas line)
ทาหน้าที่ลาเลียงก๊าซเชื้อเพลิงไปป้ อนหัวเผาเพื่อใช้ในการเผาไหม้ การเดินท่อส่ ง
ก๊าซมีลกั ษณะคล้ายท่อส่ งน้ ามัน แต่แตกต่างกันตรงที่ระบบท่อส่ งก๊าซจะไม่มีท่อ
สาหรั บให้เชื้ อเพลิงที่ ไม่ได้รับการเผาไหม้ไหลย้อนกลับมายังถังเก็บดังเช่นใน
กรณี ของระบบท่อส่ งน้ ามัน การกาหนดขนาดของท่อก๊าซ กาหนดจากความเร็ ว
ของก๊าซที่ไหลในท่อที่มีความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที เพื่อป้ องกันการกัดกร่ อนท่อ
ก๊าซให้บางลง จากความเร็ วของก๊าซที่สูงเกินไป มักจะไม่ตอ้ งพิจารณาถึงความ
ดันก๊าซที่จะลดลงที่ปลายท่อ เนื่ องจากความดันก๊าซที่ลดลง มักจะไม่มีผลต่อการ
ใช้งาน เพราะความดันใช้งานของก๊าซที่หวั พ่นไฟจะต่ากว่าความดันต้นทางมาก

หน้า 21 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 (ง) เครื่ องตรวจจับการรั่วไหลของเชื้อเพลิงก๊าซ (Gas leak detector)


เนื่ อ งจากเชื้ อ เพลิ งก๊ าซไม่ ส ามารถมองเห็ น ได้ด้ว ยตาเปล่ าเหมื อ นกรณี ข อง
เชื้ อเพลิ งแข็งและเชื้ อเพลิ งเหลว ดังนั้นหากเกิ ดการรั่ วไหล ผูป้ ฏิ บ ัติงานจะไม่
สามารถทราบได้ ทาให้เกิดอันตรายร้ายแรงตามมาได้ หม้อน้ าที่ใช้เชื้อเพลิงก๊าซ
จึ งต้อ งติ ด ตั้งเครื่ อ งตรวจจับ การรั่ วไหลของเชื้ อ เพลิ งก๊ าซ (Gas leak detector)
เพื่อทาหน้าที่ตรวจจับการรั่วไหลของเชื้อเพลิงก๊าซ ซึ่ งหากเกิดการรั่วไหล เครื่ อง
ตรวจจับการรั่ วไหลของเชื้ อเพลิงก๊าซจะส่ งสัญญาณเตือนพร้อมกับตัดการจ่าย
เชื้อเพลิงโดยทันที

1.2.3 อุปกรณ์ ในระบบเผาไหม้


ระบบเผาไหม้ คื อ ระบบที่ ป ระกอบด้ว ยอุ ป กรณ์ ซ่ ึ งท าหน้าที่ ผ สม
อากาศเข้า กับ เชื้ อ เพลิ ง ด้ว ยอัต ราส่ ว นผสมที่ เหมาะสม เพื่ อ ให้ เกิ ด การ
สันดาปหรื อการลุ กไหม้ของเชื้ อเพลิ งขึ้ น สิ่ งที่ ได้รับ จากการสั นดาป คื อ
พลังงานความร้อน ซึ่ งพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้นนี้ จะถ่ายเทให้น้ าที่อยูใ่ น
หม้อน้ าเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลวไปเป็ นไอน้ าที่มีความดัน
สู งเพื่อนาไปใช้งานต่อไป อุปกรณ์ในระบบเผาไหม้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่
กับชนิดของเชื้อเพลิง ซึ่ งรายละเอียดมีดงั ต่อไปนี้

หน้า 22 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.2.3.1 อุปกรณ์ ในระบบเผาไหม้ ทใี่ ช้ เชื้อเพลิงแข็ง ประกอบด้ วย 1


(ก) ห้ องเผาไหม้ (Combustion chamber)
คือห้องปิ ดที่มีบริ เวณให้เชื้อเพลิงได้ผสมกับอากาศแล้วเกิดการลุกไหม้ข้ ึน โดยมี
ช่องสาหรับป้ อนเชื้อเพลิง และช่องทางเข้าของอากาศ ผนังของห้องเผาไหม้ตอ้ ง
หุ ้มฉนวนเป็ นอย่างดีเพื่อป้ องกันการสู ญเสี ยความร้อนออกทางผนังเตา ผนังเตา
เช่นนี้ เรี ยกว่า ผนังแห้ งในบางระบบมีการออกแบบให้น้ าป้ อนไหลผ่านท่อซึ่ งติด
ตั้งอยูใ่ นผนังเตาเพื่อให้น้ าป้ อนได้รับความร้อนที่จะสู ญเสี ยผ่านผนังเตาบางส่ วน
ก่อนป้ อนเข้าสู่ หม้อน้ า ผนังเตาชนิ ดนี้ เรี ยกว่า ผนังเปี ยก ห้องเผาไหม้ใช้ในกรณี
ที่เชื้ อเพลิงแข็งมีขนาดปานกลางถึงขนาดใหญ่ เช่น เศษไม้ ขี้เลื่อย และชานอ้อย
เป็ นต้น
(ข) หัวเผาเชื้อเพลิงแข็ง
ในกรณี ที่ใช้เชื้อเพลิงแข็งที่สามารถบดโม่เชื้อเพลิงที่ใช้ให้มีขนาดเล็กมากๆ ได้
เช่น ถ่านหิ น สามารถใช้หวั เผาเชื้อเพลิงแข็งแทนการใช้หอ้ งเผาไหม้ได้
1.2.3.2 อุปกรณ์ ในระบบเผาไหม้ ทใี่ ช้ เชื้อเพลิงเหลว ประกอบด้ วย
(ก) หัวเผาเชื้อเพลิงเหลว
มี ห น้าที่ ฉี ดหรื อพ่นน้ ามันให้เป็ นฝอยละเอี ยด (Atomizing) เพื่อให้อากาศและ
ฝอยน้ ามัน ผสมกัน (Mixing) อย่างรวดเร็ วและทั่วถึ ง เพื่ อให้ได้การเผาไหม้ที่
สมบู รณ์ โดยไม่ เกิ ด ควัน ที่ ป ากปล่ อ ง ตลอดทั้งช่ วงการเผาไหม้แ บบไฟน้อ ย
(Low fire) จนถึ งแบบไฟมาก (High fire) หัวเผาเชื้ อเพลิ งเหลวสามารถแบ่ งได้
3 แบบ คือ
• หัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ความดันน้ ามัน (Pressure atomized burner)
• หัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ไอน้ าหรื ออากาศ (Steam or air atomized burner)
• หัวเผาแบบใช้แรงเหวี่ยงของถ้วยหมุน (Rotary cup burner)

หน้า 23 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 (ข) ระบบจุดสตาร์ ท
เป็ นระบบที่ ช่วยจุ ดเชื้ อเพลิ งให้ลุกไหม้ได้ง่ายขึ้ น ใช้ในขณะเริ่ มจุ ดหัวเผาครั้ ง
แรก ประกอบด้วยอุปกรณ์สาคัญคือหม้อแปลงไฟแรงสู ง (Ignition transformer)
แบ่งเป็ น 2 ระบบ คือ
• ระบบจุดสตาร์ ทด้ วยประกายไฟแรงสู ง แบบนี้ เขี้ ยวจุ ดประกายไฟติดตั้งอยู่ที่
ปลายหัวฉี ดพ่น ฝอยน้ ามัน เริ่ ม จุ ดหัวเผาโดยการจุ ดให้น้ ามัน ติ ดเป็ นเปลวไฟ
โดยตรง
• ระบบจุดสตาร์ ทด้ วยการจุดไฟนา (Pilot flame) จากก๊าซ LPG แบบนี้ เขี้ยวจุ ด
ประกายไฟติดตั้งอยูใ่ นกระบอก เพื่อจุดก๊าซหุ งต้มหรื อ LPG ให้ติดเป็ นเปลวไฟ
นาก่อนที่จะพ่นฝอยน้ ามันตามออกมา
1.2.3.3 อุปกรณ์ ในระบบเผาไหม้ ทใี่ ช้ เชื้อเพลิงก๊ าซ ประกอบด้ วย
(ก) หัวเผาเชื้อเพลิงก๊ าซ
มี ห น้ า ที่ เช่ น เดี ย วกับ หั ว เผาเชื้ อ เพลิ ง เหลว เพี ย งแต่ ไ ม่ ต ้อ งมี ร ะบบพ่ น ฝอย
เชื้ อเพลิ งและระบบจุ ดสตาร์ ท สามารถแบ่งหัวเผาเชื้ อเพลิงก๊าซได้เป็ น 2 ชนิ ด
ใหญ่ๆ คือ
• หัวเผาแบบผสมเชื้อเพลิงกับอากาศก่อนป้อนเข้าเผาไหม้ (Pre-mix burner)
• หัวเผาแบบผสมกันภายในหัวเผา (Nozzle-mix burner)

หน้า 24 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.2.4 อุปกรณ์ ในระบบอากาศ 1


ความร้ อนที่ เกิ ดขึ้ นในหม้อน้ าเกิ ดจากการสั นดาประหว่างเชื้ อเพลิ ง
และอากาศ ดังนั้นอุปกรณ์ในระบบอากาศทั้งการป้ อนอากาศเข้าและระบาย
ไอเสี ยออกจากระบบเผาไหม้ จึงเป็ นส่ วนสาคัญไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าอุปกรณ์
ในระบบเผาไหม้
อุปกรณ์ ในระบบอากาศทีส่ าคัญมีดงั ต่ อไปนี้
1.2.4.1 พัดลม
มี หน้าที่ ป้อนอากาศเข้าสู่ ระบบเผาไหม้เพื่อให้เกิ ดการสันดาปกับเชื้ อเพลิงด้วย
อัต ราอากาศส่ ว นเกิ น ที่ เหมาะสม ปริ ม าณอากาศที่ เหมาะสมถู ก ควบคุ ม โดย
แดมเปอร์ ลม (Air damper) ที่สามารถปรับขนาดช่องทางการไหลของอากาศได้
ตามต้องการ หากพัดลมที่ใช้เป็ นพัดลมแบบดูดอากาศ(Induced draft fan) ตัวพัด
ลมจะติ ดตั้งอยู่ฝั่งขาออกหรื อฝั่ งไอเสี ย ส่ วนพัดลมแบบเป่ า (Forced draft fan)
ตัวพัดลมจะติดตั้งอยูฝ่ ั่งขาเข้าหรื อฝั่งอากาศ
1.2.4.2 มอเตอร์ ควบคุมการเผาไหม้ มีชื่อเรียกกันต่ างๆ ได้ แก่ Servomotor หรื อ
Damper motor หรื ออาจเรียกตามชื่ อรุ่ นที่ต้งั ขึน้ ตามผู้ผลิต
มีหน้าที่ปรับขนาดช่องทางการไหลของอากาศภายในแดมเปอร์ ลมโดยอัตโนมัติ
เพื่อให้ปริ มาณอากาศเหมาะสมกับการเผาไหม้ในอัตราส่ วนผสมเชื้ อเพลิงและ
อากาศที่ เหมาะสม มอเตอร์ ค วบคุ ม การเผาไหม้จ ะได้รั บ สั ญ ญาณควบคุ ม
(Control signal) มาจากระบบควบคุ ม การเผาไหม้ ซึ่ งมี ห น่ ว ยประมวลผล
(Processer) ซึ่ งทาการคานวณและสั่ งการโดยอาศัยข้อมู ลที่ ได้รับค่าจากเครื่ อง
ตรวจวัด (Sensor) ต่ างๆ ที่ ติดตั้งอยู่ท ั่วทั้งระบบอากาศ เช่ น เครื่ องวัดปริ มาณ
อากาศ เครื่ องวัดปริ มาณออกซิ เจน และเครื่ องวัดอุณหภูมิไอเสี ย เป็ นต้น

หน้า 25 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 1.2.4.3 ปล่องไอเสี ย (Stack or chimney)


ทาหน้าที่ ระบายไอเสี ย (Flue gas) ที่ เกิ ดจากการสั น ดาปออกจากห้อ งเผาไหม้
หรื อท่อไฟ ปล่องควรมี ขนาดความโตและความสู งเหมาะสมพอที่ จะทาให้เกิ ด
แรงดูด (Draft pressure) ไอเสี ยออกและในขณะเดี ยวกันต้องไม่ทาให้เกิ ดความ
ดันต้านกลับ (Back pressure) ในห้องเผาไหม้มากเกิ นไป หรื อที่ เรี ยกว่าเกิ ดการ
อั้นของไอเสี ย

1.2.5 อุปกรณ์ ในระบบวัดและควบคุมความดันไอนา้


ไอน้ าที่ เกิ ดขึ้ นในหม้อน้ าจะมี ความดันที่ สูงเพิ่ มมากขึ้ นเรื่ อยๆ หาก
ได้รับความร้อนอย่างต่อเนื่ องไม่จากัด ดังนั้นจึ งจาเป็ นต้องติดตั้งระบบวัด
และควบคุมความดันไอน้ า เพื่อตรวจสอบและป้ องกันไม่ให้ความดันไอน้ า
สู งเกินกว่าความดันอนุญาตให้ใช้งานสู งสุ ด (Maximum allowable working
pressure) ระบบวัด และควบคุ ม ความดั น ไอน้ าประกอบด้ ว ยอุ ป กรณ์
ดังต่อไปนี้

ระบบวัดและควบคุมความดันไอนา้ ประกอบด้ วยอุปกรณ์ ดงั ต่ อไปนี้


1.2.5.1 มาตรวัดความดันไอนา้ (Pressure gauge)
ท าหน้ า ที่ ว ดั และแสดงค่ า ความดัน ของไอน้ าตรงต าแหน่ ง ที่ ติ ด ตั้ง มาตรวัด
หน้าปั ดของมาตรวัดความดันไอน้ าต้องมี ขนาดไม่น้อยกว่า 100 มม. มีสเกลซึ่ ง
สามารถวัดได้ 1.5 ถึ ง 2 เท่ า ของความดัน อนุ ญ าตให้ใช้งานสู งสุ ด และต้องมี
เครื่ อ งหมายแสดงระดับ ความดัน ใช้ง าน (Operating pressure) และความดัน
อันตรายไว้ให้เห็นได้ชดั เจน มาตรวัดความดันไอน้ าสาหรับวัดความดันในหม้อ
น้ ามักจะติดตั้งใกล้ตวั หม้อน้ ามากที่สุดเพื่อให้ค่าที่อ่านได้ตรงตามความเป็ นจริ ง

หน้า 26 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.2.5.2 สวิทช์ ควบคุมความดัน (Pressure switch) 1


เป็ นสวิทช์ตดั ต่อวงจรไฟฟ้ าสาหรับควบคุมการทางานของระบบป้ อนเชื้ อเพลิง
หรื อหัวเผา เพื่อรั กษาความดันไอน้ าใช้งานให้อยู่ในช่ วงที่ ตอ้ งการ ทางานโดย
อาศัยหลักการขยายตัวของปรอทที่ บรรจุ ในหลอดแก้ว โดยเมื่ อความดันไอน้ า
เกิ ดการเปลี่ ยนแปลง เบลโลว์ (Bellow) หรื อ แผ่น ไดอะแฟรม (Diaphragm) ที่
ติดตั้งเข้ากับบริ เวณที่ตอ้ งการวัดและควบคุมความดันไอน้ าจะเกิดการขยายหรื อ
หดตัว ทั้ง เบลโลว์แ ละไดอะแฟรมต่ างมี ก ลไกเชื่ อ มโยงไปยัง สวิ ท ช์ ต ัด ต่ อ
วงจรไฟฟ้ าเพื่อควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้ าเข้าสู่ วงจรควบคุมทางานของหัวเผา
ต่อไป
1.2.5.3 สวิทช์ ควบคุมความดันไอนา้ แบบต่ อเนื่อง (Modulating pressure
control switch)
ทาหน้าที่ควบคุมวงจรไฟฟ้ าสาหรับควบคุมการเร่ งหรี่ ของระบบป้ อนเชื้ อเพลิง
หรื อหัวเผาอย่างต่อเนื่ อง สวิทช์ควบคุมความดันไอน้ าแบบต่อเนื่ องจะมีอุปกรณ์
ที่ ทาหน้าที่ แปลงความดันเป็ นสัญ ญาณไฟฟ้ าโดยอาศัย Potentiometer แล้วส่ ง
สัญญาณไฟฟ้ าที่ ได้ไปยังวงจรควบคุมการทางานของระบบป้ อนเชื้ อเพลิงหรื อ
หัวเผาต่อไป
1.2.5.4 สวิทช์ จากัดความดันไอนา้ สู งสุ ด (High limit pressure switch)
เป็ นสวิทช์ปรอทเช่นเดียวกับสวิทช์ควบคุมความดันไอน้ า แต่ทาหน้าที่เพื่อความ
ปลอดภัยเป็ นหลัก ในกรณี ที่ความดันไอน้ าเกินกว่าความดันไอน้ าใช้งานที่ต้ งั ไว้
สวิทช์น้ ี จะตัดวงจรไฟฟ้ าของระบบป้ อนเชื้อเพลิงหรื อหัวเผาให้หยุดการทางาน
ทันที อาจมีสัญญาณเตือน (Alarm) ดังขึ้น และสวิทช์จะล็อกตัวเองทันที หากทา
การแก้ไขข้อบกพร่ องของระบบที่ ทาให้ความดันมีค่าสู งเกินกว่าความดันไอน้ า
ใช้งานที่ ต้ งั ไว้เป็ นที่ เรี ยบร้อยแล้ว และต้องการจะเดิ นระบบป้ อนเชื้ อเพลิงหรื อ

หน้า 27 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 หัวเผาใหม่ จะต้องกดปุ่ มปลดล็อก (Reset) เสี ยก่อน ระบบทั้งหมดจึงจะสามารถ


เริ่ มต้นการทางานได้ตามปกติ

1.2.6 อุปกรณ์ ในระบบท่ อไอนา้


ไอน้ าความดันสู งพร้ อมใช้งานที่ ผลิ ตจากหม้อน้ าจะถู กลาเลี ยงผ่าน
ระบบท่อไอน้ าไปยังอุปกรณ์ ที่ใช้ไอน้ าที่ ติดตั้งอยูท่ วั่ ทั้งบริ เวณของสถาน
ประกอบการ นอกจากนี้ หากมีการติดตั้งหม้อน้ ามากกว่าหนึ่ งเครื่ องและทุก
เครื่ องทางานพร้อมกันแบบเสริ มกันแล้ว การรวมไอน้ าไปใช้งานต้องอาศัย
อุปกรณ์เฉพาะและได้รับการติดตั้งอย่างเหมาะสม

อุปกรณ์ ในระบบท่ อไอนา้ มีดงั นี้


1.2.6.1 ท่ อรวมไอนา้ (Steam header)
ทาหน้าที่เป็ นที่พกั รวมไอน้ าจากหม้อน้ าเครื่ องต่างๆ และแจกจ่ายไอน้ าไปใช้งาน
ตามอุปกรณ์ ต่างๆ โดยทัว่ ไปมักจะติ ดตั้งเหนื อพื้นห้อง ใกล้ๆ ตัวหม้อน้ า เพื่อ
สะดวกแก่การเปิ ดปิ ดวาล์วไอน้ า มี การติ ดตั้งเกจวัดความดันไอน้ าอยู่ดา้ นบน
และด้านล่างมีท่อระบายน้ าคอนเดนเสทพร้อมกับดักไอน้ า นอกจากนี้ ตอ้ งทาการ
ติดตั้งลิ้นกันกลับ (Check valve, non-return valve) ที่ท่อจ่ายไอน้ าของหม้อน้ าทุก
เครื่ อง เพื่อป้ องกันการไหลย้อนกลับของไอน้ าจากท่อรวมไอน้ าไปยังหม้อน้ า
เครื่ องที่มีความดันไอน้ าน้อยกว่าความดันไอน้ าในท่อรวมไอน้ า
1.2.6.2 ท่ อไอนา้ (Steam line)
ประกอบไปด้วยท่อประธานหรื อท่อเมน (Main steam line) และท่อแยก (Branch
steam line) ท าหน้าที่ ลาเลี ย งไอน้ าไปยังอุ ป กรณ์ ใช้ไอน้ าที่ ติด ตั้งอยู่ในแผนก
ต่างๆ ท่อไอน้ ามักจะถูกออกแบบให้มีขนาดโตพอที่ จะจ่ายไอน้ าได้เพียงพอต่อ
การใช้งาน โดยที่ความดันไอน้ าปลายทางไม่ตกลงมาก หากท่อไอน้ ามีความยาว

หน้า 28 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

มาก ไอน้ าบางส่ วนจะควบแน่ นกลายเป็ นคอนเดนเสท คอนเดนเสทที่เกิดขึ้นนี้ 1


หากไหลไปพร้ อ มกั บ ไอน้ าจะเกิ ด ปรากฏการณ์ ที่ เรี ยกว่ า ค้อ นน้ า (Water
hammer) ซึ่ งสามารถก่ อ ให้ เกิ ด ความเสี ย หายแก่ ท่ อ และอุ ป กรณ์ ใ ช้ไ อน้ าได้
ดังนั้นท่อไอน้ าทุกระยะ 30-50 เมตร ต้องมีการติดตั้งถังพักคอนเดนเสท (Pocket)
ที่มีขนาดใหญ่เพียงพอ และท่อระบายคอนเดนเสทผ่านกับดักไอน้ า (Steam trap)
ออกไป

1.2.7 อุปกรณ์ ที่ใช้ ไอนา้


อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ไอน้ า คื อ อุ ป กรณ์ ที่ น าความร้ อ นที่ ม าพร้ อ มกับ ไอน้ า
ออกไปใช้งาน ผ่านการถ่ ายเทความร้ อ นทั้งแบบความร้ อ นแฝง (Latent
heat) และความร้อนสัมผัส (Sensible heat)

อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ไอนา้ แบ่ งเป็ น 2 ประเภทตามลักษณะการใช้ ไอนา้ ได้ แก่


1.2.7.1 อุปกรณ์ ใช้ ไอนา้ โดยทางอ้ อม (Indirectly heated device)
น าความร้ อ นไปใช้ป ระโยชน์ โ ดยที่ ไ อน้ าไม่ ไ ด้สั ม ผัส กับ สิ่ ง รั บ ความร้ อ น
โดยตรง อุ ป กรณ์ ใ ช้ไ อน้ าโดยทางอ้อ มเสมื อ นหนึ่ งเป็ นสื่ อ กลางความร้ อ น
ระหว่างไอน้ าและสิ่ งรับความร้ อน มักใช้ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมใน
โรงพยาบาล และในโรงแรม เป็ นต้น ตัวอย่างของอุปกรณ์ใช้ไอน้ าโดยทางอ้อม
เช่ น ขดท่ อ ที่ มี ไอน้ าไหลอยู่ภายในคายความร้ อ นให้กับ ของเหลวนอกขดท่ อ
โต๊ะรี ดผ้า และเครื่ องแลกเปลี่ยนความร้ อนแบบเปลือกและท่อ (Shell and tube
heat exchanger) เป็ นต้น
1.2.7.2 อุปกรณ์ ใช้ ไอนา้ โดยทางตรง (Direct steam injected device)
น าความร้ อ นไปใช้ป ระโยชน์ โดยที่ ไอน้ าสั ม ผัส กับ สิ่ งรั บ ความร้ อ นโดยตรง
สามารถแบ่งย่อยได้เป็ น 2 แบบ คือ

หน้า 29 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 • แบบให้ ความร้ อนโดยพ่ นไอน้าลงในของเหลว (Direct steam injection into


liquid) เป็ นวิธีที่ใช้อุปกรณ์ ง่ายๆ ราคาถูก ไม่ตอ้ งใช้กบั ดักไอน้ า และไม่มีคอน
เดนเสทที่ จะเก็บกลับ มักใช้ในกระบวนการผลิตที่ ตอ้ งการอุณหภูมิไม่เกิ น 100
ºC ซึ่ งการใช้ไอน้ าอิ่มตัวความดันต่า ประมาณ 0.5 บาร์เกจ
• แบบให้ ความร้ อนโดยพ่ น ไอน้าเข้ าไปในภาชนะที่มีฝาปิ ดแน่ น (Direct steam
injection into product chamber) เป็ นวิธี ที่ ใช้ไอน้ าพ่ น เข้าไปยังผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่
บรรจุอยูใ่ นภาชนะปิ ดสนิ ทเพื่อ อบ ย่าง นึ่ ง (Cure) ฆ่าเชื้ อ (Sterilized) หรื อต้ม
ให้ สุ ก (Cook) เช่ น ตู ้อ บนึ่ งผลิ ต ภัณ ฑ์ ย าง (Autoclave) หม้ อ อบฆ่ า เชื้ อ โรค
(Sterilizer) หรื อหม้อต้มอาหารสาหรับบรรจุกระป๋ อง (Retort) เป็ นต้น สิ่ งสาคัญ
ของเครื่ องใช้ไอน้ าแบบนี้ คือ ต้องมี ภาชนะปิ ด และต้องมี ระบบไล่อากาศเป็ น
อย่างดี

1.2.8 อุปกรณ์ ในระบบระบายนา้ ออกจากหม้ อนา้ หรื อระบบโบลว์ ดาวน์


โดยทัว่ ไป น้ าภายในหม้อน้ าจะมีของแข็งแขวนลอยและแร่ ธาตุต่างๆ
เจือปนอยู่ เมื่อน้ าถูกผลิตเป็ นไอน้ าแล้ว ความเข้มข้นของสารเจือปนเหล่านี้
จะสู งขึ้นและเกิ ดการตกตะกอนหรื อตกผลึก ซึ่ งมี ผลอย่างยิ่งต่อการลดลง
ของประสิ ทธิ ภาพของหม้อน้ า รวมถึงความเสี ยหายของอุปกรณ์ต่างๆ ที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคต เพื่อป้องกันปั ญหาเหล่านี้ จึงจาเป็ นต้องมีการระบายน้ าใน
หม้อน้ าทิ้งผ่านระบบโบลว์ดาวน์

อุปกรณ์ ในระบบระบายนา้ ออกจากหม้ อนา้ ประกอบด้ วย


1.2.8.1 วาล์วระบายนา้ จากด้ านล่างหม้ อนา้ (Bottom blow down valve)
ทาหน้าที่ระบายโคลนตะกอนที่สะสมที่กน้ หม้อน้ าออกไป เพื่อรักษาคุณภาพน้ า
ในหม้อน้ าไว้ตามเกณฑ์

หน้า 30 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.2.8.2 วาล์วระบายนา้ จากด้ านบนหม้ อนา้ (Surface blow down valve) 1


ทาหน้าที่ระบายเพื่อควบคุมความเข้มข้นของสารละลายในน้ า

1.2.9 อุปกรณ์ ในระบบจัดการคอนเดนเสท


หลังจากที่ ไอน้ าคายความร้ อ นและกลั่น ตัวกลายเป็ นคอนเดนเสท
จาเป็ นต้องมีการระบายคอนเดนเสทออกจากอุปกรณ์ใช้ไอน้ าอย่างรวดเร็ ว
และถู กวิธี นอกจากนี้ การที่ ค อนเดนเสทที่ เกิ ดขึ้ น นั้นยังมี ความร้ อ นหลง
เหลืออยู่ ทาให้คอนเดนเสทมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิห้องอยูค่ ่อนข้างมาก
ดังนั้นจึงควรมีระบบนาคอนเดนเสทกลับไปใช้ใหม่โดยการนาไปผสมกับ
น้ าป้ อนเพื่ อเพิ่ มอุ ณ หภู มิน้ าป้ อนก่อนเข้าสู่ ห ม้อน้ า ถื อเป็ นการลดการใช้
พลังงานได้อีกทางหนึ่ ง ระบบจัดการคอนเดนเสทประกอบไปด้วยอุปกรณ์
ต่อไปนี้

ระบบจัดการคอนเดนเสทประกอบด้ วยอุปกรณ์ ต่อไปนี้


1.2.9.1 กับดักไอนา้
เมื่อไอน้ าให้ความร้อนแก่กระบวนการผลิตต่างๆ ไอน้ าจะคายพลังงานความร้อน
แฝงและความร้อนสัมผัสออกมา ขณะเดียวกันจะกลัน่ ตัวเป็ นของเหลวควบแน่น
หรื อคอนเดนเสท ซึ่ งจาเป็ นต้องระบายออกให้ทนั เนื่องจากน้ าคอนเดนเสทที่คา้ ง
อยูใ่ นอุปกรณ์ใช้ไอน้ าจะทาให้เครื่ องหรื ออุปกรณ์ไม่ร้อน และเกิดความเสี ยหาย
ต่อผลิตภัณฑ์ได้ วิธีการระบายน้ าคอนเดนเสทที่ดีและมีประสิ ทธิ ภาพ คือการใช้
วาล์วอัตโนมัติที่เรี ยกกันว่า กับดักไอน้ า (Steam trap) กับดักไอน้ าสามารถปรั บ
ปริ มาณการระบายคอนเดนเสทได้ต ามปริ ม าณคอนเดนเสทที่ เกิ ด ขึ้ นจริ ง
เช่น เมื่อคอนเดนเสทเกิดมาก วาล์วก็จะเปิ ดมาก หากเมื่อคอนเดนเสทเกิดน้อย

หน้า 31 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 วาล์วก็จะหรี่ เองโดยอัตโนมัติ และถ้าอุปกรณ์ใช้ไอน้ ามีแต่ไอน้ าโดยที่ไม่มีคอน


เดนเสทเกิดขึ้นวาล์วก็จะปิ ดสนิ ทเพื่อไม่ให้ไอน้ าไหลออก ดังนั้นการเลือกใช้กบั
ดักไอน้ า ขนาด ชนิ ด การติ ดตั้งและการดู แลตรวจสอบบ ารุ งรั กษา จึ งเป็ นสิ่ ง
สาคัญของเครื่ องใช้ไอน้ าในกระบวนการผลิตกับดักไอน้ านอกจากทาหน้าที่แยก
น้ าที่เกิดขึ้นในระบบไอน้ าหรื อเกิดจากการควบแน่นของไอน้ าออกไปจากระบบ
แล้ว ยังทาหน้าที่ ป้องกันการอั้นตัวของน้า (Water locked) อันอาจนาไปสู่ การ
เกิ ด แรงกระแทกอย่า งรุ น แรง หรื อ ที่ เรี ย กว่ า ปรากฏการณ์ ค้ อ นน้ า (Water
hammer) ซึ่ งมีผลทาให้ท่อ ข้อต่อ และอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ าต่างๆ ในกระบวนการ
ผลิตเกิดความเสี ยหาย กับดักไอน้ ายังมี หน้าที่ ในการระบายก๊าซและอากาศออก
จากระบบโดยไม่เกิดการสู ญเสี ยไอน้ า ก๊าซและอากาศเหล่านั้นสามารถแทนที่ไอ
น้ า ซึ่ งทาให้ความสามารถในการถ่ายเทความร้อนลดลง และยังกั้นไม่ให้ไอน้ าไป
ถึงพื้นผิวถ่ายเทความร้อนของอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่ องจักรในกระบวนการผลิต
ด้วยและในกรณี ที่เลวร้ายที่ สุดก็คือ ท่อหรื อชิ้ นส่ วนของอุปกรณ์ เกิ ดอากาศอัด
(Air locked) ทาให้อากาศเคลื่อนที่ ไม่ได้ ซึ่ งแม้แต่ไอน้ าควบแน่ นก็ไม่สามารถ
ไหลออกไปได้สามารถแบ่งกับดักไอน้ าตามหลักการทางาน หรื อตามโครงสร้าง
ทางกลไกของอุปกรณ์ภายในออกเป็ น 4 กลุ่ม ได้ดงั นี้
• กั บ ดั ก ไอน้ าท างานโดยความร้ อน (Thermostatic trap) ท างานโดยใช้ค วาม
แตกต่างระหว่างอุณหภูมิของไอน้ าและคอนเดนเสทเป็ นตัวทาให้วาล์วเปิ ดและ
ปิ ดคอนเดนเสทจะต้องเย็นลงต่ากว่าอุณหภูมิไอน้ าก่อนที่จะถูกปล่อยออกจากกับ
ดักไอน้ า
• กับดักไอน้าทางานโดยกลไก (Mechanical trap) ทางานโดยอาศัยความแตกต่าง
ของความหนาแน่ นระหว่างไอน้ าและคอนเดนเสทเป็ นตัวทาให้กลไกที่ ต่อกับ
ลูกลอย (Float) หรื อถ้วย (Bucket) สามารถเปิ ดหรื อปิ ดวาล์วได้

หน้า 32 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

• กับ ดักไอน้าทางานโดยการเคลื่ อนไหวเนื่ องจากความร้ อน (Thermodynamic 1


trap) ทางานโดยอาศัยความ แตกต่างในความเร็ วระหว่างไอน้ าและคอนเดนเสท
ที่ไหลผ่านตัววาล์วที่มีลกั ษณะเป็ นจานกลม ซึ่ งจะปิ ดเมื่อมีไอน้ าไหลเข้ามาด้วย
ความเร็ ว สู ง และจะเปิ ดเมื่ อ มี ค อนเดนเสทไหลเข้ามาด้ว ยความเร็ ว ที่ ต่ ากว่า
บางครั้งเรี ยกกับดักไอน้ าในกลุ่มนี้ วา่ กับดักไอน้ าแบบเทอร์ โมไดนามิก
• กั บ ดั ก ไอน้ า ชนิ ด อื่ น ๆ (Miscellaneous trap) ประกอบด้ว ยกับ ดัก ไอน้ าที่ ไ ม่
สามารถจัด เข้ากลุ่ ม ใดๆ ข้างต้น ได้ เช่ น แบบ Impulse แบบ Labyrinth และ
แบบแผ่น Orifice เป็ นต้น
1.2.9.2 ท่ อล าเลี ย งคอนเดนเสทกลั บ ไปใช้ ใหม่ (Condensate recovery or
condensate return)
การน าคอนเดนเสทกลับ ไปลงในถัง น้ าป้ อ น (Feed water tank) ผ่ านทางท่ อ
ลาเลียงคอนเดนเสท โดยผสมกับน้ าป้ อนที่ ผ่านระบบปรับปรุ งคุณภาพน้ า เพื่อ
ป้ อ นเข้ า สู่ หม้ อ น้ าต่ อ ไป คอนเดนเสทสามารถมี อุ ณ หภู มิ เกิ น 100 oC ได้
โดยขึ้นอยูก่ บั ความดันไอน้ าเข้าเครื่ อง เนื่ องจากความดันไอน้ ายิ่งสู ง อุณหภูมิ
คอนเดนเสทก็จะสู งตาม ดังนั้นในการเก็บคอนเดนเสทกลับมาใช้ใหม่ จึ งควร
ตั้งเป้ าหมายว่า อุณหภูมิน้ าในถังน้ าป้ อนจะต้องเพิ่มขึ้นใกล้เคียง 100 oC ให้มาก
ที่สุดเท่าที่จะทาได้
1.2.9.3 ถังแฟลช
เมื่ อคอนเดนเสทภายใต้ความดันถูกปล่อยออกจากกับดักไอน้ า ไม่ ว่าจะออกสู่
บรรยากาศโดยตรง หรื อไหลผ่านท่อลาเลี ยงกลับไปลงถังน้ าป้ อนที่ เปิ ดออกสู่
บรรยากาศ ส่ ว นหนึ่ งของคอนเดนเสทจะเกิ ด การแฟลชหรื อ ระเหยอี ก ครั้ ง
(Re-evaporation) กลายเป็ นไอน้ าที่ เรี ย กว่ า ไอน้ าแฟลช (Flash steam) ไอน้ า
แฟลชเกิ ดขึ้ นเมื่ อความดันของคอนเดนเสทที่ มีอุณ หภู มิสูงลดลงอย่างรวดเร็ ว

หน้า 33 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 ยิ่งความดัน ของคอนเดนเสทที่ อ อกจากกับ ดักไอน้ าและความดัน ที่ เกิ ด ไอน้ า


แฟลชแตกต่างกันมากเท่าใด ปริ มาณไอน้ าแฟลชก็ยงิ่ เกิดได้มากขึ้นเท่านั้น ไอน้ า
แฟลชนี้ เป็ นสิ่ งส าคัญ ที่ เป็ นประโยชน์ ต่ อ การประหยัด พลัง งานในสถาน
ประกอบการ เพราะไอน้ าแฟลชมีคุณสมบัติและค่าความร้อนใกล้เคียงกับไอน้ าที่
ผลิตจากหม้อน้ า จึงสามารถนาไปใช้กบั อุปกรณ์ที่ตอ้ งการความร้อน หรื อความ
ดัน ไอน้ าที่ ต่ ากว่า อุ ป กรณ์ ใ นระบบไอน้ าหลัก ได้ การน าไอน้ าแฟลชมาใช้
ประโยชน์จะต้องมีถงั แฟลช (Flash tank) ทาหน้าที่แยกไอน้ าแฟลชออกจากคอน
เดนเสท ถังแฟลช ควรมี ขนาดใหญ่ เพียงพอที่ จะทาให้ไอน้ าแฟลชที่ พุ่งขึ้ นไป
ตอนบนมี ความเร็ วต่าลง เพื่อป้ องกันไม่ ให้ละอองน้ าติ ดไปกับไอน้ าแฟลชได้
หรื อหากออกแบบถังแฟลชให้สามารถลดความเร็ วไอน้ าแฟลชให้ต่าลงได้ ความ
สู งของถังแฟลชก็สามารถลดลงได้ โดยทัว่ ไปถังแฟลชจะมี ความสู งประมาณ
1.0-1.2 เมตร
1.2.9.4 ถังไล่อากาศ (Deaerator)
ทาหน้าที่ ไล่ก๊าซ (Degasification) ที่ ละลายอยู่ในน้ าป้ อนที่ จะเข้าสู่ หม้อน้ าและ
คอนเดนเสทที่นากลับมาใช้ใหม่ โดยใช้ความร้อนของไอน้ าบางส่ วนที่แบ่งจาก
ระบบไอน้ าหลักเหตุที่ตอ้ งมีการกาจัดก๊าซออก เนื่ องจากก๊าซที่ละลายอยูใ่ นน้ าจะ
เป็ นตัวการให้เกิดการกัดกร่ อนในด้านน้ าภายในหม้อน้ า ก๊าซที่สามารถละลายอยู่
ในน้ าและทาให้เกิ ดการกัดกร่ อนเป็ นอย่างมากคือ ออกซิ เจน โดยจะทาให้เกิ ด
การกัดกร่ อนในลักษณะเป็ นหลุม (Pitting corrosion) ส่ วนอีกก๊าซที่ทาให้เกิดการ
กัดกร่ อนคือคาร์ บอนไดออกไซด์ ซึ่ งจะทาให้เกิดกรดคาร์ บอนิ ก (Carbonic acid)
ที่ สามารถกัดกร่ อนเหล็กได้ ถังไล่อากาศต้องเป็ นถังที่ สามารถรั บความดันได้
(Pressure vessel) โดยทัว่ ไปมีการออกแบบและติดตั้งทั้งแบบถังตั้งหรื อแบบถัง
นอน

หน้า 34 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.3 อุปกรณ์ เผาไหม้ เชื้อเพลิงของหม้ อไอนา้ 1


การเผาไหม้เชื้อเพลิงแต่ละชนิ ดต้องทาการออกแบบอุปกรณ์ที่ช่วยให้
อากาศทาปฏิ กิริยากับเชื้ อเพลิ งได้ดีที่สุดเพื่อให้ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้
สู งสุ ด อุปกรณ์เผาไหม้เชื้อเพลิงเหลวและก๊าซเรี ยกว่า หัวเผา(Burner) ซึ่ งมี
ความแตกต่างกันตามชนิดเชื้อเพลิง ดังนี้
1.3.1 การเผาไหม้ เชื้อเพลิงก๊าซ
หัวเผาเชื้อเพลิงก๊าซ (Gas fuel burner) คือหัวเผาที่ออกแบบมาสาหรับ
ใช้ใ นการสั น ดาปเชื้ อ เพลิ ง ก๊ า ซ สามารถแบ่ ง หั ว เผาเชื้ อ เพลิ ง ก๊ า ซตาม
ขั้นตอนในการผสมเชื้อเพลิงก๊าซกับอากาศได้เป็ น 2 ลักษณะใหญ่ๆคือ
1.3.1.1 หั ว เผาเชื้ อ เพลิง ก๊ าซแบบผสมเชื้ อ เพลิ ง กั บ อากาศก่ อ นป้ อ นเข้ า
เผาไหม้ (Pre-mix gas burner) หัวเผาลักษณะนี้ จะมีหอ้ งผสมเชื้อเพลิงก๊าซ
ให้เข้ากันกับ อากาศก่ อนที่ จะป้ อ นเข้าสู่ ห้องเผาไหม้ห รื อหัวเผา ลักษณะ
และหลักการทางานของหัวเผาเชื้ อเพลิงก๊าซแบบผสมเชื้ อเพลิ งกับอากาศ
ก่อนป้อนเข้าเผาไหม้แสดงได้ดงั รู ป

Burner Burner

100% Premix
Low Pressure
Gas

Air Air
High Pressure Gas Pressurized Air
Injector & Burner Proportional
Mixer & Burner

รู ปที่ 1.3-1 หัวเผาเชื้อเพลิงก๊าซแบบผสมเชื้อเพลิงกับอากาศก่อนป้อนเข้าเผาไหม้

หน้า 35 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 1.3.1.2 หั วเผาเชื้ อ เพลิงก๊ าซแบบผสมกัน ภายในหั ว เผา (Nozzle-mix gas


burner) หัวเผาลักษณะนี้ จะไม่มีหอ้ งผสมเชื้อเพลิงก๊าซให้เข้ากันกับอากาศ
แต่จะมี การป้ อนเชื้ อเพลิ งก๊าซและอากาศเข้าพร้ อมกันที่ บ ริ เวณด้านหน้า
หั ว เผา ดัง นั้ น เชื้ อ เพลิ งและอากาศจะผสมกัน และเกิ ด การสั น ดาปขึ้ น ที่
บริ เวณหน้าหัวเผา ลักษณะและหลักการท างานของหัวเผาเชื้ อเพลิ งก๊ าซ
แบบผสมกันภายในหัวเผาแสดงได้ดงั รู ป

รู ปที่ 1.3-2 หัวเผาเชื้อเพลิงก๊าซแบบผสมกันภายในหัวเผา

1.3.2 การเผาไหม้ เชื้อเพลิงเหลว


หัวเผาเชื้อเพลิงเหลวหรื อน้ ามัน (Liquid fuel burner) ทุกประเภทจะ
มี ข้ ัน ตอนการท างานที่ ส าคัญ เหมื อ นกัน 2 ขั้น ตอน คื อ Filming ซึ่ งเป็ น
ขั้ นตอนท าให้ น้ ามั น ก่ อ ตั ว เป็ นแผ่ น ฟิ ล์ ม บางมากๆ (Oil film) และ
Disintegration คือขั้นตอนทาให้แผ่นน้ ามันบางที่ เกิดจากขั้นตอนแรกแตก
กระจายเป็ นอนุ ภาคเล็กๆ (Oil droplet) โดยอาศัยความไม่เสถี ยรที่ มีอยู่ใน
ตั ว ของแผ่ น น้ ามั น บางเองหรื อโดยใช้ ข องไหลอื่ น มาท าให้ แ ตกตั ว

หน้า 36 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

สาหรับหัวเผาเชื้อเพลิงเหลวหรื อน้ ามันสามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะ 1


คือสาหรับหัวเผาเชื้อเพลิงเหลว แบ่งเป็ น 3 แบบ ดังนี้

1.3.2.1 หั ว เผาแบบพ่ น ฝอยโดยใช้ ความดั น น้ า มั น (Pressure atomized


burner) ทางานได้โดยอาศัยความดันของน้ ามันเพื่อฉี ดให้เป็ นฝอย หัวเผา
แบบนี้ เหมาะส าหรั บ หม้อ น้ าขนาดใหญ่ เช่ น ในเรื อ เดิ น สมุ ท รและใน
โรงจักรไฟฟ้ า หัวเผาชนิ ดนี้ ทางานโดยการปั้ มน้ ามันเชื้ อเพลิงภายใต้ความ
ดัน สู ง (70-300 psi) และมี ค วามหนื ด ต่ า ประมาณ 50-120 sec Redwood
No.1 (ส่ วนใหญ่จะต้องมี การอุ่นน้ ามันให้ร้อนเพื่อลดความหนื ดก่อนที่ จะ
ป้อนเข้าหัวเผา) ผ่านไปยังรู เล็กๆ เพื่อให้ได้ผลของการเผาไหม้ที่ดี น้ ามันจะ
ถู ก อัด ผ่านช่ อ งทางเล็ ก ๆ ในSwirl chamber ท าให้ ฝ อยน้ ามัน ที่ อ อกมามี
ความเร็ ว ทั้ งที่ พุ่ ง ไปข้ า งหน้ า และความเร็ ว หมุ น รอบตั ว (Rotational
velocity) โดยมีทิศสวนทางกับการหมุนเหวีย่ งของอากาศที่ป้อนเข้าเผาไหม้
เพื่อให้ได้การคลุกเคล้า (Mixing) ที่ ดี ทาให้ฝอยละเอี ยดของน้ ามันระเหย
เป็ นไอได้รวดเร็ ว การผสมกันระหว่างน้ ามันกับอากาศเกิดขึ้นอย่างดียิ่งขึ้น
ส่ งผลท าให้ ได้ก ารเผาไหม้ส มบู ร ณ์ แ ละสะอาด หั วเผาแบบนี้ ใช้งานได้
สะดวกเพราะสามารถปรั บ ความดันและอัตราการไหลของน้ ามัน ได้ง่าย
แต่มีขอ้ เสี ยคือรู ของหัวเผามักจะมีฝนผงหรื
ุ่ อสิ่ งสกปรกอื่นๆ ไปอุดตันบ่อย
จึงต้องทาความสะอาดบ่อย และทาความสะอาดไส้กรองน้ ามันด้วย ลักษณะ
หลักการทางานและอุปกรณ์ของหัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ความดันน้ ามัน
แสดงได้ดงั ในรู ป

หน้า 37 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 หัวฉี ดที่ใช้ในหัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ความดันน้ ามัน สามารถแบ่ง


ตามลักษณะการไหลของน้ ามันผ่านหัวฉี ดได้เป็ น 2 แบบ คือ
(ก) หั ว ฉี ด แบบไม่ มี น้ ามัน ไหลกลับ (Non-oil return or non-recirculation
nozzle)
(ข) หัวฉี ดแบบมีน้ ามันไหลกลับ (Oil return or recirculation nozzle)
ข้ อดีของหัวเผาแบบใช้
ข้ อเสี ย
ความดันนา้ มัน
- โครงสร้างเรี ยบง่าย ใช้งานง่าย - ให้ค่าสัดส่ วน Turn-down ต่า (อัตราส่ วน
และราคาถูก ของการสิ้ นเปลือง น้ ามันสู งสุ ดกับต่าสุ ด)
- มีหลายขนาดให้เลือกเพื่อให้ ดังนั้นถ้าจะให้ภาระการสันดาป
เหมาะสมกับการใช้งาน เปลี่ยนแปลงได้ในช่วงกว้าง จาเป็ นต้อง
- สามารถปรับรู ปร่ างของเปลว เพิ่มจานวน Atomizer ให้มากขึ้น
ไฟได้ - ทางานในลักษณะ On-off เท่านั้น และใช้
งานในสภาวะภาระทางความร้อนไม่
เปลี่ยนแปลง
- ใช้ปัมน้ ามันความดันสู ง และต้องการ
อุณหภูมิในการอุ่นน้ ามันที่สูง
- น้ ามันที่สกปรกจะทาให้หวั เผาอุดตันจึง
ต้องมีการกรองน้ ามันอย่างละเอียด
- เกิดความเสี ยหายได้ง่ายระหว่างการทา
ความสะอาด

หน้า 38 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

รู ปที่ 1.3-3 หัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ความดันน้ ามัน

หน้า 39 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 1.3.2.2 หั ว เผาแบบพ่ น ฝอยโดยใช้ ไอน้าหรื อ อากาศ (Steam or air atomized


burner) หรื อ ที่ เรี ย กว่ า หั ว เผาแบบของไหลคู่ (Twin-fluid atomized burner)
เป็ นหัวเผาที่ใช้ลมหรื อไอน้ าเพื่อฉี ดน้ ามันเชื้อเพลิงให้เป็ นฝอย หลักการทางาน
ของหัวเผาแบบนี้ คือจะมี น้ ามันไหลผ่านในท่อขนาดเล็กซึ่ งวางเรี ยงตัวกันอยู่
ด้านในของท่อใหญ่ โดยมีอากาศหรื อไอน้ าภายใต้ความดันสู งไหลผ่านในท่อ
ด้านนอก ที่ ปลายท่อทั้งสอง น้ ามันและอากาศหรื อไอน้ า จะถูกเป่ าให้กระทบ
กันจึงทาให้น้ ามันแตกตัวเป็ นฝอยเล็กๆ ลักษณะ หลักการทางาน และอุปกรณ์
ของหัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ไอน้ าหรื ออากาศแสดงได้ดงั รู ป
หัวเผาแบบพ่ นฝอยโดยใช้ ไอน้าหรื ออากาศแบ่ งออกได้ เป็ น 3 ประเภทตามความ
ดันของลมหรื อไอน้ าที่ใช้ในการเป่ ากระทบให้น้ ามันเป็ นฝอย ดังนี้
(ก) หัวเผาแบบความดันต่า ใช้อ ากาศความดัน ประมาณ 1.08 บาร์ ปริ ม าณ
(Low pressure burner) ของอากาศที่ เป่ ากระทบเท่ า กั บ 25-40% ของ
อากาศที่ ต ้ อ งการใช้ เพื่ อ ท าให้ ก ารเผาไหม้ ที่
สมบู ร ณ์ เหมาะส าหรั บ หม้ อ น้ าในโรงงาน
อุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง
(ข) หั ว เผาแบบความดั น ใช้อากาศความดันระหว่าง 1.25-2.00 บาร์ ในการ
ปานกลาง เป่ ากระทบ ปริ มาณอากาศที่ใช้เป่ ากระทบเท่ากับ
(Medium pressure burner) 3-5% ของอากาศทั้งหมดที่ ตอ้ งการใช้ในการเผา
ไหม้ที่ ส มบู ร ณ์ หั ว เผาประเภทนี้ ส่ ว นใหญ่ จ ะ
นามาใช้กบั เตาถลุงโลหะ
(ค) หัวเผาแบบความดันสู ง ใช้ อ ากาศที่ มี ค วามดั น ประมาณ 2.00-4.45 บาร์
(High pressure burner) ปริ ม าณอากาศที่ ใ ช้ เป่ ากระทบเท่ า กับ 2-3% ของ
อากาศทั้งหมดที่ตอ้ งการใช้ในการเผาไหม้ที่สมบูรณ์

หน้า 40 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ข้ อดีของหัวเผาแบบใช้ ไอนา้ หรื ออากาศ ข้ อเสี ย 1


- มีโครงสร้างที่แข็งแรง - ค่าใช้จ่ายแพงกว่าเนื่องจากมีการ
- ให้ค่าเทิร์นดาวน์เรโช (Turn down ratio) ใช้พลังงาน เพื่ออัดอากาศหรื อ
สู ง คือ 4:1 ไอน้ า
- ใช้น้ ามันความดันต่า
- ให้ขนาดของ Droplet เล็กกว่า
- ให้การผสม (Mixing) ระหว่าง Droplet
กับอากาศดีกว่า
- ตอบสนองต่อภาระทางความร้อน
(Thermal load) ได้เร็ วกว่า
- ในกรณี ซ่ ึ งของไหลที่ทาให้เกิดการแตก
ตัวของน้ ามันเป็ นไอน้ า จะสามารถช่วย
ลดการก่อตัวของคาร์ บอนลงได้ โดยที่
ประสิ ทธิ ภาพของการเผาไหม้เกือบจะ
ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อใช้ ปริ มาณของไอน้ า
ต่ากว่า 9% ของอากาศที่ใช้ ในการเผา
ไหม้

หน้า 41 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

รู ปที่ 1.3-4 หัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ไอน้ าหรื ออากาศ

หน้า 42 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.3.2.3 หัวเผาแบบใช้ แรงเหวี่ยงของถ้ วยหมุน (Rotary cup burner) อาศัย 1


แรงเหวีย่ งหนีศูนย์กลางเพื่อกระจายน้ ามันให้เป็ นฝอย การทางานของหัวเผา
ชนิ ดนี้ คือ น้ ามันจะถูกป้ อนทางท่อด้านในของกรวยที่ กาลังหมุนรอบแกน
ด้วยความเร็ วรอบประมาณ 3,500-4,000 รอบต่อนาที แรงหนี ศูนย์กลางจะ
ทาให้น้ ามันจะถูกเหวี่ยงไปแนบกับผนังด้านในถ้วยแผ่ออกเป็ นแผ่นบาง
และถู ก สะบัด ออกจากปากถ้ว ยมาพบกับ อากาศปฐมภู มิ (Primary air)
ที่ ห มุ น เหวี่ยงออกมาจากหัว ฉี ด อากาศ (Air nozzle) ที่ อ ยู่ร อบถ้วยในทิ ศ
ตรงกัน ข้ามกับ การหมุ น เหวี่ย งของน้ ามัน ท าให้ฟิ ล์ม น้ ามัน ถู กตี แ ผ่แ ละ
กระจายออกมาเป็ นฝอยละเอียด จากนั้นจึ งระเหยเป็ นไอ และติดไฟทันที
อากาศส่ ว นแรกนี้ ถู ก ใช้ไ ปประมาณ 15-20% ของอากาศทั้ง หมด ส่ ว น
อากาศทุติยภูมิ (Secondary air) จะไหลทางด้านข้างของหัวเผา หัวเผาแบบนี้
เหมาะที่ จะใช้กบั น้ ามันที่ มีความหนื ดสู ง เช่ น น้ ามันเตา เป็ นต้น ลักษณะ
หลักการทางาน และอุ ปกรณ์ ของหัวเผาแบบใช้แรงเหวี่ยงของถ้วยหมุ น
แสดงดังรู ป

ข้ อดีของหัวเผาแบบใช้ แรงเหวีย่ ง
ข้ อเสี ย
ของถ้ วยหมุน
- ใช้งานได้สะดวก - การบารุ งรักษาซับซ้อน
- สามารถใช้ได้กบั อัตราการป้อนน้ ามันซึ่ ง ยุง่ ยากและราคา แพง
ไม่คงที่ได้ โดยสามารถให้ละอองน้ ามันที่ - ต้องใช้ไฟฟ้าเพื่อหมุนถ้วย
ละเอียดสม่าเสมอกันตลอด ช่วงอัตราการ - การสึ กหรอมักเกิดที่ขอบ
ป้อนน้ ามันที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้วย ทาให้น้ ามันแตกเป็ น
ฝอยละเอียดไม่สม่าเสมอ

หน้า 43 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 ข้ อดีของหัวเผาแบบใช้ แรงเหวีย่ ง
ข้ อเสี ย
ของถ้ วยหมุน
- สามารถปรับอัตราการป้อนน้ ามันได้สูง - อาจเกิดตะกอนน้ ามัน
หรื อให้ค่าสัดส่ วน Turn- down สู ง คือ สะสมภายในถ้วยจึง
10:1โดยไม่จาเป็ นต้องเพิ่มจานวนของหัว จาเป็ นต้องถอดออกทา
เผา ความสะอาดบ่อยๆ
- ไม่มีปัญหาเรื่ องอุดตันของน้ ามันเพราะ
ท่อทางไหลในตัวหัวเผามีขนาดใหญ่
- ความดันป้อนของน้ ามันเชื้อเพลิงต่า ง่าย
ต่อการทางาน
- สามารถควบคุมขนาดของหยดเชื้อเพลิง
(Oil droplet) ได้ง่ายเพียงแต่ควบคุม
ความเร็ วรอบของถ้วยหมุน เพราะขนาด
เฉลี่ยของหยดเชื้อเพลิงเป็ นสัดส่ วนผกผัน
กับความเร็ วรอบของการหมุนของถ้วย

หัวเผาเชื้ อเพลิงเหลวที่ ใช้ในประเทศไทยโดยส่ วนใหญ่แล้วนาเข้าจาก


ประเทศต่างๆ หลายประเทศ และมีหลากหลายยี่ห้อ ซึ่ งสามารถสรุ ปยี่ห้อตาม
ชนิดของหัวเผาได้ดงั นี้
(ก) หัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ความดันน้ ามัน มียี่ห้อ Weishaupt/Monarch,
Olympia, Elco Klockner, Bentone, Baltur Riello, Oertli, Nuway, Ray
Henchel, และ Wanson (Thermo Pac) เป็ นต้น

หน้า 44 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

(ข) หั ว เผาแบบพ่ น ฝอยโดยใช้อ ากาศ มี ยี่ห้ อ Cleaver Brooks, Kewanee, 1


Yorkshipley, Ray, และ Hauwk เป็ นต้น
(ค) หัวเผาแบบพ่นฝอยโดยใช้ไอน้ า มียหี่ อ้ IHI, Takuma, และ Kure เป็ นต้น
(ง) หั ว เผาแบบใช้ แ รงเหวี่ ย งของถ้ว ยหมุ น มี ยี่ห้ อ Saacke, Hamworthy,
MP.Boiler, Sunray, และ Ray เป็ นต้น

หน้า 45 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

รู ปที่ 1.3-5 หัวเผาแบบใช้แรงเหวี่ยงของถ้วยหมุน

หน้า 46 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ตารางที่ 1.3-1 ลักษณะการใช้งานหัวเผาแบบต่าง ๆ 1


แบบใช้ ความดันอากาศ/ไอนา้ ฉีดนา้ มัน แบบความดัน แบบโรตารี่
นา้ มัน
ความดันต่า ความดันสู ง
พิกดั การใช้ 1.5-180 L/h 10-5000 L/h 50-10000 L/h 10-300 L/h
เชื้อเพลิง
ตัวกลางที่ใช้ อากาศ/ไอน้ า อากาศ/ไอน้ า - -
ความดันนา้ มัน 0.1–1 Barg 0.2-9.0 Barg 14-18 Barg 0.5-10 Barg
ความดันในการฉีด 0.4-2.0 Barg 2-10 Barg - 1-3 Barg

ข้ อดี ค่าใช้จ่ายต่า ฉี ดน้ ามันได้ละเอียด ค่าใช้จ่ายต่า ค่าใช้จ่ายต่า


ไม่มีปัญหาอุดตัน เงียบ
ข้ อเสี ย ต้องใช้พดั ต้องใช้ไฟฟ้า ตอบสนองช้า มีเฉพาะ
ลม/ ต้องใช้ปัม ขนาดใหญ่
ปั มลม

ก. การเลือกหัวเผาให้ เหมาะกับลักษณะการใช้ งาน


การเลื อกใช้หัวเผาให้เหมาะกับ ลักษณะการใช้งาน จะส่ งผลให้เกิ ด
การใช้เชื้ อเพลิงอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมีตน้ ทุนที่ เหมาะสม โดยสามารถ
จัดแบ่ งหัวเผาตามลักษณะการใช้งานเพื่ อ ให้เกิ ดประสิ ท ธิ ภาพดี ที่ สุ ดได้
ดังนี้

หน้า 47 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 หัวเผาแบ่ งตามลักษณะการใช้ งานเพื่อให้ เกิดประสิ ทธิภาพดีที่สุดเป็ น 3 แบบ


1) หัวเผาแบบเผาต่ อเนื่อง (Modulating Burners)
หัวเผาแบบนี้ เหมาะสาหรับกรณี ที่ภาระไอน้ ามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดย
ปริ มาณเชื้อเพลิงที่หวั เผาป้ อนเพื่อผลิตไอน้ าจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการใช้
ไอน้ า เพื่อรักษาความดันไอน้ าตามที่กาหนดไว้ กล่าวคือ เมื่อค่าความดันไอน้ าใน
หม้อไอน้ าสู งเกินกว่าที่กาหนดไว้ หัวเผาจะลดปริ มาณเชื้อเพลิงลง และเมื่อความ
ดันไอน้ าต่ากว่าที่กาหนดไว้ หัวเผาจะเพิ่มปริ มาณเชื้อเพลิงให้มากขึ้น

2) หัวเผาแบบไฟสู ง-ต่า (High/Low-Fire Burners)


หัวเผาแบบนี้ สามารถป้ อนเชื้อเพลิงด้วยอัตราคงที่ 2 ระดับ คือ ไฟสู ง (High Fire)
และไฟต่า (Low Fire) ซึ่ งทั้งนี้ ข้ ึนกับสภาพการใช้ไอน้ าและช่วงของการควบคุม
ความดันไอน้ าที่ต้ งั ไว้ท้ งั 2 ระดับ ซึ่ งหัวเผาลักษณะนี้ เหมาะสาหรับภาระไอน้ าที่
เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก

หน้า 48 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

3) หัวเผาแบบไฟตัด-ต่ อ (Constant-Fire or ON-OFF Burners) 1


หัวเผาแบบนี้ เหมาะสาหรั บภาระไอน้ าคงที่ เชื้ อเพลิงที่ ถูกป้ อนเข้าหัวเผาอัตรา
เดี ยวขึ้ นกับความดันไอน้ าในหม้อไอน้ าที่ ต้ งั ไว้ คือ เมื่ อความดันไอน้ าเกิ นกว่า
ที่ต้ งั ไว้หัวเผาก็จะตัด (OFF) การป้ อนเชื้ อเพลิง และหากความดันต่ากว่าที่ ต้ งั ไว้
หัวเผาก็จะต่อ (ON) การป้อนเชื้อเพลิง

การเลือกใช้หัวเผากับหม้อไอน้ าจาเป็ นต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับภาระ


ของไอน้ า หากภาระไอน้ามี การเปลี่ยนแปลงมาก ควรเลื อกหั วเผาที่มี ค่า
เทิ ร์ น ดาวน์ เรโช (Turn Down Ratio) สู ง ซึ่ งจะช่ ว ยให้ ก ารผลิ ต ไอน้ ามี
ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น เช่ น หัวเผาแบบ High-fire/Low-fire มี ค่าเทิ ร์นดาวน์
เรโช 3:1 ขณะที่ หัวเผาแบบเผาต่อเนื่ องซึ่ งมีราคาและประสิ ทธิ ภาพสู งจะมี
ค่าเทิร์นดาวน์เรโช 10:1

ค่ าเทิร์นดาวน์ เรโช (Turn Down Ratio) = อัตราการเผาไหม้สูงสุ ด (Maximum Firing Rate) /


อัตราการเผาไหม้ต่าสุ ด(Minimum Firing Rate)

หน้า 49 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 โดยที่ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ยงั ดีเช่นเดิม ดังนั้น หัวเผาที่มีค่าเทิร์น


ดาวน์เรโช 10:1 จะสามารถลดการผลิตไอน้ าลงเหลือ 10% ของกาลังผลิ ต
ไอน้ าสู งสุ ด โดยที่หม้อไอน้ าไม่มีการตัดการเผาไหม้

1.3.3 การเผาไหม้ เชื้อเพลิงแข็ง


เชื้ อ เพลิ งแข็งเป็ นเชื้ อ เพลิ งที่ ติ ด ไฟยากและมี ปั ญ หาในการจัด การ
ค่อนข้างมาก เช่น ปัญหาในการขนย้ าย ปัญหาพื้นที่ในการเก็บ และปัญหา
ด้ านสิ่ งแวดล้ อม ดังนั้นการใช้เชื้อเพลิงแข็งโดยทัว่ ไปมักจะทาให้เชื้อเพลิงมี
ขนาดเล็ ก ลง เพื่ อ ให้ อ ั ต ราการเผาไหม้ เ ป็ นไปอ ย่ า งรวดเร็ วและมี
ประสิ ทธิ ภาพสู ง โดยมี เตาเผาทาหน้าที่ เผาไหม้เชื้ อเพลิงให้ได้ความร้ อน
เพื่อเอาก๊าซร้ อนไปใช้ประโยชน์ต่อไป เช่น การนาความร้อนที่ ได้ไปผลิต
ไอน้ าร้อนที่ มีความดันสู งเพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้ า หรื อใช้ในกระบวนการ
ผลิต ในการเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็งนั้นเตาเผาถือว่าเป็ นหัวใจสาคัญเพราะการ
จะนาพลังงานเคมี ในเชื้ อเพลิงเปลี่ยนมาเป็ นพลังงานความร้ อนให้ได้มาก
ที่สุดนั้น เตาเผาที่ใช้จะต้องมีประสิ ทธิ ภาพที่ดีและเหมาะสมกับการใช้งาน
กับเชื้อเพลิงในแต่ละประเภท ซึ่ งระบบการป้ อนเชื้อเพลิงของเตาเผาที่ใช้อยู่
ทัว่ ไปมี 5 ระบบ ได้แก่
1)ระบบการป้อนเชื้อเพลิงด้ วยคน (Manual Feed)
ต้อ งอาศัย คนงานที่ มี ค วามช านาญในการกระจายเชื้ อ เพลิ ง ให้ ท ั่ว
สม่าเสมอบนตะกรับเตาไฟ อากาศที่ใช้สาหรับเผาไหม้จะถูกส่ งจากใต้เตา
เหนื อ ตะกรั บ เตาไฟ ส่ ง ผลให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการเผาไหม้ข องระบบนี้
ค่อนข้างต่า

หน้า 50 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

2) ระบบสโตกเกอร์ (Stoker Feed) 1


เป็ นระบบที่ป้อนเชื้อเพลิงเข้าสู่ เตาโดยอาศัยเครื่ องกล ข้อดีของระบบ
นี้ คือ มี ราคาถูกและสามารถออกแบบให้ใช้ได้กบั เชื้ อเพลิงแข็งหลายชนิ ด
โดยระบบนี้สามารถแบ่งตามลักษณะการป้อนเชื้อเพลิงได้เป็ น 2 ชนิด คือ
(ก) ระบบสโตกเกอร์ ที่เชื้อเพลิงถูกป้อนเข้าสู่ เตาทางด้านบน
(Overfeed Stoker)
(ข) ระบบสโตกเกอร์ ที่เชื้อเพลิงถูกป้อนเข้าสู่ เตาทางด้านล่าง
(Underfeed Stoker)

ก. ระบบสโตกเกอร์ ที่เชื้ อเพลิงถูกป้ อนเข้ าสู่ เตาทางด้ านบน เชื้อเพลิง


จะถูกป้ อนเข้าสู่ เตาทางด้านบน หรื อสู งกว่าตาแหน่งทางเข้าของอากาศ โดย
ป้ อนเชื้ อเพลิ งให้อยู่บ นตะแกรง จากนั้นอากาศส่ วนแรกถู กป้ อ นเข้าทาง
ด้านล่างของตะแกรงผ่านขึ้นมาเผาไหม้เชื้อเพลิงบนตะแกรง อากาศอีกส่ วน
หนึ่งจะถูกป้อนเข้าทางส่ วนบนของตะแกรงเพื่อช่วยให้การเผาไหม้สมบรู ณ์

ข้ อ ได้ เปรี ย บของการเผาไหม้ร ะบบนี้ คื อ การที่ เชื้ อ เพลิ งกองอยู่


บาง ๆ บนตะแกรงท าให้ความดันอากาศไหลผ่านเชื้ อ เพลิ งมี ค่ าน้อยกว่า
สโตกเกอร์ แบบตะกรั บเลื่ อน ดังนั้นการควบคุ มอากาศที่ ป้อนใต้ตะแกรง
สามารถทาได้ง่ายกว่า

ข้ อเสี ยของระบบสโตกเกอร์ แบบกระจาย คื อ มี ป ริ มาณเขม่ าและ


ควันออกจากปล่องมากจึ งต้องมีอุปกรณ์สาหรับดักขี้เถ้าที่ออกจากปล่องสู่
บรรยากาศภายนอก

หน้า 51 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

รู ปที่ 1.3-3 ลักษณะเตาเผาเชื้อเพลิงระบบสโตกเกอร์ แบบกระจาย

ข.ระบบสโตกเกอร์ ที่เชื้ อเพลิงถูกป้ อนเข้ าสู่ เตาทางด้ านล่ าง เชื้ อเพลิง


จะถูกป้ อนเข้าสู่ เตาทางด้านล่าง โดยส่ งเชื้อเพลิงไปตามรางให้เคลื่อนตัวลึก
เข้าไปในเตาตลอดเวลาทาให้เกิดความดันขึ้นในเชื้อเพลิงส่ วนล่าง ส่ งผลให้
เชื้ อ เพลิ งส่ ว นบนขยับ ขึ้ น ด้านบนได้ วิ ธี น้ ี จะท าให้ ส ารระเหยที่ มี อ ยู่ใน
เชื้ อเพลิงระเหยขึ้นสู่ ส่วนบนจึ งทาให้ติดไฟได้ง่ายขึ้นและเกิ ดการเผาไหม้
ขึ้นได้อย่างสมบรู ณ์ เชื้อเพลิงที่ลุกไหม้หมดแล้วเป็ นเถ้าซึ่ งอยูส่ ่ วนบนสุ ดจะ
ถูกเชื้อเพลิงตอนล่างดันกระจายลงสู่ ที่รองรับเถ้า

ข้ อดีของระบบสโตกเกอร์ ที่เชื้อเพลิงถูกป้ อนเข้าสู่ เตาทางด้านล่าง คือ


การป้ อนเชื้ อเพลิงทางด้านล่างจะช่วยลดควันได้ เพราะสารระเหยที่ปล่อย
ออกจากเชื้อเพลิงจะไหลผ่านชั้นเชื้อเพลิงที่ร้อนทาให้เผาไหม้หมด

หน้า 52 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

3) ระบบพัลเวอร์ ไรซ์ (Pulverised) 1


การเผาไหม้ของเชื้ อเพลิ งในเตาระบบพัลเวอร์ ไรซ์ จะเกิ ดขึ้ นขณะที่
เชื้ อ เพลิ งลอยอยู่ ดังนั้น เชื้ อ เพลิ งที่ ใช้ในเตาเผาแบบนี้ จะต้อ งมี ข นาดเล็ก
พอที่จะลอยอยูใ่ นอากาศภายในเตา อากาศส่ วนแรกจะถูกอุ่นก่อนส่ งเข้าเตา
เพื่ อ ใช้ในการอบแห้ งเชื้ อ เพลิ งในขณะที่ อ ากาศส่ วนที่ ส องถู ก ส่ งเข้าเตา
โดยตรงเพื่อช่วยให้การเผาไหม้เกิดขึ้นอย่างสมบรู ณ์ ขี้เถ้าที่ ได้จากการเผา
ไหม้จะถูกพัดพาออกจากเตาเผาติดมากับแก๊สร้อนที่ได้จากการเผาไหม้

ข้ อ ได้ เปรี ย บของการเผาไหม้ร ะบบนี้ คื อ ไม่ จ าเป็ นต้อ งมี ร ะบบ


ตะแกรงที่จะต้องให้ความร้อน ไม่จาเป็ นต้องใช้ความร้อนสู งจากเชื้ อเพลิง
เก่าบนตะแกรง จากเหตุ ดงั กล่าวข้างต้น เตาเผาแบบนี้ จึงให้ความร้ อนใน
การเผาไหม้ได้สูงกว่าเตาแบบตะแกรง

ข้ อเสี ยของระบบพัลเวอร์ ไรซ์ น้ ี คือ การควบคุมเถ้าทาได้ยาก ดังนั้น


จึ งต้องมี ระบบกาจัดเถ้าที่ ดีซ่ ึ งต้องเสี ยค่าใช้จ่ายสู ง เชื้ อเพลิ งที่ ใช้จะต้องมี
ขนาดเล็กเพียงพอ ทาให้ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายในการบดเชื้อเพลิงให้มีขนาดเล็ก
ลง นอกจากนี้ การควบคุ มอุณหภู มิภายในเตาทาได้ยาก เพราะถ้าอุณหภู มิ
ของการเผาไหม้สู งเกิ นไปจะท าให้เกิ ดการหลอมตัวของเถ้าเกาะกันเป็ น
ก้อนใหญ่ ซึ่ งจะทาให้เตาเผาเสี ยหายได้ เชื้อเพลิงที่ใช้จะต้องแห้งเพียงพอจึง
ต้องมีการอบแห้ง ซึ่ งทั้งหมดนี้เป็ นการเพิ่มราคาต้นทุนและพลังงานที่ใช้

หน้า 53 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

รู ปที่ 1.3-4 ลักษณะเตาเผาเชื้อเพลิงระบบพัลเวอร์ ไรซ์

หน้า 54 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

4) ระบบไซโคลน (Cyclone) 1
เตาเผาระบบนี้ เชื้ อ เพลิ งถู ก ป้ อ นเข้าเตาเผาโดยอาศัย แรงโน้ ม ถ่ ว ง
เช่นเดียวกับระบบพัลเวอร์ ไรซ์ แต่ไม่จาเป็ นต้องบดเชื้อเพลิงให้มีขนาดเล็ก
ทาให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการบดเชื้ อเพลิงลงได้ การเผาไหม้ในระบบ
ไซโคลนจะใช้หัวเผาแบบ Horizontal water-cooled ขนาดเล็ก ทาให้เตาเผา
ระบบไซโคลนมีขนาดเล็กกว่าเตาเผาระบบพัลเวอร์ ไรซ์ อุณหภูมิของการ
เผาไหม้ภายในเตาระบบไซโคลนสู งถึ ง 1650 C ซึ่ งจะทาให้ข้ ี เถ้าถู กเผา
ไหม้กลายเป็ นขี้ เถ้าเหลว (Liquid Slag) ได้ประมาณ 30 -50 % และเหลื อ
ขี้ เถ้าที่ ป นออกมากับ แก๊ ส ร้ อ นเพี ย ง 70-50% ขี้ เถ้าเหลวที่ เกิ ด ขึ้ น ภายใน
เตาเผาระบบไซโคลนนี้สามารถปล่อยออกทางด้านล่างของเตาเผาได้

รู ปที่ 1.3-5 ลักษณะเตาเผาเชื้อเพลิงระบบไซโคลน

หน้า 55 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 5) ระบบฟลูอดิ ไดซ์ เบด (Fluidized Bed)


อากาศจะไหลผ่านชั้น ของเชื้ อ เพลิ ง และเมื่ อ เพิ่ ม ค่ าความเร็ ว ของ
อากาศถึ งค่าหนึ่ งเชื้ อเพลิ งจะลอยตัวขึ้ น มี ลกั ษณะคล้ายของไหล การเผา
ไหม้จะเกิ ดขึ้ น ทั่ว ๆ บริ เวณเตา โดยปกติ จะใส่ ส ารเฉื่ อ ย (Inert Material)
เช่ น ท ราย ห รื อส ารที่ ท าป ฏิ กิ ริ ยา (Reaction Material) เช่ น หิ น ปู น
(Limestone) หรื อ ตัว เร่ งปฏิ กิ ริ ย า (Catalyst) ซึ่ งจะช่ ว ยในด้านการถ่ ายเท
ความร้อนและช่วยทาความสะอาดภายในเตาระบบฟลูอิดไดซ์เบดนี้ แสดง
ดังรู ป

รู ปที่ 1.3-6 ลักษณะเตาเผาเชื้อเพลิงระบบฟลูอิดไดซ์เบด

หน้า 56 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ระบบฟลู อิ ด ไดซ์ เบดนี้ ได้รั บ ความนิ ย มมากในปั จ จุ บ ัน เนื่ อ งจาก 1


สามารถใช้กบั เชื้ อเพลิ งแข็งได้ทุ กชนิ ด เพราะอุ ณ หภู มิ ภายในเตาจะมี ค่ า
ใกล้เคี ยงตลอดทัว่ เตาเผา ท าให้อตั ราการเผาไหม้ของเชื้ อเพลิ งสม่ าเสมอ
สามารถเผาเชื้ อ เพลิ ง ที่ มี ป ริ ม าณความชื้ น สู ง ได้ดี นอกจากนี้ ยัง ท าให้
อุณหภูมิของเปลวไฟคงที่

ข้ อดีของระบบฟูลอิดไดซ์เบด คือมี สารเฉื่ อย เช่น ทราย เป็ นเบด จึ ง


ทาให้เกิดการผสมของเชื้ อเพลิงกับออกซิ เจนได้ดี เกิดการเผาไหม้ได้อย่าง
สมบรู ณ์และรวดเร็ ว นอกจากนี้ ตวั เบดยังช่วยอมความร้อนทาให้เตามีความ
เสถียร ไม่ดบั ง่าย และเกิ ดการเผาไหม้ในตัวเตาเผาได้อย่างทัว่ ถึง จึ งทาให้
อุ ณ หภู มิ ภ ายในเตาเผามี ค่ า เท่ า กัน และสม่ า เสมอ สามารถใช้เผาไหม้
เชื้ อ เพลิ ง ในช่ ว งอุ ณ หภู มิ ก ารเผาไหม้ที่ ต่ า (ประมาณ 850 C) จึ ง ช่ ว ย
แก้ปัญหาด้านมลพิษของอากาศเนื่ องจากการเกิ ดสารประกอบไนโตรเจน
ออกไซด์ (NOx) ได้

1.4 การเผาไหม้ เบื้องต้ น


การเผาไหม้ คือ กระบวนการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างเชื้อเพลิงกับ
ออกซิ เจนทาให้ได้ความร้อนออกมา องค์ประกอบที่จาเป็ นสาหรับการเผา
ไหม้ คื อ เชื้ อ เพลิ ง ออกซิ เ จน ความร้ อน และปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี โดย
องค์ประกอบทั้งหมดนี้ ตอ้ งเกิ ดขึ้ นในเวลาเดี ยวกันจึ งจะทาให้เกิ ดการเผา
ไหม้ โดยทัว่ ไปแล้ว ออกซิ เจนได้มาจากอากาศที่ อยูใ่ นบริ เวณของการเผา
ไหม้ ดังรู ปที่ 1.3-1 แสดงหลักการเบื้องต้นของกระบวนการเผาไหม้

หน้า 57 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 เชื้ อ เพลิ งแต่ ล ะชนิ ด มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการเผาไหม้ที่ แ ตกต่ างกัน โดย


เชื้อเพลิงแข็งมีค่าประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ 75-85% เชื้อเพลิงเหลว 80-85%
และเชื้อเพลิงก๊าซ 80 – 90 % ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ ของเชื้อเพลิงแข็งจะ
ต่ากว่ าเชื้อเพลิงเหลว และเชื้อเพลิงเหลวต่ากว่ าเชื้อเพลิงก๊าซ เนื่ องจากพื้นที่
สั ม ผัส ระหว่างเชื้ อ เพลิ ง กับ อากาศน้ อ ยกว่า กัน ตามล าดับ นอกจากนั้ น
เชื้อเพลิงที่มีความหนื ดสู งจะกระจายออกเป็ นฝอยละอองได้ยาก ทาให้พ้ืนที่
สัมผัสน้อย ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ต่า

ก๊าซไอเสีย
อากาศ - คาร์บอนไดออกไซด์(CO2)
เชื้อเพลิง
- คาร์บอน (C) - ไอน้ า(H2O)
- ออกซิเจน(O2)
- ไฮโดรเจน (H) - ซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2)
- ไนโตรเจน(N2)
- กามะถัน(S)

ความร้ อน

รู ปที่ 1.4-1 หลักการเผาไหม้เบื้องต้น

หมายเหตุ สาหรั บการเผาไหม้ จริ งอาจมีก๊าซไอเสี ยอื่นอีก ได้ แก่ CO, HC, NOx,
SOx, O2

หน้า 58 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.4.1 ปฏิกริ ิยาเคมีการเผาไหม้ ทฤษฎี 1


สมการพื้ น ฐานซึ่ งอธิ บ ายปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี ร ะหว่ า งเชื้ อ เพลิ ง กับ
ออกซิ เจนและปล่อยพลังงานความร้อนสามารถแสดงได้ดงั นี้
ปฏิกริ ิยาทางเคมีระหว่ างเชื้อเพลิงกับออกซิเจน
C  O2  CO2  393,520 kJ/kmol
(ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เกิดจากการสันดาปอย่างสมบูรณ์ของคาร์ บอน)
C  21 O2  CO  110,530 kJ/kmol
(ก๊ าซคาร์ บ อนมอนนอกไซด์ เกิ ด จากการสั น ดาปอย่างไม่ ส มบู ร ณ์ ข อง
คาร์บอน)
CO  21 O2  CO2  282,990 kJ/kmol
(ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เกิ ดจากการสันดาปอย่างสมบู รณ์ ของคาร์ บอน
มอนนอกไซด์)
H 2  21 O2  H 2O( g )  241,820 kJ/kmol
H 2  21 O2  H 2O( l )  285,830 kJ/kmol
(การเกิดไอน้ าหรื อน้ าจากการสันดาปอย่างสมบูรณ์ของไฮโดรเจน)
S  O2  SO2  334,960 kJ/kmol
(ก๊าซซัลเฟอร์ ไดอ๊อกไซด์เกิดจากการสันดาปอย่างสมบูรณ์ของซัลเฟอร์ )

หน้า 59 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 1.4.2 อากาศตามทฤษฎี (Theoretical air)


ส าหรั บ อากาศ เราประมาณได้ ว่ า มี ส่ วนประกอบของ O2 เป็ น
ส่ วนผสม 23.2% โดยมวล ในกรณี ที่ ก ารเผาไหม้ใ ช้ น้ ามัน ดี เซลเป็ น
เชื้ อเพลิ ง จากสมการน้ ามันดี เซล 1 kg ต้องใช้ปริ มาณ O2 ในการเผาไหม้
3.334 kg ซึ่ งเที ย บเท่ า กั บ ปริ มาณอากาศ 3.334/0.232=14.37 kg ดั ง นั้ น
อัตราส่ วนระหว่างอากาศต่อเชื้อเพลิงตามทฤษฎีเท่ากับ 14.37 ต่อ 1

C  O2  CO2 H 2  21 O2  H 2 O S  O2  SO2
12kg  32kg  44 kg 2kg  16 kg  18 kg 32 kg  32 kg  64 kg

% องค์ ประกอบโดยมวล
ชนิดของเชื้อเพลิง
C H S
น้ ามันดีเซล 86.3 12.8 0.9
น้ ามันเตา 86.1 11.8 2.1

หน้า 60 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

การหาปริมาณอากาศเชิงทฤษฎีในการเผาไหม้ 1
H 2  21 O2  H 2 O C  O2  CO 2
2kg  16 kg  18 kg 12 kg  32 kg  44 kg
2 16 18 12 32 44
0.128 kg  0.128 kg  0.128 kg 0.863 kg  0.863 kg  0.863 kg
2 2 2 12 12 12
0.128 kg  1.024 kg  1.152kg 0.863kg  2.301kg  3.164 kg

S  O2  SO2
32kg  32kg  64 kg
32 32 64
0.009 kg  0.009 kg  0.009 kg
32 32 32
0.009 kg  0.009 kg  0.018 kg

1.4.3 อากาศส่ วนเกิน (Excess Air)


ในการเผาไหม้จริ งๆ หากป้ อนอากาศเข้าเผาไหม้ในปริ มาณที่พอดีกบั
ค่าทางทฤษฎี แล้ว เป็ นการยากที่ จะทาให้ออกซิ เจนทุกตัวพบกับธาตุต่างๆ
ในเชื้ อเพลิงได้หมดและทัว่ ถึงกัน จึ งเป็ นผลให้เกิ ดการเผาไหม้ในลักษณะ
อากาศไม่เพียงพอ การเผาไหม้ที่อากาศไม่เพียงพอนี้ จะให้พลังงานความ
ร้อนออกมาน้อยกว่าการเผาไหม้สมบู รณ์ โดยเกิ ดก๊าซคาร์ บอนมอนนอก
ไซด์ เชื้ อเพลิงที่ไม่เผาไหม้ เขม่า และควันสี ดา ดังนั้นในทางปฏิบัติการเผา
ไหม้ จ ริ งๆ จ าเป็ นต้ องป้ อนอากาศให้ เกิน กว่ าความต้ องการในเชิ งทฤษฎี
ซึ่ งอากาศส่ วนนี้เรี ยกว่ า อากาศส่ วนเกิน (Excess Air) อย่างไรก็ตาม การ
ป้ อนอากาศมากจนเกินไปจะเกิดการสู ญเสี ยพลังงานความร้อนออกไปกับ
ก๊าซไอเสี ยมาก เพราะออกซิ เจนและไนโตรเจนในอากาศที่เกินมานี้ มิได้ทา
ปฏิกิริยาใดๆ ในการเผาไหม้นอกจากจะดูดพลังงานความร้อนจากการเผา
ไหม้และพาออกทิ้ งยังปล่องไอเสี ยปริ มาณอากาศเข้าเผาไหม้ที่เหมาะสม

หน้า 61 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 สาหรับเชื้อเพลิงแต่ละประเภทสั งเกตได้ จากปริมาณ O2 ในไอเสี ยควรจะต่า


ที่สุด แต่ ถ้าดูจากค่ า CO2 ในไอเสี ยควรจะสู งที่สุด และปริ มาณ CO ในก๊ าซ
ไอเสี ย ไม่ ค วรสู ง กว่ า 200 ส่ วนในล้ า นส่ วน (ppm) โดยค่ า ที่ เหมาะสม
สาหรับเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ แสดงในตารางที่ 1.3-1

รู ปที่ 1.4-2 ปริ มาณอากาศป้อนและการสู ญเสี ยพลังงาน

ตารางที่ 1.4-1 ปริ มาณอากาศส่ วนเกินที่เหมาะสม

เชื้อเพลิง อากาศส่ วนเกิน (%) O2 ในก๊าซไอเสี ย CO2 ในก๊าซไอเสี ย


(%) (%)
ก๊าซ 5-15 1-2 9-10
เหลว 15-20 3-4 12-14
แข็ง 15-60 7-10 12-13

หน้า 62 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.4.4 จะสั งเกตอย่างไรว่ าการเผาไหม้ เหมาะสมหรื อไม่ ? 1


การตรวจสอบปริ มาณก๊าซออกซิ เจนและคาร์ บอนไดออกไซด์ในก๊าซ
ไอเสี ย ต้องใช้เครื่ องมือวิเคราะห์ก๊าซไอเสี ย อย่างไรก็ตามผูค้ วบคุมสามารถ
สังเกตลักษณะการเผาไหม้ที่เหมาะสมได้จากสี และลักษณะของเปลวไฟ
และสี ของเขม่าควันดังนี้
ตารางที่ 1.4 -2 การควบคุมปริ มาณอากาศจากการสังเกตเปลวไฟและเขม่าควัน
ปริมาณอากาศทีเ่ ข้าผสม ลักษณะเปลวไฟและความ สี ควันทีอ่ อกจากปล่อง
กับเชื้อเพลิง สว่ างภายในห้ องเผาไหม้ ไอเสี ย
ลักษณะเปลวไฟ : เปลวไฟสั้น
และมีรูปร่ างคงตัว
ปริมาณอากาศและเชื้อเพลิง สี ข องเปลวไฟ : เปลวสี แ สด ลักษณะสี เทาอ่อน
กรณี เชื้อเพลิงเหลวและเปลวสี
ผสมกันในสั ดส่ วนพอดี
ฟ้าปลายแสดสาหรับก๊าซ
ความสว่างของห้องเผาไหม้ :
เห็นภายในห้องเผาไหม้ลางๆ
ลักษณะเปลวไฟ : เปลวไฟยาว
และมีรูปร่ างไม่คงตัว
ปริมาณอากาศทีเ่ ข้าเผาไหม้ สี ของเปลวไฟ : เปลวสี ฟ้ า ลักษณะสี ขาวหรื อไม่มีสี
มากเกินไป กรณี เชื้อเพลิงก๊าซ
ความสว่างของห้องเผาไหม้ :
ภายในห้องเผาไหม้สว่างมาก

หน้า 63 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 ปริมาณอากาศทีเ่ ข้าผสม ลักษณะเปลวไฟและความ สี ควันทีอ่ อกจากปล่อง


กับเชื้อเพลิง สว่ างภายในห้ องเผาไหม้ ไอเสี ย
ลักษณะเปลวไฟ : เปลวไฟสั้น
สี ข องเปลวไฟ : เปลวสี แ ดง
ปริมาณอากาศทีเ่ ข้าเผาไหม้ คล้ าผลปลายเปลวมีเขม่าดา ลักษณะสี เทาเข้มถึงดา
มากเกินไป ความสว่างของห้องเผาไหม้ :
ภายในห้องเผาไหม้มีควันมาก

1.5 ผลิตและใช้ ไอนา้ ให้ ประหยัดพลังงาน


ในระบบไอน้ า อุปกรณ์ ผลิตไอน้ าควรผลิตไอน้ าอิ่ มตัวที่ มีความดัน
และปริ มาณเหมาะกับความต้องการส่ งจ่ายไอน้ าไปตามท่อจนถึงอุปกรณ์ใช้
ไอน้ า ซึ่ งอุปกรณ์ใช้ไอน้ าจะต้องติดตั้งกับดักไอน้ าที่ถูกต้องและเหมาะสม
เพื่อให้ในระบบมีเฉพาะไอน้ าอิ่มตัวแห้งอยูต่ ลอดเวลาไปจนถึงอุปกรณ์ที่ใช้
ไอน้ า ดังนั้นในการจัดการการใช้ไอน้ า จึงควรให้ความสาคัญตั้งแต่อุปกรณ์
ที่ เป็ นตัว ก าเนิ ด ไอน้ า ระบบส่ ง ไอน้ า จนถึ ง อุ ป กรณ์ ใช้ไ อน้ า โดยต้อ ง
ควบคุ ม ให้ ส่ ว นต่ างๆท า งานได้อ ย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ตลอดเวลา
เพื่อให้ตน้ ทุนในระบบไอน้ าต่าที่สุด

หน้า 64 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ตารางที่ 1.5-1 ระบบผลิตและใช้ไอน้ าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 1


หม้ อไอนา้ ระบบส่ งไอนา้ อุปกรณ์ ใช้ ไอนา้
-ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ดี - การเดินท่อและขนาดท่อ -ใช้อุปกรณ์ที่ภาระใกล้เคียง
-ประสิ ทธิภาพการ ถูกต้อง พิกดั
แลกเปลี่ยน ความร้อนดี -ไม่ มี ก ารรั่ ว ไ ห ล ข อ ง - มีอุปกรณ์ควบคุมและ
-คุณภาพน้ าป้อนและไอน้ าดี ไอน้ า ทางานได้ดี
-การสู ญเสี ยความร้อนน้อย - มีการหุม้ ฉนวนท่อและ - ความดันเหมาะสมกับการ
อุปกรณ์ ใช้งาน
- คุณภาพไอน้ าในระบบดี - การสู ญเสี ยความร้อนต่า
- กับดักไอน้ าดีแลถูกต้อง - กับดักไอน้ าดีและถูกต้อง
เหมาะสม เหมาะสม

ตารางที่ 1.5-2 การเปรี ยบเทียบคุณสมบัติไอน้ าอิ่มตัวและไอน้ ายิง่ ยวด


ไอนา้ อิม่ ตัว ไอนา้ ยิง่ ยวด
1.สัมประสิ ทธิ์ถ่ายเทความร้อนสู ง 1.สัมประสิ ทธิ์ถ่ายเทความร้อนต่า
(20,935-418,700 kJ/m2.oC) (84-420 kJ / m2.oC)
2.เหมาะกับงานอุปกรณ์ให้ความร้อน 2.เหมาะกับอุปกรณ์ผลิตกาลังงาน เช่น ระบบ
3.รักษาอุณหภูมิของอุปกรณ์ให้คงที่โดย กังหันไอน้ า
การควบคุมความดันให้คงที่ 3.อุณหภูมิของอุปกรณ์ความร้อนไม่คงที่
4.ขณะควบแน่นให้ความร้อนสู ง โดย 4.ใช้กบั อุปกรณ์ให้ความร้อนจะมีสูญเสี ยความ
อุณหภูมิคงที่ ร้อนสู งมาก

หน้า 65 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 1.5.1 การหาดัชนีการใช้ พลังงานและเกณฑ์ เปรียบเทียบ


1.5.1.1 ดัชนีการใช้ พลังงาน
ดัชนี การใช้พลังงานเป็ นสิ่ งที่สาคัญที่จะบอกต้นทุน และปั ญหาที่เกิด
ขึ้นกับหม้อไอน้ าและอุปกรณ์ใช้ไอน้ า ซึ่ งหม้อไอน้ าแต่ละชุด และอุปกรณ์
ไอน้ าแต่ละชุดจะมีดชั นี ที่ต่างกัน เนื่องจากประสิ ทธิ ภาพต่างกันผูใ้ ช้ควรเก็บ
ข้อ มู ล และตรวจสอบดัช นี อ ย่างสม่ าเสมอเพื่ อ ควบคุ ม ค่ าใช้จ่ ายทางด้าน
เชื้อเพลิง ซึ่ งดัชนีการใช้พลังงานของหม้อไอน้ าคานวณได้ดงั นี้

ตาราง 1.5-3 ดัชนีช้ ีวดั และการคานวณ

ดัชนีการใช้ พลังงาน สมการทีใ่ ช้ หาดัชนีการใช้ พลังงาน ทีม่ าของตัวแปรต่ างๆ


1. ความสามารถในการ ตัน / ชัว่ โมง = ความร้อนที่ทาให้ ms= มวลของน้ าหรื อ
ผลิตไอนา้ สมมูล * 1 น้ าอุณหภูมิ 100 OC ระเหยเป็ นไอน้ า ไอน้ า (kg/hr) ซึ่ง
ที่ 100 OC หมดภายในเวลา 1 อาจวัดจากน้ า
ชัว่ โมง 1 ตัน/ชัว่ โมง = ms (hg-hf) ป้อนหม้อไอน้ า
= 1,000 x 2,256.7 = 2,256,700 kJ/hr หรื อไอน้ า
= 1,000 x 539 โดยตรง
= 539,000 kcal/hr hg= เอนธาลปี ของไอ
= 2,204 x 970.3 = 2,138,564 Btu/hr น้ าอิ่มตัวที่
= 1,000 x 539 / 860 = 627 kW อุณหภูมิ 100 OC
hf = เอนธาลปี ของน้ า
อิ่มตัวที่อุณหภูมิ
100 OC

หน้า 66 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ดัชนีการใช้ พลังงาน สมการทีใ่ ช้ หาดัชนีการใช้ พลังงาน


ทีม่ าของตัวแปรต่ างๆ 1
2.อัตราการระเหย *2
อัตราการระเหย (kg/m2hr) ms= ปริ มาณไอน้ าที่
= อัตราการผลิตไอน้ าต่อพื้นที่ ผลิตได้ (kg/hr)
แลกเปลี่ยนความร้อน อ่านจากมิเตอร์
m น้ าป้อนโดยหัก
= s
A ปริ มาณการ
โบลว์ดาวน์หรื อ
จากการวัดไอน้ า
โดยตรง
A= พื้นที่ผวิ
แลกเปลี่ยนความ
ร้อนของหม้อไอ
น้ า (m2) ได้จาก
ผูผ้ ลิต
3. จานวนเท่ าของการ จานวนเท่าของการระเหย ms= ปริ มาณไอน้ าที่
ระเหย * 3 = อัตราการผลิตไอน้ าต่ออัตราการ ผลิตได้ (kg/hr)
ใช้เชื้อเพลิง อ่านจากมิเตอร์
m น้ าป้อนโดยหัก
= s
mf ปริ มาณการ
โบลว์ดาวน์หรื อ
จากการวัดไอน้ า
โดยตรง
mf = ปริ มาณเชื้อเพลิง
ที่ใช้ (kg/hr) จาก
มิเตอร์เชื้อเพลิง
หรื อการชัง่
น้ าหนัก

หน้า 67 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 ดัชนีการใช้ พลังงาน สมการทีใ่ ช้ หาดัชนีการใช้ พลังงาน ทีม่ าของตัวแปรต่ างๆ


4. ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า ms = ปริ มาณไอน้ า
หม้ อไอนา้ * 4 ms hg  h f  ที่ผลิตได้ (kg/hr)
m f x LHV อ่านจากมิเตอร์
=
น้ าป้อนโดยหัก
ปริ มาณการ
โบลว์ดาวน์หรื อ
จากการวัดไอน้ า
โดยตรง
hg = เอนธาลปี ของ
ไอน้ าอิ่มตัวที่
ความดันไอน้ าที่
ผลิต (kJ/kg)
hf = เอนธาลปี ของ
น้ าอิ่มตัวที่ความ
ดันไอน้ าที่ผลิตมี
หน่วยเป็ น
(kJ/kg)
mf = ปริ มาณ
เชื้อเพลิงที่ใช้
(kg/hr) จาก
มิเตอร์เชื้อเพลิง
หรื อการชัง่
น้ าหนัก
LHV = ค่าความร้อน
ต่าของเชื้อเพลิง
ที่ใช้ (kJ/kg)

หน้า 68 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

ดัชนีการใช้ พลังงาน สมการทีใ่ ช้ หาดัชนีการใช้ พลังงาน ทีม่ าของตัวแปรต่ างๆ 1


5. ดัชนีการใช้ พลังงาน ดัชนีการใช้พลังงาน kJ/kg ms= ปริ มาณไอน้ าที่
ของอุปกรณ์ ใช้ ไอนา้ = พลังงานความร้อนที่ใช้ / ปริ มาณ ไหลเข้าอุปกรณ์
ผลผลิต (kg/hr) หาได้จาก
ms hg  h fo  มิเตอร์ไอน้ า
mp โดยตรงหรื อวัด
=
จากน้ าคอนเดน
เสทหรื อจาก
วาล์วควบคุม
hg= เอนธาลปี ของไอ
น้ าอิ่มตัวที่
ความดันไอน้ า
เข้าอุปกรณ์ (kJ/kg)
hfo= เอนธาลปี ของน้ า
ที่ความดัน
คอนเดนเสทหรื อ
ที่อุณหภูมิ
ผลผลิต(kJ/kg)
mP= ปริ มาณของ
ผลผลิต (kg/hr)
หาจากการชัง่
น้ าหนัก

หน้า 69 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 หมายเหตุ *1 equivalent evaporation (ก า ร เป รี ย บ เที ย บ จ ะ ต้ อ ง


เปรี ยบเทียบที่ความดันการผลิตไอน้ าเท่ากันและภาระเต็ม
พิกดั )
*2 หม้อไอน้ าชุดใดที่มีอตั ราการระเหยสู งจะเป็ นหม้อไอน้ าที่
มีประสิ ทธิ ภาพสู งโดยเปรี ยบเทียบที่ความดันไอน้ าเท่ากัน
และภาระเต็มพิกดั
*3 หม้อ ไอน้ าชุ ด ใดมี จ านวนเท่ าของการระเหยสู งจะเป็ น
หม้อไอน้ าที่ มีประสิ ทธิ ภาพสู ง โดยเปรี ยบเที ยบที่ ความ
ดันไอน้ าเท่ากัน
*4 การเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพจะต้องเปรี ยบเทียบที่ความ
ดันในการผลิตไอน้ าที่เท่ากันและภาระเต็มพิกดั

หน้า 70 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.5.1.2 เกณฑ์ ทใี่ ช้ เปรียบเทียบที่แนะนา 1


การเปรี ยบเที ยบที่ ดีที่ สุ ดคื อ การเปรี ยบเที ยบค่ าต่ าง ๆ กับ พิ กัดของ
เครื่ องหรื ออุปกรณ์น้ นั และถ้าต้องการเปลี่ยนใหม่กส็ ามารถเปรี ยบเทียบกับ
พิกดั ของอุปกรณ์ที่จะนามาใช้งาน
2.1 ร้อยละของความสามารถในการผลิตไอน้ าจริ งเทียบกับพิกดั ควรต่ากว่า
ไม่เกิน 10%
2.2 ร้อยละของอัตราการระเหยจริ งเทียบกับพิกดั ควรจะต่ากว่าไม่เกิน 10%
2.3 ร้อยละจานวนเท่าของการระเหยเทียบกับเกณฑ์ควรจะต่ากว่าไม่เกิน
10%
2.4 ร้อยละของประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ าเทียบกับเกณฑ์ควรจะต่ากว่าไม่เกิน
10%
ตารางที่ 1.5-4 เกณฑ์ดชั นีการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิงของหม้อไอน้ า
ชนิดเชื้อเพลิง ดัชนีการผลิตไอนา้ ต่ อเชื้อเพลิง
ก๊าซ 13 kgsteam/Nm3 fuel
เหลว 14 kgsteam/L fuel
แข็ง(ถ่านหิ น) 8 kgsteam/kg fuel

หากค่าที่ได้จากการใช้งานมีค่าต่ากว่าในตารางแสดงว่า ประสิ ทธิ ภาพ


หม้อไอน้ ากาลังลดต่ าลง ต้นทุ นในการผลิ ตไอน้ าจะสู งขึ้ น ในทางปฏิ บตั ิ
สามารถใช้ค่าหลังจากติดตั้งหรื อหลังจากล้างทา ความสะอาดประจาปี เป็ น
เก ณ ฑ์ ได้ เ ช่ น กั น โด ยทุ ก ๆ 1 kgsteam/1ห น่ วยเชื้ อ เพ ลิ ง ที่ ล ด ล ง
ประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ าจะลดลง 7 %

หน้า 71 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 ตัวอย่ างที่ 1-1


โรงงานมี การใช้หม้อไอน้ าขนาด 10 ตันต่อชัว่ โมง ใช้น้ ามันเตาซี จากการ
เก็บข้อมูล (ได้จากเครื่ องวัด) พบว่ามีปริ มาณการใช้เชื้อเพลิง 9,600 ลิตรต่อ
วัน ปริ มาณน้ าป้ อนหม้อไอน้ า 130,000 ลิตรต่อวัน และปริ มาณการปล่อย
น้ าก้นหม้อไอน้ า 10,000 ลิตรต่อวัน และเชื้อเพลิงราคา 13 Baht/L ดัชนี การ
ผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิงและต้นทุนการผลิตไอน้ าต่อตันไอน้ าเป็ นเท่าใด
วิธีคานวณ
ดัชนีการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิง = 130,000-10,000/9,600
= 12.5 kg/L
ดัชนี ตน้ ทุนการผลิตไอน้ า = (9,600x13)/((130,000-10,000)/1,000)
= 1,040 Baht/Ton

จากตัวอย่างจะเห็นว่าดัชนี การผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิงต่ากว่าเกณฑ์ใน


ตารางที่ 1.5-4 ส่ งผลให้ดชั นี ตน้ ทุนการผลิตไอน้ าสู ง ดังนั้นโรงงานจะต้อง
หาสาเหตุและแก้ไข

หน้า 72 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1.5.2 การเดินหม้ อไอนา้ ให้ เหมาะสมกับความต้ องการใช้ ไอนา้ 1


การใช้หม้อไอน้ าที่มีกาลังการผลิตไอน้ ามาก ขณะที่ความต้องการใช้
ไอน้ ามีนอ้ ย(หม้อไอน้ ามีขนาดใหญ่เกินไป) จะส่ งผลให้ตน้ ทุนในระบบการ
ผลิ ตไอน้ าสู งขึ้ น ซึ่ งระบบผลิ ตไอน้ าจะมี ค่าการสู ญ เสี ยหลายส่ วนที่ คงที่
ได้แก่ บริ เวณผิวหม้อไอน้ า การระบายน้ าทิ้ง โดยหม้อไอน้ าที่มีขนาดใหญ่
จะมีค่าการสู ญเสี ยสู งกว่าขนาดเล็ก ดังนั้นโรงงานควรจัดเวลาการใช้ไอน้ า
เพื่อให้หม้อไอน้ าทางานที่ ภาระมากกว่า 80% ของขนาดพิกดั หรื ออาจลด
ขนาดของหัวเผา หรื อใช้หม้อไอน้ าที่มีขนาดเล็ก กรณี ที่โรงงานมีหม้อไอน้ า
หลายชุ ดและขนาดแตกต่างกัน การเดิ นหม้อไอน้ าให้เหมาะสมกับ ความ
ต้องการของระบบจะช่ วยลดต้นทุ นการผลิ ตและใช้ไอน้ าลงได้อย่างมาก
โดยจะสามารถหาผลการประหยัดพลังงานได้จากดัชนีการผลิตและใช้ไอน้ า
ต่อเชื้อเพลิงที่แตกต่างกัน

ตัวอย่ างที่ 1-2


โรงงานมีหม้อไอน้ าใช้น้ ามันเตาซี 5 ตัน/ชัว่ โมง 1 ชุด และ 10 ตัน/ชัว่ โมง 1 ชุด
โรงงานท า งาน 24 ชั่ ว โมง/วัน 365 วัน /ปี โดยช่ ว ง 01.00–13.00 น. มี ค วาม
ต้องการใช้ไอน้ าต่า 3-4 ตัน/ชัว่ โมง และช่วง 13.00–01.00 น. จะมีความต้องการ
ใช้ไอน้ าสู ง 7-8 ตัน/ชัว่ โมง ปกติเดิ นหม้อไอน้ า 10 ตัน/ชัว่ โมงเป็ นหลัก หากมี
การจัดการเดิ นหม้อไอน้ าให้เหมาะสมกับความต้องการ โดยในช่วงภาระต่าทา
การเดิ น หม้อ ไอน้ า 5 ตัน /ชั่ว โมง และเชื้ อ เพลิ ง ราคา 13 Baht/L จะสามารถ
ประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่ายได้เท่าใด

หน้า 73 จาก 74
บทที่ 1 ความรู ้พ้นื ฐานด้านการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย

1 วิธีคานวณ
จากการเก็บข้อมูลช่วงเวลา 01.00-13.00 น. มีดงั นี้
สภาพเดิม เดินหม้อไอน้ าขนาด 10 ตัน/ชัว่ โมงเป็ นหลักตลอดเวลา
มีการใช้เชื้อเพลิงในช่วงเวลา 13.00-01.00 น. = 270 L/h
น้ าป้อนหม้อไอน้ า ช่วงเวลา 13.00-01.00 น. = 3,500 L/h
คิดเป็ นดัชนีการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิง = 12.96 kg/L
ปรับปรุ ง เดินหม้อไอน้ าขนาด 5 ตัน/ชัว่ โมงในช่วงความต้องการใช้ไอน้ าต่าเวลา
13.00-01.00 น.
มีการใช้เชื้อเพลิง = 260 L/h
น้ าป้อนหม้อไอน้ า = 3,500 L/h
คิดเป็ นดัชนีการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิง = 13.46 kg/L
ดัชนีการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น = 13.46-12.96 = 0.5 kg/L
คิดเป็ นพลังงานที่ประหยัดได้ร้อยละ = ((13.46-12.96) / 13.46) x 100
= 3.71
เชื้อเพลิงที่ประหยัดได้ = 270 x (3.71/100)
= 10 L/h
= 10 x 12 x 365 = 43,800 L/y
คิดเป็ นเงินที่ประหยัดได้ = 43,800 x 13.00 = 569,400 Baht/y

หน้า 74 จาก 74
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

บทที่ 2
แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ ไอนา้ 2
การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพระบบไอน้ านั้ น จะต้อ งด าเนิ น การลดการ 1
สู ญเสี ยพลังงานทั้งในส่ วนผลิตไอน้ า(หม้อไอน้ า) ส่ วนส่ งจ่ายไอน้ า ส่ วน
อุ ป กรณ์ ใช้ไอน้ า และส่ วนนาคอนเดนเสทกลับ โดยหลังจากดาเนิ นการ
ดัชนี การใช้พลังงานความร้อนจะต้องลดต่าลง นัน่ คือต้นทุนการผลิตหรื อ
บริ การทางด้านความร้อนลดลง โดยแนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการ
ผลิตและใช้ไอน้ าในแต่ละส่ วนแสดงดังนี้

2.1 แนวทางการปรับปรุ งในส่ วนผลิตไอนา้ (หม้ อไอนา้ )


2.1.1 การตรวจวิเคราะห์ หม้ อไอนา้

หม้อไอน้ าแต่ละลูกจะระบุขอ้ มูลจาเพาะของหม้อไอน้ า เช่น กาลังการ


ผลิ ต ไอน้ า พิ กัด ชนิ ด และปริ ม าณความต้อ งการใช้เชื้ อ เพลิ ง และอื่ น ๆ
ข้อ มู ลเหล่ านี้ ส ามารถใช้ป ระเมิ น เพื่ อ ให้ท ราบค่ าประสิ ท ธิ ภาพของหม้อ
ไอน้ าลู กนั้นๆ โดยเบื้ องต้น อย่างไรก็ตามในทางปฏิ บ ัติเรายังจาเป็ นต้อง
ตรวจวัดค่ าพารามิ เตอร์ ต่างๆ ของหม้อ ไอน้ าเป็ นประจาเพื่ อ ให้ท ราบถึ ง
สภาพการทางานและประสิ ทธิ ภาพพลังงานที่แท้จริ งของหม้อไอน้ าที่เราใช้
งานอยู่
ตารางที่ 2.1-1 แสดงข้อ มู ล การวัด ที่ จ าเป็ นต้อ งทราบส าหรั บ การ
ประเมิ นสมรรถนะการท างานและประสิ ท ธิ ภาพของหม้อไอน้ า ในส่ วน
เครื่ องมื อและอุปกรณ์ ต่างๆ ที่ จาเป็ นต้องใช้ในการตรวจวัดข้อมู ลข้างต้น
ประกอบด้วย เครื่ องวัดประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ เครื่ องวิเคราะห์สภาพน้ า
เครื่ องวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ และเครื่ องวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส

หน้า 1 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.1-1 ข้อมูลตรวจวัดระบบไอน้ าอุตสาหกรรม


2
ข้ อมูล ค่ าตรวจวัด การวิเคราะห์
เชื้อเพลิง - ค่าความร้อนของเชื้อเพลิง - อัตราการใช้พลังงาน
- อัตราการใช้เชื้อเพลิง เชื้ อเพ ลิ ง ของห ม้ อ
- อุณหภูมิเชื้อเพลิง ไอน้ า
ไอนา้ - ความดันและอุณหภูมิไอน้ า - อั ต ร า ก า ร ผ ลิ ต
- อัตราการผลิตไอน้ า พลั ง งานความร้ อ น
(ไ อ น้ า) ข อ งห ม้ อ
ไอน้ า
นา้ ป้ อนและนา้ โบลว์ - อัตราการไหลของน้ าป้ อน - การสู ญ เสี ย พลัง งาน
ดาวน์ และโบลว์ดาวน์ จากการโบลว์ดาวน์
- อุ ณ หภู มิ ข องน้ าป้ อ นและ
โบลว์ดาวน์
- ค่า TDS (Total Dissolved
Solid)หรื อค่า Conductivity
ก๊าซไอเสี ย - เปอร์เซ็นต์ของ O2 - ประสิ ทธิ ภาพการเผา
- เปอร์เซ็นต์ของ CO2 ไหม้ของหม้อไอน้ า
- เปอร์ เซ็ น ต์ ข อง CO และ
อื่นๆ
- อุณหภูมิของก๊าซไอเสี ย

หน้า 2 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ข้ อมูล ค่ าตรวจวัด การวิเคราะห์


การสู ญ เสี ยความ - อุ ณ หภู มิ ผิ ว และพื้ น ที่ ผิ ว - การสู ญเสี ยความร้อน 2
ร้ อนจากการแผ่รังสี ของหม้อไอน้ า จากการแผ่ รั ง สี ของ
1
- อุณหภูมิแวดล้อม หม้อไอน้ า
- ค่าสัมประสิ ทธิ์ การแผ่รังสี
ความร้อน (Emissivity)

ก๊าซไอเสีย

ไอนา้ •% ออกซิเจน
นา้ ป้ อน •อัตราการผลิตไอนา้ •% คาร์ บอนไดออกไซด์
•อัตราการไหล และ •ความดันและอุณหภูมิไอนา้ •% คาร์ บอนมอนนอกไซด์
อุณหภูมินา้ ป้อน •อุณหภูมิ
•TDS
นา้ โบลว์ดาวน์
•อัตราการไหล และ
เชื้อเพลิง อุณหภูมิโบลว์ดาวน์
•อัตราการใช้ เชื้อเพลิง •TDS
•อุณหภูมิเชื้อเพลิง
•อุณหภูมิผวิ และพืน้ ที่ผวิ ของหม้ อไอนา้
การแผ่ รังสี
•อุณหภูมิแวดล้อม

รู ปที่ 2.1-1 การตรวจวัดข้อมูลการทางานของหม้อไอน้ า

2.1.1.1 การคานวณประสิ ทธิภาพของหม้ อไอนา้


จากข้อ มู ล การวัด ที่ ไ ด้ก ล่ าวถึ งในหั ว ข้อ 2.1.1 เราสามารถค านวณ
ประสิ ท ธิ ภ าพการท างานของหม้อ ไอน้ าได้ โดยปกติ แ ล้ว การค านวณ
ประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ ามีอยูด่ ว้ ยกัน 2 วิธี คือ
1) การคานวณโดยวิธีตรง
2) การคานวณโดยวิธีออ้ ม

หน้า 3 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

1) การคานวณประสิ ทธิภาพของหม้ อไอนา้ โดยวิธีตรง


2 การค านวณประสิ ท ธิ ภ าพหม้อ ไอน้ าโดยวิ ธี ต รง เป็ นการค านวณ
ประสิ ทธิ ภาพโดยใช้ขอ้ มูลของปริ มาณพลังงานความร้อนของไอน้ าที่ผลิต
ขึ้นโดยหม้อไอน้ าและข้อมูลปริ มาณการใช้เชื้ อเพลิง การคานวณโดยวิธีน้ ี
ง่ายและไม่ยงุ่ ยาก อย่างไรก็ตาม วิธีน้ ี ไม่ได้แสดงให้เราทราบว่าการสู ญเสี ย
พลังงานหรื อการลดลงของประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ าเกิดจากสาเหตุใด
สมการที่ (2.1) แสดงการคานวณประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ าโดยวิธีตรง
mS ( hS  hW )
B  (2.1)
mF  HV

เมื่อ B = ประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ า, %


mS = อัตราการไหลของไอน้ า, kg/s
mF = อัตราการใช้เชื้อเพลิง, kg/s, Litv/s
hS = เอนทาลปี ของไอน้ า, kJ/kg
hW = เอนทาลปี ของน้ าป้อน, kJ/kg
HV = ค่าความร้อนของเชื้อเพลิง, kJ/kg, kJ/Litv

2) การคานวณประสิ ทธิภาพของหม้ อไอนา้ โดยวิธีอ้อม


การคานวณประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ าโดยวิธีออ้ มจะใช้วิธีวดั การ
สู ญเสี ยพลังงานจากแหล่งต่างๆ ของหม้อไอน้ าแล้วหักออกจาก 100 ซึ่ งก็คือ
ค่ าประสิ ท ธิ ภ าพของหม้อ ไอน้ า การค านวณประสิ ท ธิ ภ าพโดยวิ ธี อ ้อ ม
เราจะต้องตรวจวัดหรื อคานวณเพื่อให้ทราบการสู ญ เสี ยพลังงานต่างๆ ที่
เกิดขึ้นประกอบด้วย

หน้า 4 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

• การสู ญเสี ยพลังงานทางปล่อง (L1)


• การสู ญเสี ยพลังงานจากการแผ่รังสี ความร้อนที่ผิว (L2) 2
• การสู ญเสี ยพลังงานจากโบลว์ดาวน์ (L3)
1
• การสู ญเสี ยพลังงานอื่นๆ (L4)

เมื่อทราบการสู ญเสี ยเหล่านี้ เราสามารถคานวณประสิ ทธิ ภาพสุ ทธิ ของหม้อ


ไอน้ าได้จากการคานวณโดยใช้สมการที่ (2.2)

B  100  ( L1  L2  L3  L4 ) (2.2)

พลังงาน พลังงานในไอน้ า
ป้อน 100 - (L1 + L2 + L3 + L4)
(100%)
การสู ญเสี ยอื่นๆ (L4%)
สู ญเสี ยในโบล์วดาวน์ (L3%)
สู ญเสี ยจากการแผ่รังสี (L2%)
สู ญเสี ยทางปล่อง (L1%)

หน้า 5 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่างที่ 2-1
2 สมมุติให้หม้อไอน้ าชนิ ดท่อน้ าลูกหนึ่ งซึ่ งใช้น้ ามันเตาเป็ นเชื้อเพลิง ผลิตไอ
น้ าที่ ความดัน 10 barg อุณ หภูมิ 184C ข้อมู ลข้างล่างได้จากการตรวจวัด
หม้อไอน้ า
ข้ อมูลตรวจวัด
ปริ มาณการใช้น้ ามันเตา 800 L/h (สมมุติ น้ ามันเตามีค่าความร้อน 40 MJ/L)
ปริ มาณน้ าป้อน 10,600 kg/h
ปริ มาณโบลว์ดาวน์ 600 kg/h
อุณหภูมิน้ าป้อน 25 C
หม้อไอน้ าทางาน 6,000 h/y
ไม่มีการนากลับคอนเดนเสท
ราคาน้ ามันเตาสมมติให้เท่ากับ 14.0 ฿/L
จงคานวณหาประสิ ทธิภาพของหม้อไอน้ า (โดยใช้วธิ ีตรง)
วิธีคำนวณ
ค่าความร้อนของน้ า 25C; hf = 105 kJ/kg
ค่าความร้อนของน้ า 184C ; hf = 781 kJ/kg
ค่าความร้อนของไอน้ า 184C ; hg = 2,782 kJ/kg
ปริ มาณการผลิตไอน้ า = 10,600 - 600 = 10,000 kg/h
ความร้อนที่ใช้ในการผลิตไอน้ า = ค่าความร้อนของน้ าจาก 25C เป็ น 184C +
ค่าความร้อนของน้ า 184C เป็ นไอน้ า 184C
= 10,600 x (781 – 105) + 10,000 x (2,782 – 781)
= 27,175,600 kJ/h
พลังงานจากการใช้เชื้อเพลิง = 800 x 40,000 = 32,000,000 kJ/h
ดังนั้น ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า = 27,175,600 / 32,000,000 = 0.849 (84.9%)

หน้า 6 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

วิธีคำนวณ (ต่ อ)
ปริ มาณน้ ามันที่ใช้ต่อปี = 800 x 6,000 = 4,800,000 L/y
2
ค่าน้ ามันเตาต่อปี = 4,800,000 x 14 = 67,200,000 B/y
ราคาไอน้ าต่อตัน = 67,200,000 / (10 x 6,000) = 1,120 B/t 1

ตารางที่ 2.1-2 ตารางแสดงค่าเอนทาลปี ของน้ าที่ค่าความดันต่างๆ

หน้า 7 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่างที่ 2-2
2 จากตัวอย่างที่ 2-1 และจากการตรวจวัดการสู ญ เสี ย ความร้ อ นจากแหล่ ง
ต่างๆ ของหม้อไอน้ า พบได้ว่าการสู ญ เสี ยความร้ อนจากปล่อง = 12.4 %
(ผลจากการตรวจวัดไอเสี ย) การสู ญเสี ยความร้อนจากการแผ่รังสี = 1.7 %
จงคานวณหาการสู ญเสี ยจากโบลว์ดาวน์และประสิ ทธิ ภาพสุ ทธิ ของหม้อ
ไอน้ า
วิธีคำนวณ
การสู ญเสี ยความร้อนจากโบลว์ดาวน์ = 600 x (781 - 105)
= 405,600 kJ/h
= 405,600 / 32,000,000
= 1.26 %
จากสมการที่ (2.2) ประสิ ทธิภาพสุ ทธิของหม้อไอน้ า
= 100 – 12.14 – 1.7 – 1.26
= 84.9 %

หน้า 8 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.1.2 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพหม้ อไอนา้

หม้อไอน้ าโดยทัว่ ไปมี ประสิ ทธิ ภาพ 70-80% หมายความว่าพลังงาน 2


ความร้ อ นจากเชื้ อ เพลิ ง 100 ส่ วน สามารถให้ ค วามร้ อ นกับ น้ าได้ 70-80 1
ส่ วนเท่านั้น พลังงานส่ วนที่ เหลือจะสู ญเสี ยไปกับก๊าซร้อนที่ ปล่อยทิ้งทาง
ปล่อง ผ่านพื้นผิวของหม้อไอน้ า และน้ าที่ตอ้ งระบายทิ้งเป็ นระยะ แนวทาง
และวิธีการปรับปรุ งเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ ามีรายละเอียด ดังนี้

2.1.2.1 การปรับตั้งอัตราส่ วนอากาศป้ อนต่ อเชื้อเพลิง

การควบคุ ม ประสิ ทธิ ภ าพการเผาไหม้ ข องหม้ อ ไอน้ าให้ อ ยู่ ใ น


ระดับสู งตลอดเวลามีผลอย่างยิง่ ต่อการเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพโดยรวมของระบบ
ไอน้ า ซึ่ งสามารถท าได้โ ดยการปรั บ อัต ราส่ ว นอากาศต่ อ เชื้ อ เพลิ ง ให้
เหมาะสม ซึ่ งผูด้ ู แ ลหม้อ ไอน้ าสามารถด าเนิ น การได้โ ดยดู จ ากเปลวไฟ
ความสว่างในห้องเผาไหม้และสี ของควันไฟ อย่างไรก็ตามหากเป็ นไปได้
ควรทาการตรวจวิเคราะห์ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้โดยใช้เครื่ องวิเคราะห์
ก๊ า ซเผาไหม้ เป็ นประจ า จะช่ ว ยให้ ป ระสิ ทธิ ภ าพการเผาไหม้ สู งสุ ด
นอกจากนั้ นควรท าการติ ด ตั้ งเครื่ องควบคุ ม และปรั บ ปริ มาณ O2
(Continuous Oxygen Trimming) จะช่ วยให้ ห ม้อ ไอน้ าท างานด้วยการเผา
ไหม้ที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดตลอดเวลา สาหรับหม้อไอน้ าแบบท่อน้ าขนาด
ใหญ่มกั จะติดตั้งเครื่ องมือดังกล่าวไว้

หน้า 9 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

การปรั บ ตั้ง อัต ราส่ ว นอากาศจ าเป็ นต้อ งปรั บ ตั้ง ที่ ทุ ก ๆ ภาระการ
2 ทางาน เช่ น หัวเผาทางานแบบเป็ นขั้นให้ปรับตั้งค่าสาหรับแต่ละขั้น และ
หัวเผาทางานแบบต่อเนื่ องให้ปรับตั้งอย่างน้อยที่ภาระต่า ปานกลางและสู ง
ในการปรั บ ตั้ง เริ่ ม จากการบัง คับ หั ว เผาให้ ท างานที่ ภ าระใดภาระหนึ่ ง
จากนั้น ตรวจวัดองค์ป ระกอบของก๊ าซไอเสี ย แล้วปรั บ แดมเปอร์ อากาศ
เพื่ อ ให้ ร้ อ ยละของ O2 ในก๊ า ซไอเสี ย ใกล้ เคี ย งกั บ เกณฑ์ ม าตรฐานหรื อ
ปริ มาณ CO2 มีค่าสู งสุ ด ทั้งนี้ก๊าซไอเสี ยที่ปล่ อยทิง้ ต้ องไม่ เกิดเขม่ าดาและ
ปริมาณ CO ไม่ เกิน 200 ppm ให้ลอ็ กตาแหน่งนั้นไว้ แล้วปรับตั้งสาหรับที่
ภาระอื่นๆ ต่อไป

1) การคานวณค่ าประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ (Combustion Efficiency)


ค่าประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ สามารถคานวณได้จากสมการที่ (2.3)

c  100  L1 (2.3)
L1 = การสู ญเสี ยทางปล่อง (%)

จากสมการที่ (2.3) ประสิ ท ธิ ภาพการเผาไหม้ (%) ของหม้อ ไอน้ าเท่ ากับ


100 หักด้วยร้อยละ (%) ของความร้อนที่สูญเสี ยทางปล่องไฟ

ผู ้ผ ลิ ต หม้ อ ไอน้ าบางรายใช้ ป ระสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ น้ ี เป็ น


ประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า ขณะที่ ผูผ้ ลิตหม้อไอน้ าบางรายใช้ประสิ ทธิ ภาพ
จากการเปลี่ ยนเชื้ อเพลิ งเป็ นไอน้ าซึ่ งรวมการสู ญ เสี ยพลังงานจากการแผ่
รั งสี ไว้ดว้ ย เป็ นประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า ดังนั้นควรตรวจสอบข้อมูลจาก
ผูผ้ ลิตให้ชดั เจนก่อนตัดสิ นใจเลือกซื้ อ

หน้า 10 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2) ขั้นตอนการหาค่ าการสู ญเสี ยความร้ อนทางปล่ องไฟ


1. เลือกตารางของเชื้อเพลิง โดยใช้ตารางที่ 2.1-3 NO.2 OIL, น้ ามันเตาใช้ 2
ตารางที่ 2.1-4 NO.6 OIL และก๊ า ซธรรมชาติ ใ ช้ ต ารางที่ 2.1-5
1
NATURAL GAS
2. วัด %CO2 จากก๊าซไอเสี ยที่ปล่องไฟ ณ. ตาแหน่งที่ใกล้หม้อไอน้ ามาก
ที่สุด
3. ถ้าเครื่ องมือวัดที่ใช้ เป็ นเครื่ องวัด %O2 ของก๊าซไอเสี ย ให้ใช้กราฟใน
รู ป ความสั ม พัน ธ์ ข อง Excess Air, %O2 , %CO2 ของเชื้ อ เพลิ งแต่ ล ะ
ชนิดในการเทียบค่า (Convert) %O2 ไปเป็ น %CO2
4. วัดอุณหภูมิของก๊าซไอเสี ยที่ปล่องไฟ แล้วลบด้วยอุณหภูมิหอ้ ง
(ค่าอุณหภูมิในตารางที่ 2.1-3, 2.1-4 และ2.1-5 เป็ นผลต่างของอุณหภูมิ
ปล่องกันกับอุณหภูมิแวดล้อม, หน่วยเป็ น oF)
5. หา % ความร้อนที่สูญเสี ยออกไปจากปล่องไฟจากตาราง

หมายเหตุ
ก) ตารางที่ 2.1-3, 2.1-4 และ2.1-5 เป็ นตารางที่คิดจากค่าความร้อนสู งของ
น้ ามัน เตา ถ้าคิ ด ด้ว ยค่ าความร้ อ นต่ าของน้ ามัน เตาจะต้อ งลบค่ า %
ความร้อนที่สูญเสี ยออกไปจากปล่องไฟประมาณ 4-5 %
ข) ดังนั้นก่อนการใช้งานตารางหรื อกราฟใดๆ ที่เกี่ยวกับ%ของความร้อน
ต่างๆ จะต้องตรวจสอบก่อนว่าตารางหรื อกราฟนั้น ใช้กบั ค่าความร้อน
สู งหรื อค่าความร้อนต่าของเชื้อเพลิง ไม่เช่นนั้นเมื่อนาค่าที่หาได้ไปใช้
งานต่อ เช่ น ค านวณต้น ทุ น ของการผลิ ตไอน้ าจะผิดพลาดไป ถ้าไม่
สามารถหาข้อมูลได้วา่ ตารางหรื อกราฟนั้น ใช้กบั ค่าความร้อนสู งหรื อ

หน้า 11 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ค่ า ความร้ อ นต่ า ของเชื้ อเพลิ ง อาจสั ง เกตจากเครื่ องมื อ วัด เช่ น


2 ถ้าผลิตจากประเทศสหรัฐอเมริ กาจะใช้ค่าความร้ อนสู งของเชื้ อเพลิ ง
ถ้าผลิตจากประเทศญี่ปุ่นหรื อยุโรปจะใช้ค่าความร้อนต่าของเชื้อเพลิง
ค) ข้อสังเกตจากตาราง %ความร้อนที่สูญเสี ยออกไปจากปล่องไฟ
• ถ้าอุ ณ หภู มิ ข องไอเสี ยสู ง จะมี ค วามร้ อ นที่ สู ญ เสี ย ออกไปจาก
ปล่องมาก
• ถ้า %CO2 สู ง หรื อ %O2 ต่ า จะมี ความร้ อนที่ สูญ เสี ยออกไปจาก
ปล่องน้อย

หน้า 12 จาก 106


STACK LOSS -%- NO.2 OIL
% DIFFERENCE BETWEEN FLUE GAS AND ROOM TEMPERATURES IN DEGREES FAHRENHEIT
CO2\ 200 220 240 260 280 300 320 340 360 380 400 420 440 460 480 500 520 540 560 580 600 620 640 660 680 700 750 800 850 900 950 1000
3.0 24.1 25.8 27.7 29.3 31.3 33.9 34.8 36.4 38.2 40.0 42.9 44.8 45.5 47.0 49.0 50.8 52.4 54.3 56.0 57.9 59.6 61.5 63.5 65.0 66.8 68.8
3.5 21.7 23.1 24.8 26.2 27.8 29.2 31.7 32.5 33.9 35.3 36.9 38.5 40.0 41.7 43.1 44.8 46.1 47.8 49.4 50.9 52.2 53.9 55.7 57.0 58.3 60.0 63.8 67.8
4.0 19.9 21.2 22.5 24.9 25.2 26.5 27.9 29.2 31.7 32.0 33.3 35.8 36.0 37.3 38.7 40.0 41.4 42.9 44.1 45.5 46.9 48.1 49.8 50.9 52.1 53.8 57.0 60.2 63.9 67.1
4.5 18.4 19.7 20.8 22.0 23.2 24.4 25.6 26.9 28.0 29.3 30.4 31.8 32.9 34.2 35.6 36.7 37.8 39.0 40.1 41.2 42.5 43.8 45.0 46.3 47.4 48.8 51.8 54.6 57.8 60.9 63.9 66.9
5.0 17.2 18.5 19.5 20.7 21.7 22.7 23.8 24.9 26.0 27.1 28.2 29.4 30.3 31.5 32.7 33.8 34.9 35.9 36.8 38 39.2 40.1 41.7 42.4 43.7 44.7 47.4 50.1 52.9 55.8 58.3 61.2
5.5 16.3 17.4 18.4 19.4 20.4 21.3 22.3 23.3 24.3 25.4 26.3 27.3 28.4 29.4 30.6 31.4 32.4 33.6 34.5 35.3 36.4 37.4 38.4 39.6 40.3 41.7 44.0 46.5 49.0 51.8 54.1 56.5
6.0 15.6 16.5 17.4 18.3 19.3 20.4 21.2 22.0 23.0 23.9 24.9 25.8 26.8 27.7 28.6 29.5 30.4 31.4 32.3 33.1 34.2 35.0 36.0 36.9 37.9 38.9 41.0 43.5 45.8 48.0 50.3 52.8
6.5 14.9 15.7 16.7 17.5 18.4 19.3 20.1 20.9 21.8 22.7 23.6 24.5 25.3 26.1 27.0 27.8 28.8 29.6 30.6 31.3 32.3 33.0 34.1 34.8 35.7 36.5 38.7 40.8 42.9 45.1 47.5 49.7
7.0 14.4 15.3 16.0 16.8 17.8 18.4 19.3 20.1 20.9 21.7 22.4 23.2 24.1 24.9 25.7 26.5 27.3 28.1 28.9 29.8 30.5 31.4 32.3 33.0 33.8 34.6 36.5 38.6 40.5 42.7 44.7 46.6
7.5 13.9 14.6 15.4 16.2 16.9 17.7 18.5 19.2 20.1 20.7 21.3 22.2 23.0 23.8 24.5 25.2 26 26.8 27.5 28.2 29.0 29.8 30.6 31.3 32.3 32.9 34.8 36.5 38.5 40.3 42.3 44.2
8.0 13.5 14.3 14.9 15.7 16.3 17.1 17.7 18.5 19.3 20.0 20.7 21.4 22.1 22.8 23.5 24.2 25 25.7 26.3 27 27.8 28.5 29.2 30.0 30.8 31.5 33.2 35.0 36.8 38.5 40.2 42.1
8.5 13.2 13.8 14.5 15.2 15.8 16.5 17.3 17.8 18.6 19.3 20.0 20.6 21.3 21.9 22.6 23.3 23.9 24.6 25.3 25.9 26.7 27.3 28.0 28.8 29.4 30.1 31.8 33.5 35.2 36.9 38.7 40.2
9.0 12.8 13.4 14.1 14.7 15.4 16.0 16.7 17.3 17.9 18.6 19.3 20 20.6 21.2 21.8 22.4 23.1 23.8 24.4 25 25.7 26.3 27.0 27.7 28.3 28.9 30.5 32.1 33.8 35.3 37.0 38.5
9.5 12.5 13.2 13.7 14.3 14.9 15.7 16.3 16.8 17.4 18.1 18.6 19.3 19.9 20.5 21.1 21.7 22.4 22.9 23.5 24.1 24.8 25.4 26.0 26.7 27.2 27.9 29.4 31.0 32.5 34.0 35.5 37.2
10 12.3 12.8 13.4 14 14.6 15.2 15.7 16.3 16.9 17.5 18.1 18.7 19.3 20 20.5 21.0 21.6 22.2 22.8 23.4 24.0 24.6 25.1 25.8 36.3 27.0 28.3 29.9 31.4 32.9 34.4 35.7
11 11.8 12.4 12.8 13.4 13.9 14.5 15 15.5 16.7 17.2 17.2 17.8 18.3 18.7 19.4 20.0 20.5 20.9 21.5 22 22.6 23.1 23.7 24.2 24.8 25.3 26.7 28.0 29.4 31.8 32.1 33.5
12 11.4 11.8 12.5 12.9 13.4 13.9 14.4 14.9 15.9 16.4 16.4 16.9 17.4 17.9 18.4 18.9 19.5 20.0 20.5 20.9 21.4 22.9 22.4 22.9 23.5 24.0 25.2 26.5 27.8 29.0 30.2 31.7
13 11.2 11.6 12.1 12.5 12.9 13.4 13.9 14.3 15.3 15.8 15.8 16.3 16.7 17.2 17.7 18.1 18.6 19.1 19.6 20.1 20.5 21.1 21.3 21.8 22.3 22.8 24.0 25.2 26.3 27.5 28.8 30.0
14 11.3 11.8 12.2 12.6 13.0 13.4 13.8 14.8 15.3 15.3 15.6 16.2 16.5 16.9 17.4 17.8 18.3 18.7 19.2 19.7 20.2 20.6 21.0 21.4 21.8 22.9 24.1 25.2 26.2 27.4 28.6
ตารางที่ 2.1-3 ร้อยละการสู ญเสี ยความร้อนออกทางปล่องไอเสี ย สาหรับน้ ามันดีเซล

15 11.4 11.7 12.4 12.6 13.1 13.5 14.3 14.8 14.8 15.3 15.6 15.9 16.4 16.7 17.3 17.7 18.1 18.4 18.9 19.4 19.8 20.3 20.6 21.0 22.0 23.1 24.2 25.2 26.2 27.3
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 13 จาก 106


2
1
2
STACK LOSS -%- NO.6 OIL
% DIFFERENCE BETWEEN FLUE GAS AND ROOM
% TEMPERATURES IN DEGREES FAHRENHEIT

หน้า 14 จาก 106


CO2 200 220 240 260 280 300 320 340 360 380 400 420 440 460 480 500 520 540 560 580 600 620 640 660 680 700 750 800 850 900 950 1000
3.0 24.5 26.5 28.5 30.2 32.2 34.5 36.5 38.2 40.4 42.2 44.4 46.4 48.2 50.0 52.3 54.3 56.3 58.2 60.3 62.0 64.1 66.2 68.1 70.1
3.5 21.8 23.4 25.2 26.8 28.6 30.4 32.1 33.8 35.5 37.4 39.0 4.6 42.2 44.0 45.6 47.5 49.2 51.0 52.8 54.0 56.0 57.8 59.9 61.1 63.0 64.9 69.0
4.0 19.8 21.2 22.8 24.2 25.7 27.3 28.8 30.2 31.6 32.5 34.8 36.3 37.8 39.4 40.8 42.2 43.8 45.1 46.9 48.2 49.8 51.2 52.9 54.2 56.0 57.8 61.1 65.0 68.9
4.5 18.2 19.4 20.8 22.2 23.5 24.8 26.2 27.4 28.8 30.4 31.5 33.0 34.2 35.4 37.0 38.1 39.4 41.0 42.2 43.5 45.0 46.3 47.9 49.0 50.1 51.9 55.0 58.2 61.8 65.1 68.5
5.0 16.8 18.0 19.3 20.4 21.7 22.8 23.2 25.3 26.6 27.8 29.0 30.3 31.4 32.6 33.8 35.3 36.2 37.5 38.3 39.8 41.0 42.3 43.8 44.9 46.1 47.5 50.1 53.6 56.3 59.8 62.3 65.8
5.5 15.8 16.8 18.0 19.2 20.3 21.3 22.5 23.5 24.6 25.8 26.9 28.0 29.2 30.2 31.4 32.5 33.5 34.7 35.8 37.0 37.9 39.2 40.1 41.3 42.3 43.8 46.1 49.1 52.0 54.7 57.8 60.1
6.0 14.8 15.8 16.9 18.0 19.0 20.0 21.1 22.0 23.1 24.2 25.2 26.3 27.3 28.3 29.3 30.3 31.3 32.3 33.5 34.3 35.3 36.5 37.5 38.3 39.7 40.5 43.0 45.8 48.2 50.9 53.5 56.0
6.5 14.3 15.2 16.1 17.1 18.0 18.9 19.9 20.8 21.8 22.8 23.7 24.6 25.5 26.5 27.5 28.5 29.4 30.4 31.4 32.3 33.4 34.3 35.1 36.1 37.1 38.0 40.2 42.8 45.1 47.6 49.9 52.1
7.0 13.5 14.4 15.3 16.2 17.1 17.9 18.8 19.7 20.7 21.5 22.4 23.3 24.2 25.0 25.8 26.8 27.7 28.6 29.0 30.2 31.2 32.2 33.0 33.9 34.9 35.8 37.9 40.1 42.1 44.4 46.8 49.0
7.5 13.0 13.8 14.6 15.5 16.3 17.3 18.0 18.8 19.7 20.5 21.4 22.2 22.9 23.7 24.6 25.4 26.3 27.2 27.9 28.8 29.6 30.5 31.2 32.1 33.0 34.9 35.9 37.9 40.0 42.0 44.1 46.1
8.0 12.5 13.3 14.1 14.8 15.7 16.4 17.3 18.0 18.8 19.6 20.4 21.2 21.9 22.7 23.5 24.2 25.0 25.8 26.6 27.4 28.2 29.0 29.9 30.6 31.5 32.1 34.1 36.0 38.0 40.0 41.9 43.9
8.5 12.2 12.8 13.6 14.4 15.1 15.7 16.6 17.3 18.0 18.7 19.6 20.3 21.0 21.6 22.5 23.3 23.9 24.7 25.5 26.2 26.8 27.6 28.2 29.1 29.9 30.8 32.6 34.2 36.2 38.0 39.9 41.8
9.0 11.7 12.4 13.2 13.8 14.6 15.3 15.9 16.6 17.4 18.1 18.8 19.5 20.2 20.8 21.6 22.3 22.9 23.7 24.4 25.0 25.7 26.5 27.1 27.9 28.7 29.4 31.1 32.9 34.6 36.3 38.0 39.9
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

9.5 11.4 12.1 12.7 13.4 14.0 14.7 15.4 16.0 16.7 17.5 18.1 18.7 19.4 20.0 20.7 21.4 22.1 22.8 23.5 24.0 24.7 25.4 26.1 26.8 27.5 28.1 29.8 31.2 33.2 34.9 36.4 38.1
10 11.2 11.7 12.3 13.0 13.7 14.4 14.8 15.5 16.2 16.8 17.5 18.2 18.7 19.4 20.0 20.6 21.3 21.9 22.6 23.2 23.8 24.5 25.1 25.8 26.4 27.0 28.7 30.1 31.8 33.5 35.0 36.7
11 10.6 11.3 11.8 12.4 12.9 13.5 14.2 14.7 15.3 15.8 16.5 17.0 17.6 18.2 18.8 19.4 20.0 20.6 21.2 21.7 22.3 22.9 23.5 24.1 24.8 25.2 26.8 28.1 29.8 31.2 32.5 34.1
12 10.2 10.7 11.3 11.7 12.3 12.8 13.4 13.8 14.5 15.1 15.6 16.2 16.7 17.2 17.8 18.3 18.8 19.4 19.9 20.4 21.0 21.6 22.1 22.7 23.1 23.8 25.0 26.4 27.9 29.1 30.5 31.9
13 10.3 10.8 11.3 11.8 12.3 12.8 13.3 13.8 14.4 14.8 15.4 15.8 16.3 16.8 17.3 17.9 18.4 18.9 19.3 19.8 20.4 20.9 21.4 21.9 22.4 23.8 24.9 26.2 27.5 28.9 30.0
14 9.8 10.4 10.8 11.4 11.8 12.3 12.8 13.3 13.7 14.3 14.7 15.2 15.6 16.2 16.6 17.1 17.5 18.0 18.5 18.8 19.4 19.9 20.4 20.9 21.2 22.5 23.7 24.9 26.1 27.2 28.5
15 10.2 10.6 11.0 11.4 11.8 12.4 12.7 13.3 13.7 14.2 14.6 15.0 15.4 15.8 16.4 16.8 17.3 17.7 18.2 18.6 19.0 19.5 19.9 20.3 21.5 22.6 23.8 24.9 25.9 27.1
ตารางที่ 2.1-4 ร้อยละการสู ญเสี ยความร้อนออกทางปล่องไอเสี ย สาหรับน้ ามันเตาซี

16 10.3 10.7 11.1 11.5 11.8 12.3 12.8 13.3 13.7 14.0 14.4 14.8 15.3 15.7 16.2 16.6 16.9 17.4 17.9 18.2 18.8 19.1 19.5 20.6 21.6 22.7 23.8 24.8 25.9
STACK LOSS -%- NATURAL GAS
% DIFFERENCE BETWEEN FLUE GAS AND ROOM TEMPERATURES IN DEGREES FAHRENHEIT
CO2 200 220 240 260 280 300 320 340 360 380 400 420 440 460 480 500 520 540 560 580 600 620 640 660 680 700 750 800 850 900 950 1000
3.0 23.1 24.4 25.9 27.2 28.6 30.0 31.3 32.8 34.1 35.8 36.9 38.2 39.8 41.0 42.2 43.8 45.0 46.3 47.8 49.0 50.0
3.5 21.2 22.5 23.8 24.9 26.1 27.2 28.4 29.6 30.9 32.0 33.2 34.4 35.8 36.8 38.0 39.2 40.3 41.6 42.8 43.8 45.0 46.2 47.7 48.3 49.8
4.0 19.9 20.9 22.0 23.1 24.1 25.1 26.2 27.2 28.3 29.4 30.4 31.8 32.5 33.8 34.8 35.8 36.8 37.8 38.8 39.9 40.9 42.1 43.0 44.1 45.2 46.2 48.8
4.5 18.9 19.9 20.9 21.8 22.7 23.6 24.5 25.5 26.4 27.3 28.3 29.2 30.2 31.2 32.2 33.0 34.0 34.9 35.9 36.8 37.8 38.6 39.8 40.4 41.5 42.6 44.8 47.2 49.8
5.0 18.0 18.9 19.8 20.6 21.4 22.2 23.1 24.0 24.9 25.8 26.8 27.5 28.3 29.1 30.1 30.9 31.8 32.5 33.6 34.3 35.7 36.2 36.9 37.8 38.8 39.7 41.8 43.8 46.0 48.2
5.5 17.4 18.1 18.9 19.8 20.5 21.2 22.1 22.9 23.8 24.5 25.2 26.2 26.9 27.8 28.5 29.2 30.0 30.8 31.8 32.3 33.2 34.1 34.9 35.8 36.3 37.3 39.2 41.0 43.0 45.3 47.2 49.0
6.0 16.8 17.4 18.2 18.9 19.6 20.4 21.1 21.8 22.7 23.3 24.1 24.9 25.5 26.2 27.0 27.8 28.4 29.2 30.0 30.8 31.5 32.2 32.9 33.8 34.3 35.2 36.8 38.8 40.4 42.5 44.3 46.2
6.5 16.3 16.9 17.6 18.4 19.0 19.8 20.4 21.1 21.8 22.4 23.2 23.8 24.5 25.2 25.9 26.5 27.2 27.9 28.7 29.2 30.0 30.9 31.4 32.1 32.8 33.5 34.6 36.8 38.4 40.3 42.0 43.8
7.0 15.8 16.5 17.1 17.8 18.4 19.1 19.8 20.4 21.0 21.8 22.3 22.9 23.6 24.2 24.9 25.5 26.2 26.8 27.4 28.0 28.8 29.4 30.0 30.8 31.2 32.0 33.8 35.3 36.8 38.3 40.0 41.8
7.5 15.5 16.1 16.7 17.2 17.9 18.5 19.1 19.8 20.3 20.9 21.5 22.2 22.8 23.3 24.0 24.6 25.2 25.8 26.4 26.9 27.7 28.2 28.8 29.4 30.1 30.8 32.2 33.8 35.2 36.8 38.3 39.9
8.0 15.2 15.7 16.3 16.9 17.4 18.0 18.6 19.2 19.8 20.3 20.9 21.5 22.1 22.8 23.2 23.8 24.4 25.0 25.5 26.0 26.7 27.2 27.8 28.4 29.0 29.5 31.0 32.4 33.8 35.4 36.8 38.2
8.5 14.9 15.4 15.9 16.5 17.1 17.6 18.2 18.7 19.3 19.8 20.4 20.9 21.4 22.0 22.5 23.1 23.7 24.2 24.8 25.3 25.8 26.4 26.9 27.4 28.1 28.6 29.9 31.3 32.8 34.2 35.4 36.8
9.0 14.6 15.2 15.7 16.2 16.6 17.2 17.8 18.3 18.8 19.3 19.9 20.4 20.9 21.4 21.9 22.5 23.0 23.5 24.1 24.5 25.2 25.8 26.2 26.7 27.2 27.8 29.0 30.3 31.8 33.0 34.3 35.7
9.5 14.4 14.9 15.4 15.9 16.4 16.9 17.4 17.9 18.4 18.9 19.5 19.9 20.6 20.9 21.4 21.9 22.4 22.9 23.4 23.8 24.4 24.9 25.4 25.9 26.4 26.9 28.2 29.4 30.8 32.0 33.3 34.5
10 14.2 14.6 15.2 15.6 16.1 16.6 17.1 17.5 18.1 18.5 19.0 19.5 20.0 20.4 20.8 21.4 21.8 22.4 22.8 23.3 23.8 24.2 24.8 25.2 25.8 26.2 27.4 28.6 29.8 31.2 32.2 33.4
11 14.4 14.7 15.2 15.6 16.1 16.5 16.9 17.4 17.8 18.4 18.8 19.3 19.6 20.2 20.5 20.9 21.4 21.9 22.3 22.8 23.2 23.7 24.2 24.6 25.0 26.2 27.2 28.3 29.5 30.8 31.8
12 14.4 14.8 15.2 15.6 16.1 16.5 16.9 17.3 17.8 18.2 18.6 19.0 19.4 19.8 20.2 20.6 21.1 21.4 21.9 22.3 22.8 23.2 23.6 24.0 25.1 26.1 27.2 28.3 29.2 30.3
ตารางที่ 2.1-5 ร้อยละการสู ญเสี ยความร้อนออกทางปล่องไอเสี ย สาหรับก๊าซธรรมชาติ
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 15 จาก 106


2
1
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ก) ความสั มพันธ์ ของ Excess air, %O2 และ %CO2 ของนา้ มันดีเซล

58%

ข) ความสั มพันธ์ ของ Excess air, %O2 และ %CO2 ของนา้ มันเตา C

หน้า 16 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2
1

ค) ความสั มพันธ์ ของ Excess air, %O2 และ %CO2 ของก๊ าซธรรมชาติ
รู ปที่ 2.1-2 ความสัมพันธ์ของ Excess air, %O2 และ %CO2 ของเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ

ตัวอย่ างที่ 2-3


จากการตรวจวัดหม้อไอน้ าลูกหนึ่ งพบว่าปริ มาณ O2 ในก๊าซไอเสี ยมีค่าเท่ากับ 8% และ
อุณหภูมิไอเสี ยเท่ากับ 246C ขณะที่อุณหภูมิห้องเท่ากับ 35C จงประเมินการสู ญเสี ย
ความร้อนของไอเสี ยและประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ของหม้อไอน้ า
วิธีคำนวณ
จากรู ปที่ 2.1-2 ข)ความสัมพันธ์ของ Excess Air, %O2 และ %CO2 เมื่อ O2 เท่ากับ 8%
และเชื้อเพลิงที่ใช้เป็ นน้ ามันเตา ดังนั้น ปริ มาณอากาศส่ วนเกินจะเท่ากับ 58% และ CO2
เท่ากับ 10.2% จากตารางที่ 2.1-4 เมื่ออุณหภูมิไอเสี ยหักด้วยอุณหภูมิห้อง ซึ่ งคานวณได้
เท่ากับ 211C (380F)
ฉะนั้น การสู ญเสี ยในก๊าซไอเสี ย  16.8 % (พิจารณาที่ค่าความร้อนเชื้อเพลิงสูง HHV)
การสู ญเสี ยในก๊าซไอเสี ย  16.8 – 4.5 = 12.3 % (พิจารณาที่ค่าความร้อนเชื้อเพลิงต่า LHV)
ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ = 100 – 12.3= 87.7 % (พิจารณาที่ค่าความร้อนเชื้อเพลิงต่า LHV)

หน้า 17 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.1.2.2 การลดการสู ญเสี ยความร้ อนทางปล่ องไอเสี ย


2 พลังงานความร้อนที่ ได้จากการเผาไหม้เชื้ อเพลิงจะถูกนาไปใช้ใน
การต้ ม น้ าเพื่ อ ผลิ ต ไอน้ าโดยผ่ า นพื้ นผิ ว แลกเปลี่ ย นความร้ อ นซึ่ ง
ประสิ ทธิ ภาพในการแลกเปลี่ ยนความร้ อนของหม้อไอน้ าแต่ละลูกจะไม่
เท่ากัน ดังนั้น จึงเกิดการสู ญเสี ยความร้อนออกทางปล่องไอเสี ยในปริ มาณที่
แตกต่างกันซึ่ งโดยทัว่ ไปจะมีการสู ญเสี ยประมาณ 10-30%

1) ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ อการสู ญเสี ยความร้ อนทางปล่ องไอเสี ย


1. ปริมาณอากาศที่ใช้ เผาไหม้ ไม่ เหมาะสม ถ้าปริ มาณอากาศมากเกินไป
อากาศส่ วนที่ไม่ได้ช่วยในการเผาไหม้ จะพาความร้อนจากห้องเผาไหม้ทิ้ง
ทางปล่องไอเสี ยมากขึ้ น โดยสังเกตได้จากอุณหภูมิไอเสี ยที่ สูงขึ้ น ดังนั้น
ควรทาการปรับอัตราส่ วนอากาศ (Air Ratio) ให้เหมาะสมกับเชื้ อเพลิงแต่
ละชนิด
ตารางที่ 2.1-6 มาตรฐานอัตราส่ วนอากาศของหม้อไอน้ า
ขนาดหม้ อไอนา้ เชื้อเพลิงแข็ง เชื้อเพลิงเหลว เชื้อเพลิงก๊าซ
(ตัน/ชั่วโมง) ตะกรับคงที่ ฟลูอดิ ไดซ์ เบด
< 10 - - 1.3 1.3
5-10 - - 1.3 1.3
10-30 1.3-1.45 1.2-1.45 1.2-1.3 1.2-1.3
> 30 1.3-1.45 1.2-1.45 1.1-1.25 1.1-1.2

หน้า 18 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.1-7 ปริ มาณอากาศส่ วนเกินที่เหมาะสมตามเชื้อเพลิงและระบบการเผาไหม้


2
1

2. เขม่ า (Soot) เกิดขึ้นจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ซึ่ งเชื้อเพลิงแข็ง


จะเกิดเขม่ ามากกว่ าเชื้ อเพลิงเหลวและเชื้ อเพลิงก๊ าซ โดยเขม่ าจะมี ขนาด
โมเลกุ ล ที่ ใหญ่ ก ว่าควัน (Smoke) ดังนั้น จึ งเกาะและสะสมอยู่บ นพื้ น ผิ ว
แลกเปลี่ยนความร้อน เมื่อเขม่ามากขึ้นอุณหภูมิไอเสี ยที่ออกปล่องจะสู งขึ้น
ส่ งผลให้การสู ญเสี ยความร้อนออกทางปล่องมากขึ้น โดยทัว่ ไปเขม่ าที่หนา
ขึ้น 1 มิ ล ลิ เมตร จะท าให้ เกิ ด การสิ้ น เปลื อ งเชื้ อ เพลิ ง เพิ่ ม ขึ้น ประมาณ
15-20%

3. ตะกรั น (Scale) เกิ ดจากการรวมตัวของสารละลายที่ อยู่ในน้ าเกิ ด


เป็ นของแข็งเกาะบนพื้นผิวแลกเปลี่ยนความร้อน ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพใน
การแลกเปลี่ยนความร้อนลดต่ าลง ซึ่ งจะทาให้การสู ญ เสี ยความร้อนทาง
ปล่องไอเสี ยมากขึ้น โดยสังเกตจากอุณหภูมิไอเสี ยจะสู งขึ้น ซึ่ งตะกรั นที่
หนาขึน้ ทุกๆ 1 mm. จะทาให้ สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงเพิม่ ขึน้ ประมาณ 2%

หน้า 19 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ปั จจัยต่างๆ ที่กล่าวมาจะทาให้อุณหภูมิไอเสี ยสู งขึ้น ซึ่ งส่ งผลให้การ


2 สู ญ เสี ย ความร้ อ นทางปล่ อ งไอเสี ย เพิ่ ม ขึ้ น ดัง นั้ น ผู ้ใ ช้ห ม้อ ไอน้ าควร
ตรวจสอบอุ ณ หภู มิ ไ อเสี ยเป็ นประจ าโดยท าการบัน ทึ ก อุ ณ หภู มิ ไอเสี ย
หลัง จากปรั บ ตั้ง ปริ ม าณอากาศที่ เหมาะสมและท าความสะอาดพื้ น ผิ ว
แลกเปลี่ ยนความร้ อนแล้ว อุ ณ หภู มิ ไอเสี ยที่ ได้ไม่ ควรเกิ น ค่าในตารางที่
2.1- 4 บวกกับอุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อมลบด้วย 20 นอกจากนั้น หลังจาก
ใช้ ง านไประยะหนึ่ งจะสั ง เกตเห็ น ว่ า อุ ณ หภู มิ ไ อเสี ยจะสู งขึ้ น ดัง นั้ น
เมื่ ออุณหภู มิไอเสี ยสู งกว่ าเดิม 20C ควรทาความสะอาดโดยการขูดเขม่ า
เพื่อลดการสู ญเสี ยความร้อนดังกล่าว

ตารางที่ 2.1-8 มาตรฐานอุณหภูมิไอเสี ยของหม้อไอน้ า (C)


เชื้อเพลิง เชื้อเพลิง เชื้อเพลิง ก๊ าซทิง้
ขนาดพิกดั หม้ อไอนา้
แข็ง เหลว ก๊ าซ กระบวนการผลิต
หม้อไอน้ าขนาดใหญ่เพื่อผลิตไฟฟ้า - 145 110 200
หม้อไอน้ าอื่นๆ 200 200 170 200
30 ตันต่อชัว่ โมง หรื อมากกว่า
10 ถึง 30 ตันต่อชัว่ โมง 200 200 170 -
5 ถึง 10 ตันต่อชัว่ โมง - 220 200 -
น้อยกว่า 5 ตันต่อชัว่ โมง - 250 220 -

หมายเหตุ ใช้ที่อุณหภูมิบรรยากาศ 20C และภาระ 100% และพื้นผิว


แลกเปลี่ยนความร้อนสะอาด

หน้า 20 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2) การคานวณการสู ญเสี ยความร้ อนจากไอเสี ย


การสู ญเสี ยความร้อนออกทางปล่องไอเสี ยของหม้อไอน้ าแต่ละ 2
ชุ ด ไม่ เท่ ากัน เราสามารถค านวณการสู ญ เสี ยความร้ อ นจากไอเสี ย จาก
1
ตารางที่ 2.1-3 ถึง 2.1-5 และรู ปที่ 2.1-2 ในหัวข้อที่ 2.1.2.1
ตัวอย่ างที่ 2-4
จากตัว อย่างที่ 1 และ 3 การตรวจวัด ปริ ม าณออกซิ เจนในก๊ าซไอเสี ย พบว่าเท่ ากับ 8% และ
อุ ณ หภู มิ ไ อเสี ยเท่ า กั บ 246C โดยที่ อุ ณ หภู มิ ห้ อ งเท่ า กั บ 35C หากต้ อ งการปรั บ ปรุ ง
ประสิ ทธิ ภาพของหม้ อ ไอน้ าโดยการปรั บ ลดปริ มาณ O2 ในก๊ า ซไอเสี ยลงเหลื อ 5%
ประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ ามีค่าเท่าใด (พิจารณาเฉพาะมาตรการปรับลดปริ มาณออกซิ เจนใน
ก๊าซไอเสี ยเท่านั้น)
วิธีคำนวณ
จากรู ป ที่ 2.1-2 ข) และตารางที่ 2.1-4 ที่ ป ริ ม าณ O2 เท่ ากับ 5% การสู ญ เสี ยในก๊ าซไอเสี ยจะ
เท่ากับ 10.3%
ดังนั้น ประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ า = 100 – 10.3 – 1.7 – 1.23 = 86.8 %
หรื อเพิม่ ขึ้น = 86.8 – 84.7 = 2.1 %
จากตัวอย่างที่ 1 เพื่อผลิตไอน้ าในอัตรา 10 ตันต่อชัว่ โมงต้องป้อนพลังงานความร้อนให้น้ า
= 27,124,800 kJ/h
ดังนั้น พลังงานเชื้อเพลิงที่ตอ้ งใช้ = 27,124,800 / 0.868 kJ/h
= 31,249,769.6 kJ/h
ปริ มาณการใช้น้ ามันเตา = 31,249,769.6 / 40,000 (ค่าความร้อน 40 MJ/L)
= 781.2 L/h (4,687,200 L/y)
ค่าน้ ามันเตาต่อปี = 4,687,200 x 14 B/y
= 65,620,800.0 B/y
ราคาไอน้ าต่อตัน = 65,620,800.0 / (10 x 6,000)
= 1,093.7 B/t

หน้า 21 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

3) มาตรการอนุรักษ์ พลังงานทีเ่ กีย่ วกับการใช้ และการบารุ งรักษา ระบบ/


2 อุปกรณ์ ในการเผาไหม้
1. ทาความสะอาดหัวเผาเชื้อเพลิงเหลวทุกสัปดาห์ และเชื้อเพลิงก๊าซทุกเดือน
เขม่าหรื อสิ่ งสกปรกจะทาให้อากาศและเชื้อเพลิงไหลไม่สะดวก ไม่สามารถ
ฉี ดเป็ นละอองได้
2. ตรวจสอบสภาพการเผาไหม้และปรับตั้งอากาศให้เป็ นไปตามมาตรฐานทุก
เดือน
3. ควรทาเครื่ องหมายไว้ที่เกจวัดความดันน้ ามันเชื้อเพลิง หมัน่ ตรวจสอบว่าความ
ดันยังมีค่าใกล้เคียงกับค่าเดิม
4. ควบคุมอุณหภูมิน้ ามันเชื้อเพลิงที่เข้าเผาไหม้ให้เหมาะสม เชื้อเพลิงที่หนืด
เกินไปจะกระจายเป็ นละอองได้ไม่ดีส่งผลให้ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ลด
ต่าลง ขณะเดียวกันถ้าอุ่นร้อนเกินไป จะสิ้ นเปลื้องพลังงาน และเกิดคราบเขม่า
ที่หวั เผา
น้ ามันเตาเอ อุณหภูมิอุ่นเชื้อเพลิงที่เหมาะสม 90–100°C
น้ ามันเตาซี อุณหภูมิอุ่นเชื้อเพลิงที่เหมาะสม 110–120°C
5. อุ่นน้ ามันเตาด้วยไอน้ าแทนการใช้ไฟฟ้า เนื่องจากต้นทุนไฟฟ้าสู งกว่าเชื้อเพลิง
ประมาณ 30 %
6. ล้างกรองน้ ามันเชื้อเพลิงเป็ นประจาและปล่อยน้ าก้นถังน้ ามันเชื้อเพลิงอย่าง
น้อยปี ละครั้ง
7. ลดขนาดหัวเผาให้เหมาะกับการผลิตไอน้ า หากพบว่าหัวเผาทางานที่ภาระต่า
ตลอดเวลาหรื อเดินหยุดบ่อย
8. อุปกรณ์อุ่นน้ ามันควรมีฉนวนหุม้
9. ในกรณี ของเชื้อเพลิงแข็ง ควรลดความชื้นและลดขนาดของเชื้อเพลิงก่อนเข้า
เผาไหม้

หน้า 22 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

4) เครื่ องประหยัดเชื้อเพลิงหรื อเครื่ องอุ่นนา้ เลีย้ ง


นอกจากการป้ อ งกัน การสู ญ เสี ย ความร้ อ นจากปล่ อ งแล้ว เรา 2
สามารถนาก๊าซร้อนทิ้งซึ่ งมีอุณหภูมิประมาณ 200-250C มาใช้ประโยชน์
1
โดยการติดตั้งเครื่ องประหยัดเชื้อเพลิง (หรื ออุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน)
ที่ปล่องไอเสี ยโดยบางส่ วนของความร้อนในก๊าซร้อนทิ้งจะถูกนากลับคืน
มาเพื่ ออุ่นน้ าเลี้ ยงหรื อผลิ ตน้ าร้ อนได้ ในทางปฏิ บ ัติจริ งต้องคานวณการ
ประหยัดออกมาเป็ นรายกรณี การประหยัดจะได้มากที่สุดก็ต่อเมื่ออุณหภูมิ
ก๊าซร้ อนทิ้ งสู งและไม่มีการเก็บคื นคอนเดนเสทกลับเข้าไปในหม้อไอน้ า
หรื อมีกน็ อ้ ยมาก
การติ ดตั้งเครื่ องประหยัดเชื้ อ เพลิ งจะคุ ม้ กับ การลงทุ นก็ต่อ เมื่ อ
หม้อ ไอน้ ามี ข นาดใหญ่ ป ระมาณ 3 MW (ผลิ ต ไอน้ าประมาณ 3.6 ตัน /
ชั่ ว โมง) หรื อใหญ่ ก ว่ า ในกรณี ที่ ห ม้ อ ไอน้ าต้อ งเดิ น ที่ ภ าระต่ า ๆ เป็ น
เวลานานๆ ก็จาเป็ นต้องติดตั้งทางผ่าน (Bypass) เพื่อบังคับให้ก๊าซร้อนทิ้ ง
ออกปล่องไปโดยตรงโดยไม่ผา่ นเครื่ องประหยัดเชื้อเพลิง เพื่อหลีกเลี่ยงการ
กลั่นตัวของกรดที่จะทาให้ เครื่ องประหยัดเชื้ อเพลิงผุกร่ อน อันเนื่ องมาจาก
อุณหภูมิก๊าซร้อนทิ้งต่า
90%
80%
70% ไม่มีเครื่ องประหยัดเชื้อเพลิง
ประสิ ทธิ ภาพ

60%
50%
40%
30%
20%
10% แหล่งที่มา : จากประสบการณ์หม้อไอน้ ามากกว่า 500 ลูก
0%
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

รูปที่ 2.1-3 ประสิ ทธิภาพของหม้อไอน้ าขนาดใหญ่

หน้า 23 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.1.2.3 การลดการสู ญเสี ยความร้ อนทางการระบายนา้ จากหม้ อไอนา้ (โบลว์


2 ดาวน์ )
นอกจากการควบคุมการเผาไหม้ของหม้อไอน้ าแล้วการควบคุม
คุ ณ ภาพของน้ าในหม้อ ไอน้ าก็เป็ นอี กปั จจัยหนึ่ งที่ ต ้อ งควบคุ ม ให้ อ ยู่ใน
ระดับที่เหมาะสม โดยปกติ น้ าจะมีของแข็งแขวนลอยและแร่ ธาตุต่างๆ เจือ
ปนอยู่ ดังนั้น เมื่ อ น้ าถู กผลิ ตเป็ นไอน้ าแล้ว ความเข้ม ข้น ของสารเจื อ ปน
เหล่านี้ จะสู งขึ้นและเกิดการตกตะกอน/ตกผลึก ซึ่ งมีผลอย่างยิง่ ต่อการลดลง
ของประสิ ท ธิ ภ าพของหม้อ ไอน้ า และคุ ณ ภาพของไอน้ า รวมถึ ง ความ
เสี ยหายของอุ ป กรณ์ ต่างๆ ที่ จะเกิ ดขึ้ นในอนาคต และเพื่อป้ องกันปั ญ หา
เหล่านี้ เราจาเป็ นต้องระบายน้ าร้อนในหม้อไอน้ าทิ้งผ่านระบบโบลว์ดาวน์
ระบบโบลว์ดาวน์ที่ทางานไม่เหมาะสม เช่น ระบายนา้ โบลว์ ดาวน์
มากเกินไป ทาให้ ประสิ ทธิภาพของหม้ อไอน้าลดลงและสิ้นเปลืองน้า และ
หากระบายน้อยเกินไปจะทาให้เกิดตะกรันเกาะผิวท่อแลกเปลี่ยนความร้อน
ส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพการแลกเปลี่ยนความร้อนลดลงและอาจเกิดการเดือด
อย่างรุ นแรงของน้ า ท าให้ไอน้ าเปี ยกและอาจนามาซึ่ งความเสี ยหายของ
ระบบท่อน้ า โดยทัว่ ไปควรมีปริมาณน้าที่ระบายออกต่าที่สุดและไม่ เกิน 5%
ของปริมาณนา้ ป้อนเข้ าหม้ อไอนา้
น้ าป้ อนที่เข้าหม้อไอน้ ามีสารละลายและสารแขวนลอยอยูจ่ านวน
หนึ่ง เมื่อน้ าระเหยกลายเป็ นไอน้ าจะทาให้ความเข้มข้นของสารละลายและ
สารแขวนลอยเพิ่ ม ขึ้ น และจะก่ อ ให้ เกิ ดหยดน้ าและฟองติ ด ไปกับ ไอน้ า
เรี ยกว่า Carry Over ซึ่ งแบ่งออกได้เป็ น

หน้า 24 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

1. Priming เกิดขึ้นจากการที่ไอน้ าเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ วและรุ นแรงเนื่ องจาก


ภาระของหม้อ ไอน้ าเปลี่ ยนแปลงหรื อ สาเหตุ อื่ น ๆ จนฟองก๊ าซและ 2
ละอองน้ าที่ เกิ ดขึ้ นภายในหม้อไอน้ าไม่ถูกแยกออกจากไอน้ า ทาให้มี
1
ละอองน้ าปะปนไปกับไอน้ า
2. Foaming เกิดขึ้นจากการที่มีช้ นั ของฟองก๊าซเกิดขึ้นที่ผิวน้ าเนื่ องจากน้ า
ในหม้อไอน้ ามีความเข้มข้นสู ง ซึ่ งเป็ นสาเหตุหนึ่ งที่ทาให้เกิดการเดือด
อย่างรุ นแรงทาให้มีละอองน้ าปะปนไปกับไอน้ าได้เช่นกัน
การควบคุ ม การโบลว์ด าวน์ ท าได้โ ดยการวัด ค่ าสภาพการน า
ไฟฟ้ าของน้ าในหม้อไอน้ า โดยนาน้ าจากหม้อ ไอน้ ามาวัดด้วยเครื่ อ งวัด
สภาพการนาไฟฟ้า โดยต้องปล่อยน้ าระบายทิ้ง เพื่อไล่สิ่งสกปรกในท่อออก
ก่ อ น แล้วจึ งน ามาเข้าเครื่ อ งวัด หากค่ าที่ วดั ได้ต่ ากว่ามาตรฐานก็ค วรลด
ความถี่หรื อปริ มาณการระบายลง

รูปที่ 2.1-4 การระบายน้ าอัตโนมัติ

หน้า 25 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

1) การระบายนา้ ออกจากหม้ อไอนา้ สามารถแบ่ งได้ 2 ลักษณะ


2 1. การระบายนา้ จากด้ านล่างหม้ อไอนา้ (Bottom Blowdown) เพื่อระบาย
ตะกอนโคลนที่สะสมบริ เวณก้นหม้อไอน้ าทิ้ง
2. การระบายนา้ จากด้ านบนหม้ อไอนา้ (Surface Blowdown) เพื่อลดความ
เข้มข้นของสารละลายและสารแขวนลอยที่อยูใ่ นน้ า

2) การควบคุมการระบายนา้ แบ่ งได้ 2 แบบ


1. แบบเป็ นครั้งคราว โดยผูใ้ ช้หม้อไอน้ าจะเปิ ดวาล์วระบายหลายๆ ครั้ง
ครั้งละสั้นๆ
2. แบบต่ อเนื่อง โดยวาล์วระบายน้ าของหม้อไอน้ าจะเปิ ดหรื อปิ ดเมื่อได้รับ
สั ญ ญาณเวลาที่ ต้ ัง ไว้ (Timer Control) หรื อ สั ญ ญาณที่ ไ ด้จ ากการวัด
ส ม บั ติ ข อ งน้ าใน ห ม้ อ ไอน้ า เช่ น ส ภ าพ ก ารน าไฟ ฟ้ าข อ งน้ า
(Conductivity)

การพิ จ ารณาว่ า ระดับ ความเข้ม ข้น ของสารละลายเหมาะสม


หรื อ ไม่ สามารถพิ จ ารณาได้จ ากค่ า TDS (Total Dissolved Solid) ซึ่ งวัด
ปริ มาณสารแขวนลอยที่อยูใ่ นน้ าของหม้อไอน้ าโดยตรงว่าใน 1 ล้านส่ วนมี
สารแขวนลอยกี่ส่วน (ppm) หรื อวัดโดยอ้อมจากค่าสภาพการนาไฟฟ้ าของ
น้ า (Conductivity) ซึ่ งมี ห น่ วยเป็ นไมโครซี เมนต์ต่อ เซนติ เมตร (S/cm)
ผูใ้ ช้ห ม้อ ไอน้ าควรควบคุ ม คุ ณ ภาพน้ าป้ อ นและน้ าในหม้อ ไอน้ าให้ ไ ด้
มาตรฐานตามตารางที่ 2.1-9 เพื่อความปลอดภัยและคุณภาพของไอน้ าที่ดี

หน้า 26 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.1-9 มาตรฐานน้ าป้อนและน้ าหม้อไอน้ า


(ความดันไม่เกิน 20 barg : British Standard and JIS) 2
รายการ นา้ ป้อน นา้ ในหม้ อไอนา้ 1
ค่าการนาไฟฟ้าของน้ า (S/cm) <400 ไม่เกิน 7,000
ค่าความเป็ นกรดด่าง (pH) 8.5-9.5 10.8-11.3
โซเดียมฟอสเฟต (mg/l) - 50-100
ซิลิกา (mg/l) - ไม่เกิน 120-150
ความกระด้าง (ppm) ค่าเข้าใกล้ 0 0

ประกาศกระทรวงอุ ตสาหกรรมเรื่ อ งคุ ณ สมบัติข องน้ าส าหรั บ


หม้อน้ า พ.ศ. 2549 อาศัยอานาจตามความในข้อ 8 แห่ งกฎกระทรวงกาหนด
มาตรการความปลอดภัยเกี่ ยวกับหม้อน้ าหม้อต้มที่ ใช้ของเหลวเป็ นสื่ อนา
ความร้อน และภาชนะรับแรงดันในโรงงาน พ.ศ. 2549 ออกตามความใน
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม
ออกประกาศไว้ดงั ต่อไปนี้

ผูป้ ระกอบกิจการโรงงานที่มีการใช้งานหม้อน้ าต้องปรับสภาพน้ า


สาหรับหม้อน้ า ดังนี้
1. คุณภาพน้ าป้อนหม้อน้ า (Boiler feed water) ให้เป็ นไปตามเกณฑ์ ดังนี้

หน้า 27 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2. คุณภาพน้ าในหม้อน้ า (Boiler water) ให้เป็ นไปตามเกณฑ์ดงั นี้


2

3) การคานวณการสู ญเสี ยความร้ อนจากนา้ ระบาย


เราสามารถคานวณการสู ญเสี ยความร้อนจากโบล์วดาน์ QB (kW) ได้จาก
สมการที่ (2.4)

QB  mB hB  hW  (2.4)

เมื่อ mB = อัตราการโบลว์ดาวน์, kg/s


Cp = ค่าความจุความร้อนจาเพาะของน้ า (4.18 kJ/kg.K)
hB = เอนทาลปี ของน้ าโบลว์ดาวน์, kJ/kg
hW = เอนทาลปี ของน้ าป้อน, kJ/kg
TB = อุณหภูมิของน้ าโบลว์ดาวน์, kJ/kg
TW = อุณหภูมิของน้ าป้อน, kJ/kg
ค่าการสู ญเสี ยความร้อนจากโบลว์ดาวน์ QB (kW) ที่ได้จากสมการ
ที่ (2.4) เมื่อหารด้วยปริ มาณความร้อนของเชื้อเพลิงที่ป้อนเข้าเราจะทราบค่า
เป็ นร้อยละของสู ญเสี ยความร้อนจากการโบลว์ดาวน์ (B)
ในกรณี ที่มีการตรวจวัดค่าสภาพการนาไฟฟ้ าของทั้งน้ าป้ อนและ
น้ าในหม้อไอน้ า เราสามารถใช้ขอ้ มูลนี้ในการประเมินร้อยละของการโบลว์
ดาวน์ (B) โดยใช้ตารางที่ 2.6-5

หน้า 28 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

4) ขั้นตอนการหาปริมาณนา้ โบลว์ ดาวน์


1. ตรวจวัดค่าสภาพการนาไฟฟ้ าของน้ าป้ อนและน้ าในหม้อไอน้ าโดยใช้ 2
เครื่ องมื อวัดค่าสภาพการนาไฟฟ้ าของน้ า ซึ่ งน้ าป้ อนจะวัดในตาแหน่ ง
1
ก่อนเข้าหม้อไอน้ า และน้ าในหม้อไอน้ าวัดจากน้ าที่ระบายทิ้ง
2. นาค่าสภาพการนาไฟฟ้ าของน้ าป้ อนและน้ าในหม้อไอน้ าไปเปิ ดตารางที่
2.1-10 จะได้ร้อยละของน้ าโบลว์ดาวน์ (เทียบกับปริ มาณไอน้ าที่ผลิตได้)
ไอน้ า mS kg/s

น้ าป้อน หม้อไอน้ า
mW=mS(1+B) kg/s TDSB
TDSFW kg/s
โบลว์ดาวน์ mB kg/s
MB=mSB kg/s

ตารางที่ 2.1-10 ร้อยละของปริ มาณน้ าโบลว์ดาวน์ (เทียบกับปริ มาณไอน้ าที่ผลิตได้)


ค่ าการนาไฟฟ้ านา้ ค่ าการนาไฟฟ้ าของนา้ ในหม้ อไอนา้ (µs/cm)
ป้ อน (µs/cm) 3,000 3,500 4,000 5,000 6,000 7,000
100 3.45% 2.94% 2.56% 2.04% 1.69% 1.45%
200 7.14% 6.06% 5.26% 4.17% 3.45% 2.94%
300 11.11% 9.38% 8.11% 6.38% 5.26% 4.48%
400 15.38% 12.90% 11.11% 8.70% 7.14% 6.06%
500 20.00% 16.67% 14.29% 11.11% 9.09% 7.69%
600 25.00% 20.69% 17.65% 13.64% 11.11% 9.38%
700 30.43% 25.00% 21.21% 16.28% 13.21% 11.11%
800 36.36% 29.63% 25.00% 19.05% 15.38% 12.90%
900 42.86% 34.62% 29.03% 21.95% 17.65% 14.75%
1000 50.00% 40.00% 33.33% 25.00% 20.00% 16.67%

หน้า 29 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

5) การปรับสภาพนา้ ป้อน
2 ตัวแปรที่สาคัญอย่างยิง่ ต่อการระบายน้ า คือ คุณภาพน้ าป้อนถ้าน้ า
ป้อนมีสารละลายและสารแขวนลอยอยูม่ าก จะส่ งผลให้สารละลายและสาร
แขวนลอยในหม้อไอน้ าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ส่ งผลให้ผใู ้ ช้หม้อไอน้ าจะต้อง
ระบายน้ าในหม้อไอน้ าทิ้งเพิ่มขึ้น ซึ่ งเป็ นการสิ้ นเปลืองน้ าและความร้อนที่
อยูใ่ นน้ า ดังนั้น น้ าที่ใช้กบั หม้อไอน้ าควรมีการปรับสภาพให้ได้มาตรฐาน
นอกจากนั้นผูใ้ ช้ตอ้ งควบคุมคุณภาพน้ าในหม้อไอน้ าให้ได้ตามมาตรฐาน
บ่อยครั้งพบว่ามีการระบายถี่เกินไป หรื อนานเกินไปส่ งผลให้คุณภาพน้ าใน
หม้อไอน้ าต่ากว่ามาตรฐานมาก จึงจาเป็ นต้องมีการตรวจวัดคุณภาพน้ าและ
ปรับตั้งการควบคุมอยูเ่ สมออย่างน้อยทุกเดือน
5.1) เหตุผลของการปรุ งแต่ งนา้ โดยอาศัยสารเคมี
1) เพื่อป้ องกันการเกาะตัวของตะกรันในหม้อไอน้ า ซึ่ งจะทาให้การถ่ายเท
ความร้ อ นไม่ ดี และอุ ณ หภู มิ ข องก๊ า ซที่ ป ล่ อ งสู ง มากท าให้ เสี ยค่ า
เชื้อเพลิงเพิม่ ขึ้น
2) เพื่อควบคุมปริ มาณตะกอน (Sludge) และตะกรันในหม้อไอน้ า
3) เพื่อลดการสึ กหรอของหม้อไอน้ า และท่อไอน้ า (Steam Main) ซึ่ งเกิด
จากคาร์ บอนไดออกไซด์ในน้ าละลายตัวเป็ นกรด
4) เพื่อเป็ นการหลีกเลี่ยงฟองลอยตัวไปกับไอน้ า
5) เพื่อลดการสึ กกร่ อนเนื่องจากออกซิ เจนที่ละลายในน้ า

การเติ ม สารปรุ ง แต่ งน้ าจะต้อ งให้ ในปริ ม าณที่ เหมาะสมโดย


ปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านนี้ โดยเฉพาะ เนื่ องจากการเติมสารมากเกินไปมี
ผลเสี ยเช่ นกัน และควรควบคุ มปั๊ ม เติ ม สารให้ท างานพร้ อ มกับ ปั๊ มน้ าเข้า
หม้อไอน้ า (Feed Water Pump)

หน้า 30 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-5


จากการตรวจวัดสภาพการนาไฟฟ้ าของหม้อไอน้ าตามตัวอย่างที่ 1 พบว่าสภาพการนา
2
ไฟฟ้าของน้ าป้อนและน้ าในหม้อไอน้ าเท่ากับ 200 และ 3,500 µs/cm เมื่อเจ้าหน้าที่ได้ทา
การปรับคุณภาพของน้ าป้ อนเพื่อให้มีคุณภาพดี ข้ ึ นและวัดค่าสภาพนาไฟฟ้ าได้เท่ากับ 1
100 µs/cm สถานประกอบการจะสามารถลดการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงได้เท่าไร
วิธีคำนวณ
จากตารางที่ 2.1-10 เราสามารถประเมินร้อยละของการปล่อยน้ าโบลว์ดาวน์ได้เท่ากับ
6.06 (สภาพนาไฟฟ้ าของน้ าป้ อนและน้ าในหม้อไอน้ าเท่ ากับ 200 และ 3,500 µs/cm)
เมื่ อ ปรั บ ปรุ งคุ ณ ภาพน้ าป้ อ นให้ดี ข้ ึ น โดยมี ค่ าสภาพน าไฟฟ้ าได้เท่ ากับ 100 µs/cm
ประเมินได้วา่ การปล่อยน้ าโบลว์ดาวน์จะลดลงเหลือร้อยละ 2.94
ดังนั้น ปริ มาณน้ าป้อนสามารถลดลงเหลือ = (100 + (6.06 – 2.94)) x 10,000
= 103.12 x 10,000
= 10,312 kg/h
เมื่ อ เที ย บกับ ปริ ม าณน้ า ป้ อ นเดิ ม 10,600 kg/h ดังนั้น ปริ ม าณการใช้น้ า ลดลงเท่ า กับ
10,600 – 10,312 = 288 kg/h (หรื อ 1,728,000 kg/y เมื่ อ จานวนชั่วโมงท างานของหม้อ
ไอน้ าเท่ากับ 6,000 h/y)
ความร้อนที่ใช้ในการผลิตไอน้ า = 10,312 x (763 – 105) + 10,000 x (2,766 – 763)
= 26,815,296 kJ/h
ความร้อนที่ใช้ผลิตไอน้ าลดลง = 27,004,800 - 26,815,296 kJ/h
= 189,504 kJ/h
จากตัวอย่างที่ 1 ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ าเท่ากับ 84.4%
พลังงานจากการใช้เชื้อเพลิงลดลง = 189,504 / 0.844
= 224,530.8 kJ/h
หรื อ = 224,530.8 x 6,000 / 1,000 MJ/y
= 1,347,184.8 MJ/y

หน้า 31 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

คิดเป็ นปริ มาณน้ ามันที่ลดลงต่อปี = 1,347,184.8 / 40 L/y


= 33,679.6 L/y
2
ค่าน้ ามันเตาต่อปี = (4,800,000 – 33,679.6) x 14 B/y
= 66,728,485.6 B/y
ราคาไอน้ าต่อตัน = 66,728,485.6 / (10 x 6,000)
= 1,112 B/t

2.1.2.4 การลดการสู ญเสี ยความร้ อนทางพืน้ ผิวหม้ อไอนา้


ความร้ อนภายในหม้อไอน้ าจะถ่ายเทสู่ อากาศภายนอกโดยผ่าน
พื้นผิวหม้อไอน้ า ซึ่ งโดยปกติจะมีการหุ ม้ ฉนวนเพื่อให้เกิดการสู ญเสี ยความ
ร้ อ นน้ อ ยที่ สุ ด โดยอุ ณ หภู มิ ผิ ว ภายนอกไม่ ค วรเกิ น กว่า 60oC เพื่ อ ความ
ปลอดภัยของผูใ้ ช้ ยกเว้น พื้ น ที่ ผิวด้านหน้าและด้านหลังบางส่ วนอาจจะ
ไม่ได้หุม้ ฉนวนเนื่ องจากไม่สะดวกต่อการใช้งาน โดยทัว่ ไปหม้อไอน้ าจะมี
การสู ญเสี ยความร้อนทางพื้นผิวประมาณ 2-5%
โดยทัว่ ไปมักใช้ฉนวนใยหิ น หรื อใยแก้วหุ ้มผนังหม้อไอน้ าโดย
คุณสมบัติของฉนวนตามตารางที่ 2.2-1 และ2.2-2 การหุ ้มฉนวนกันความ
ร้อนจะส่ งผลให้ลดการสู ญเสี ยทางพื้นผิวของวัตถุ ได้ ประมาณ 95% ของ
การสู ญเสี ยความร้ อนทางพื้นผิว ซึ่ งผลประหยัดจะมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั
การเลือกใช้ชนิ ดและความหนาของฉนวนความร้อน ดังนั้น เมื่อลงทุนหุ ้ม
ฉนวนพื้นผิววัตถุแล้วระยะเวลาคืนทุนจะมากหรื อน้อยจะขึ้นอยูก่ บั อุณหภูมิ
พื้นผิวของวัตถุ, ชัว่ โมงการใช้งาน และค่าเชื้อเพลิง ซึ่ งปกติการหุ ม้ ฉนวนจะ
มีระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 2 ปี

หน้า 32 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.1-11, 2.1-12 ถึง 2.1-14 แสดงค่าการสู ญเสี ยความร้อนผ่านพื้นผิว


ผนังที่หุม้ และไม่หุม้ ฉนวนความร้อน ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้ 2
ตารางที่ รายละเอียดของตาราง 1
ตารางที่ 2.1-11 แสดงการสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวผนังที่ไม่ได้หุม้ ฉนวน
ตารางที่ 2.1-12 ถึง แสดงการสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวผนังหลังจากหุม้ ฉนวนใย
2.1-14 แก้ว ฉนวนแคลเซี ยมซิลิเกต และฉนวนใยหิน ที่ความหนาที่
เหมาะสมตามลาดับ

ตารางที่ 2.1-11 การสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวผนังที่ไม่ได้หุม้ ฉนวน (kW/m)


อุณหภูมิผวิ ผนัง ( C) 70 80 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
ความสูงผนัง (m) การสูญเสียความร้ อนของพืน้ ผิวผนังที่ไม่ได้หุ้ม นวน (kW/m)
0.5 0.17 0.24 0.37 0.53 0.71 0.92 1.15 1.4 1.68 2 2.35 2.74 3.16 3.62
0.6 0.21 0.29 0.46 0.65 0.87 1.11 1.39 1.7 2.04 2.43 2.85 3.31 3.83 4.39
0.7 0.25 0.34 0.54 0.77 1.02 1.31 1.64 2 2.41 2.86 3.35 3.9 4.5 5.16
0.8 0.29 0.39 0.62 0.88 1.18 1.52 1.89 2.31 2.78 3.29 3.86 4.49 5.18 5.94
0.9 0.33 0.44 0.71 1 1.34 1.72 2.15 2.62 3.15 3.73 4.38 5.09 5.87 6.72
1 0.37 0.5 0.79 1.12 1.5 1.93 2.4 2.93 3.52 4.18 4.9 5.69 6.56 7.51
1.1 0.41 0.55 0.88 1.25 1.67 2.14 2.66 3.25 3.9 4.62 5.42 6.29 7.26 8.31
1.2 0.45 0.61 0.96 1.37 1.83 2.35 2.92 3.57 4.28 5.07 5.94 6.9 7.96 9.11
1.3 0.49 0.66 1.05 1.49 2 2.56 3.19 3.89 4.67 5.53 6.47 7.52 8.66 9.91
1.4 0.53 0.72 1.14 1.62 2.16 2.77 3.45 4.21 5.05 5.98 7.01 8.13 9.37 10.72
1.5 0.57 0.77 1.23 1.75 2.33 2.99 3.72 4.54 5.44 6.44 7.54 8.75 10.08 11.54
1.6 0.61 0.83 1.32 1.87 2.5 3.2 3.99 4.86 5.83 6.9 8.08 9.38 10.8 12.35
1.7 0.65 0.89 1.41 2 2.67 3.42 4.26 5.19 6.22 7.37 8.62 10 11.52 13.17
1.8 0.7 0.94 1.5 2.13 2.84 3.64 4.53 5.52 6.62 7.83 9.17 10.63 12.24 14
1.9 0.74 1 1.59 2.26 3.01 3.86 4.8 5.85 7.02 8.3 9.71 11.26 12.97 14.83
2 0.78 1.06 1.68 2.39 3.19 4.08 5.08 6.19 7.41 8.77 10.26 11.9 13.69 15.66
2.1 0.82 1.12 1.77 2.52 3.36 4.3 5.35 6.52 7.81 9.24 10.81 12.54 14.43 16.49
2.2 0.87 1.18 1.86 2.65 3.53 4.53 5.63 6.86 8.22 9.72 11.37 13.18 15.16 17.33
2.3 0.91 1.23 1.96 2.78 3.71 4.75 5.91 7.2 8.62 10.19 11.92 13.82 15.9 18.17

หมายเหตุ: อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม 35°C

หน้า 33 จาก 106


2
ความหนา นวนที่เหมาะสม อุณหภูมิก่อนหุ้ม(°C) 70 80 90 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
49-93 94-238 239–320 อุณหภูมิหลังหุ้มเ ลีย่
40.98 40.48 44.76 43.09 45.74 48.42 51.12 53.83 56.55 59.27 55.76 57.84 59.93 62.02 64.11

หน้า 34 จาก 106


(°C) (°C) (°C) (°C)
in. in. in. ความสูงผนัง (m) การสูญเสียความร้ อนหลังหุ้ม นวนที่ความหนาที่เหมาะสม (W/m)
1" 1.5" 2" 0.5 23.93 31.4 39.03 32.36 42.97 53.68 64.47 75.31 86.18 97.09 83.02 91.36 99.71 108.06 116.42
1" 1.5" 2" 0.6 28.72 37.69 46.84 38.83 51.56 64.42 77.36 90.37 103.42 116.51 99.63 109.63 119.65 129.68 139.71
1" 1.5" 2" 0.7 33.5 43.97 54.65 45.31 60.15 75.15 90.25 105.43 120.66 135.93 116.23 127.91 139.59 151.29 162.99
1" 1.5" 2" 0.8 38.29 50.25 62.45 51.78 68.75 85.89 103.15 120.49 137.89 155.34 132.83 146.18 159.53 172.9 186.28
1" 1.5" 2" 0.9 43.07 56.53 70.26 58.25 77.34 96.62 116.04 135.55 155.13 174.76 149.44 164.45 179.48 194.51 209.56
1" 1.5" 2" 1 47.86 62.81 78.07 64.72 85.93 107.36 128.93 150.61 172.37 194.18 166.04 182.72 199.42 216.13 232.85
1" 1.5" 2" 1.1 52.65 69.09 85.87 71.2 94.53 118.1 141.83 165.67 189.6 213.6 182.65 200.99 219.36 237.74 256.13
ตามความหนาฉนวนที่เหมาะสม (W/m)

1" 1.5" 2" 1.2 57.43 75.37 93.68 77.67 103.12 128.83 154.72 180.74 203.84 233.02 199.25 219.27 239.3 259.35 279.42
1" 1.5" 2" 1.3 62.22 81.65 101.49 84.14 111.71 139.57 167.61 195.8 224.08 252.43 215.85 237.54 259.24 280.97 302.7
1" 1.5" 2" 1.4 67 87.93 109.29 90.61 120.31 150.3 180.51 210.86 241.31 271.85 232.46 255.81 279.19 302.58 325.99
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

1" 1.5" 2" 1.5 71.79 94.21 117.1 97.09 128.9 161.04 193.4 225.92 258.55 291.27 249.06 274.08 299.13 324.19 349.27
1" 1.5" 2" 1.6 76.58 100.5 124.91 103.56 137.49 171.78 206.29 240.98 275.79 310.69 265.67 292.36 319.07 345.8 372.56
1" 1.5" 2" 1.7 81.36 106.78 132.71 110.03 146.09 182.51 219.19 256.04 293.03 330.11 282.27 310.63 339.01 367.42 395.84

0.042 W/m K อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม 35°C


1" 1.5" 2" 1.8 86.15 113.06 140.52 116.5 154.68 193.25 232.08 271.1 310.26 349.52 298.88 328.9 358.95 389.03 419.13
1" 1.5" 2" 1.9 90.93 119.34 148.33 122.98 163.27 203.98 244.97 286.16 327.5 368.94 315.48 347.17 378.9 410.64 442.41
1" 1.5" 2" 2 95.72 125.62 156.13 129.45 171.86 214.72 257.87 301.23 344.74 388.36 332.08 365.44 398.84 432.26 465.7
ตารางที่ 2.1-12 การสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวผนังหุ ม้ ฉนวนใยแก้ว

1" 1.5" 2" 2.1 100.51 131.9 163.94 135.92 180.46 225.46 270.76 316.29 361.97 407.78 348.69 383.72 418.78 453.87 488.98

หมายเหตุ : ฉนวนใยแก้วความหนาแน่น 64 kg/m3 ค่าการนาความร้อน =


1" 1.5" 2" 2.2 105.29 138.18 171.75 142.39 189.05 236.19 283.66 331.35 379.21 427.2 365.29 401.99 438.72 475.48 512.26
ความหนา นวนที่เหมาะสม อุณหภูมิก่อนหุ้ม(°C) 70 80 90 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
94-238 239–320 อุณหภูมิหลังหุ้มเ ลีย่
49-93 (°C) 41.77 41.44 46.10 44.29 47.36 50.46 53.60 56.75 59.91 63.08 59.07 61.50 63.93 66.37 68.80
(°C) (°C) (°C)
in. in. in. ความสูงผนัง (m) การสูญเสียความร้ อนหลังหุ้ม นวนที่ความหนาที่เหมาะสม (W/m)
1" 1.5" 2" 0.50 27.08 35.63 44.39 37.14 49.42 61.85 74.38 86.98 99.64 112.33 96.28 106.00 115.73 125.47 135.21
1" 1.5" 2" 0.60 32.49 42.76 53.27 44.57 59.31 74.23 89.26 104.38 119.56 134.80 115.54 127.20 138.88 150.56 162.25
1" 1.5" 2" 0.70 37.91 49.89 62.15 52.00 69.19 86.60 104.14 121.78 139.49 157.26 134.80 148.40 162.02 175.65 189.30
1" 1.5" 2" 0.80 43.33 57.01 71.03 59.43 79.08 98.97 119.01 139.18 159.42 179.73 154.05 169.60 185.17 200.75 216.34
1" 1.5" 2" 0.90 48.74 64.14 79.90 66.86 88.96 111.34 133.89 156.57 179.35 202.19 173.31 190.80 208.31 225.84 243.38
ตามความหนาที่เหมาะสม (W/m)

1" 1.5" 2" 1.00 54.16 71.27 88.78 74.28 98.85 123.71 148.77 173.97 199.29 224.66 192.57 212.00 231.46 250.93 270.42
1" 1.5" 2" 1.10 59.57 78.40 97.66 81.71 108.73 136.08 163.64 191.37 219.20 247.12 211.82 233.20 254.60 276.03 297.46
1" 1.5" 2" 1.20 64.99 85.52 106.54 89.14 118.62 148.45 178.52 208.76 239.13 269.59 231.08 254.40 277.75 301.12 324.51
1" 1.5" 2" 1.30 70.41 92.65 115.42 96.57 128.50 160.82 193.40 226.16 259.06 292.06 250.34 275.60 300.90 326.21 351.55
1" 1.5" 2" 1.40 75.82 99.78 124.30 104.00 138.39 173.19 208.28 243.56 278.98 314.52 269.60 296.80 324.04 351.31 378.59
1" 1.5" 2" 1.50 81.24 106.90 133.17 111.43 148.27 185.56 223.15 260.95 298.91 336.99 288.85 318.00 347.19 376.40 405.63
1" 1.5" 2" 1.60 86.65 114.03 142.05 118.86 158.16 197.93 238.03 278.35 318.84 359.45 308.11 339.20 370.33 401.49 432.67
1" 1.5" 2" 1.70 92.07 121.16 150.93 126.28 168.04 210.30 252.91 295.75 338.77 381.92 327.37 360.40 393.48 426.59 459.72
1" 1.5" 2" 1.80 97.48 128.28 159.81 133.71 177.93 222.68 267.78 313.14 358.69 404.39 346.62 381.60 416.63 451.68 486.76
1" 1.5" 2" 1.90 102.90 135.41 168.69 141.14 187.81 235.05 282.66 330.54 378.62 426.85 365.88 402.80 439.77 476.77 513.80
1" 1.5" 2" 2.00 108.32 142.54 177.56 148.57 197.70 247.42 297.54 347.94 398.55 449.32 385.14 424.01 462.92 501.87 540.84
1" 1.5" 2" 2.10 113.73 149.66 186.44 156.00 207.58 259.79 312.41 365.34 418.48 471.78 404.39 445.21 486.06 526.96 567.89

หมายเหตุ : ฉนวนแคลเซี ยมซิ ลิเกต ความหนาแน่น 135 kg/m3 ค่าการนา


ตารางที่ 2.1-13 การสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวผนังหุม้ ฉนวนแคลเซียมซิลิเกต

ความร้อน = 0.049 W/m K อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม 35°C


1" 1.5" 2" 2.20 119.15 156.79 195.32 163.43 217.47 272.16 327.29 382.73 438.40 494.25 423.65 466.41 509.21 552.05 594.93
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 35 จาก 106


2
1
2
ความหนา นวนที่เหมาะสม อุณหภูมิก่อนหุ้ม(°C) 70 80 90 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
94-238 239–320 อุณหภูมิหลังหุ้มเ ลีย่
49-93 (°C) 41.21 40.76 45.15 43.44 46.21 49.01 51.83 54.67 57.51 60.37 56.71 58.89 61.08 63.26 65.45

หน้า 36 จาก 106


(°C) (°C) (°C)
in. in. in. ความสู งผนัง (m) การสู ญเสียความร้ อนหลังหุ้ม นวนที่ความหนาที่เหมาะสม (W/m)
1" 1.5" 2" 0.50 24.85 32.64 40.59 33.74 44.83 56.04 67.32 78.67 90.05 101.47 86.83 95.56 104.30 113.05 121.81
1" 1.5" 2" 0.60 29.82 39.16 48.71 40.49 53.80 67.24 80.79 94.40 108.06 121.76 104.19 114.67 125.16 135.66 146.17
1" 1.5" 2" 0.70 34.79 45.69 56.83 47.24 62.76 78.45 94.25 110.13 126.07 142.06 121.56 133.78 146.02 158.27 170.53
1" 1.5" 2" 0.80 39.76 52.22 64.95 53.99 71.73 89.66 107.72 125.87 144.08 162.35 138.92 152.90 166.89 180.89 194.89
1" 1.5" 2" 0.90 44.73 58.75 73.07 60.74 80.69 100.86 121.18 141.60 162.09 182.65 156.29 172.01 187.75 203.50 219.26
ตามความหนาที่เหมาะสม (W/m)

1" 1.5" 2" 1.00 49.70 65.27 81.18 67.49 89.66 112.07 134.65 157.33 180.11 202.34 173.65 191.12 208.61 226.11 243.62
1" 1.5" 2" 1.10 54.67 71.80 89.30 74.24 98.63 123.28 148.11 173.07 198.12 223.23 191.02 210.23 229.47 248.72 267.38
1" 1.5" 2" 1.20 59.64 78.33 97.42 80.99 107.59 134.49 161.58 188.80 216.13 243.53 208.38 229.35 250.33 271.33 292.34
1" 1.5" 2" 1.30 64.61 84.86 105.54 87.73 116.56 145.69 175.04 204.53 234.14 263.82 225.75 248.46 271.19 293.94 316.70
1" 1.5" 2" 1.40 69.58 91.38 113.66 94.48 125.52 156.90 188.50 225.27 252.15 284.12 243.11 267.57 292.05 316.55 341.07
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

1" 1.5" 2" 1.50 74.55 97.91 121.78 101.23 134.49 168.11 201.97 236.00 270.16 304.41 260.48 286.68 312.91 339.16 365.43

= 0.044 W/m K อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม 35°C


1" 1.5" 2" 1.60 79.52 104.44 129.89 107.98 143.46 179.32 215.43 251.73 288.17 324.70 277.85 305.79 333.77 361.77 389.79
1" 1.5" 2" 1.70 84.49 110.97 138.01 114.73 152.42 190.52 228.90 267.47 306.18 345.00 295.21 324.91 354.63 384.38 414.15
1" 1.5" 2" 1.80 89.46 117.49 146.13 121.48 161.39 201.73 242.36 283.20 324.19 365.29 312.58 344.02 375.49 406.99 438.51

หมายเหตุ : ฉนวนใยหิ น ความหนาแน่น 40-200 kg/m3 ค่าการนาความร้อน


1" 1.5" 2" 1.90 94.43 124.02 154.25 128.23 170.35 212.94 255.83 298.93 342.20 385.59 329.94 363.13 396.35 429.60 462.87
1" 1.5" 2" 2.00 99.40 130.55 162.37 134.98 179.32 224.14 269.29 314.67 360.21 405.88 347.31 382.24 417.21 452.21 487.24
ตารางที่ 2.1-14 การสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวผนังหุ ม้ ฉนวนใยหิ น

1" 1.5" 2" 2.10 104.37 137.08 170.49 141.72 188.29 235.35 282.76 330.40 378.22 426.17 364.67 401.35 438.07 474.82 511.60
1" 1.5" 2" 2.20 109.34 143.60 178.61 148.47 197.25 246.56 296.22 346.13 396.23 446.47 382.04 420.47 458.93 497.43 535.96
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-6


จากการตรวจสอบผิวหม้ อไอน้า พบว่ าผิวผนั งกว้ าง 0.5 เมตร สู ง 1 เมตร ไม่ มีการหุ้ ม นวน
จงคานวณพลังงานที่ประหยัดได้ หากผิวผนังดังกล่ าวถูกหุ้มด้ วย นวนใยแก้ วความหนาแน่ น 64 2
kg/m3 1
วิธีคำนวณ
การหาค่าการสู ญเสี ยความร้อนของผนังก่ อนหุ้ม นวนความร้ อน
รายการ ข้ อมูลวัดและคานวณ
อุณหภูมิผิวผนังที่ไม่หุม้ ฉนวน วัดได้เฉลี่ย 180C
ขนาดพื้นที่ที่ไม่ได้หุม้ กว้าง 1 เมตร สู ง 1 เมตร
จากตาราง 2.1-11 การสู ญเสี ยความร้อนของ อ่านค่าได้ 2.4 kW/ m
ผนังไม่หุม้ ฉนวน ที่อุณหภูมิ 180C ความ
สู ง 1 เมตร
ชัว่ โมงการใช้งานระบบความร้อนของโรงงาน = 6,000 h/y
ค่าการสูญเสี ยความร้อนรวม(กว้าง 0.5 เมตร) = 2.4(kW/m) x (0.5)(m) x 6,000(h/y)
= 7,200.0 kWh/y

การหาค่าการสู ญเสี ยความร้อนของผนังหลังหุ้ม นวนความร้ อน


รายการ ข้ อมูลวัดและคานวณ
ประเภทฉนวน ฉนวนใยแก้วความหนาแน่น 64 kg/m3
อ่านค่าการสู ญเสี ยความร้อนของฉนวนใย ค่าการสู ญเสี ย 150.61 W/ m อุณหภูมิ
แก้วที่อุณหภูมิผิวผนัง 180C ของผนังสู ง พื้นผิวหลังหุม้ ฉนวนเฉลี่ย 53.83 C ความ
1 เมตร จากตารางที่ 2.1-12 หนาฉนวน 1.5 นิ้ว
ชัว่ โมงการใช้งานระบบความร้อนของโรงงาน = 6,000 h/y
คิดเป็ นค่าการสู ญเสี ยความร้อนรวม = 150.61(W/m) x (0.5)(m) x 6,000(h/y) x 10-3
= 451.83 kWh/y
ความร้อนสู ญเสี ยที่ลดลงจากการหุม้ ฉนวน = 7,200.0 – 451.83 = 6,748.17 kWh/y

หน้า 37 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.1.3 การผลิตไอนา้ ที่มคี วามดันเหมาะสม


2 การผลิตไอน้ าที่ความดันสู งเกินจาเป็ นจะต้องใช้พลังงานมากขึ้น
โดยดัชนี การผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิงจะลดต่าลงและการสู ญเสี ยในด้านต่างๆ
จะมากขึ้ น ดังนั้นผูใ้ ช้ควรลดความดันที่ อุป กรณ์ ใช้ไอน้ าต่างๆให้ได้ตาม
มาตรฐานความดันที่ อุปกรณ์ น้ ันๆต้องการและลดการสู ญเสี ยความดันใน
ระบบท่อส่ งจ่ายไอน้ าทั้งหมด แล้วจึ งลดความดันในการผลิตไอน้ าที่หม้อ
ไอน้ าลงจากสมบัติ ข องไอน้ าอิ่ ม ตัว พบว่ า ความดัน และอุ ณ หภู มิ จ ะมี
ความสัมพันธ์กนั โดยเมื่อความดันสู งอุณหภูมิจะสู งขึ้น ดังรู ปที่ 2.1-5

รู ปที่ 2.1-5 ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิกบั ความดันของไอน้ า

ความดันไอน้ าที่ผลิต = ความดันสู งสุดที่อุปกรณ์ใช้ไอน้ าต้องการ (2.5)


+ ความดันสู ญเสี ยในระบบส่ งจ่ายไอน้ า

(2.4)
หน้า 38 จาก 106
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.1.3.1 การลดความดันผลิตไอนา้ ให้ เหมาะสมกับการใช้ งานมีผลดี ดังนี้


1. เอนธาลปี ไอน้ า (hfg) ในการควบแน่นมีค่าเพิ่มมากขึ้นดังรู ปที่ 2.1-6 2
2. อัตราส่ วนความแห้งของไอน้ าเพิ่มขึ้น ส่ งผลให้ความร้อนที่ได้จากไอน้ า
1
เพิ่มขึ้นดังรู ปที่ 2.1-6
3. ช่วยลดการสู ญเสี ยไอน้ าจากการรั่วไหลในระบบส่ งจ่ายไอน้ าได้ความดัน
ไอน้ าอิ่มตัว
4. ช่วยลดการสู ญเสี ยความร้อนบริ เวณพื้นผิวหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่าย
ไอน้ าได้
5. ช่วยลดการสู ญเสี ยไอน้ าจากการระบายน้ าทิ้งของหม้อไอน้ าและระบบส่ ง
จ่ายไอน้ าได้
6. ลดการใช้เชื้อเพลิงลงที่ปริ มาณการผลิตไอน้ าเท่าๆกันเพราะดัชนีผลิต
ไอน้ าต่อเชื้อเพลิงจะสู งขึ้น
7. ระบบท่อ อุปกรณ์ประกอบท่อ และอุปกรณ์ใช้ไอน้ ามีอายุการใช้งาน
ยาวนานขึ้น

หน้า 39 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

รู ปที่ 2.1-6 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับค่าความร้อนแฝงของไอน้ า


2.1.3.2 ขั้ น ตอนการหาร้ อยละการประหยัด พลั งงานเมื่ อลดความดัน การ
ผลิตไอนา้
1. ตรวจวัดความดันไอน้ าที่ผลิตจากหม้อไอน้ าในตาแหน่งก่อนส่ งจ่ายไอน้ า
ไปตามท่อ
2. ตรวจวัดความดันไอน้ าก่อนเข้าอุปกรณ์ใช้ไอน้ าที่ตอ้ งการความดันสู งสุ ด
ของโรงงานแล้ว ตรวจสอบดู ว่ าสู ง เกิ น มาตรฐานความต้อ งการของ
อุ ป กรณ์ ห รื อ ไม่ ถ ้าสู งเกิ น กว่ามาตรฐานแสดงว่าสามารถลดความดัน
ต่าลงได้
3. ตรวจวัดอุณหภูมิของน้ าป้อนหม้อไอน้ า โดยใช้เครื่ องมือวัดอุณหภูมิน้ า
ในตาแหน่งก่อนเข้าหม้อไอน้ า

หน้า 40 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

4. น าค่ า ความดัน ไอน้ าก่ อ นปรั บ ลด ความดัน ไอน้ าหลัง ปรั บ ลดและ
อุ ณ หภู มิ น้ าป้ อ นหม้อ ไอน้ าไปเปิ ดตารางที่ 2.1-15 จะได้ร้ อ ยละการ 2
ประหยัดพลังงานเมื่อลดความดันการผลิตไอน้ า
1
5. นาค่าร้อยละการประหยัดพลังงานคูณด้วยปริ มาณเชื้อเพลิงที่ใช้ท้ งั ปี จะ
ได้เชื้อเพลิงที่ประหยัดได้
ตารางที่ 2.1-15 ร้อยละการประหยัดพลังงานเมื่อลดความดันการผลิตไอน้ า

หน้า 41 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-7


โรงงานติดตั้งหม้อไอน้ าขนาด 10 ตันต่อชัว่ โมง ใช้น้ ามันเตาซี 3 ล้านลิตรต่อปี ปริ มาณ
2
น้ าป้อนหม้อไอน้ า 40.5 ล้านลิตรต่อปี โดยผลิตไอน้ าที่ความดัน 7 barg อุณหภูมิน้ าป้อน
80oC จากการตรวจสอบพบว่าอุปกรณ์ในระบบต้องการความดันทางานสู งสู ดเพียง 5
barg โดยมีค่าความดันสู ญเสี ยในระบบส่ งจ่ายไอน้ า 0.5 barg จะหาว่าโรงงานสามารถลด
ความดันการผลิตไอน้ าลงได้เท่าใดและสามารถประหยัดเชื้อเพลิงได้เท่าใด
วิธีคำนวณ
จากสมการที่ 2.5
ความดันไอน้ าใหม่ที่ผลิต = 5.0 + 0.5 = 5.5 barg
จากตารางที่ 2.1-15 ที่อุณหภูมิน้ าป้อน 80oC ความดันไอน้ าก่อนปรับลด 7.0 barg และ
ความดันไอน้ าหลังปรับลด 5.5 barg พลังงานที่สามารถประหยัดได้ร้อยละ 0.360
คิดเป็ นเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้ = 3,000,000 x (0.360/100) = 10,800 L/y

2.1.4 ข้ อควรปฏิบัติในการใช้ หม้ อไอนา้


ข้ อควรปฏิบตั ิในการใช้ หม้ อไอนา้
1. ขั้นตอนการออกแบบ
ควรเลื อกขนาดของหม้อไอน้ า (กาลังการผลิ ตไอน้ าต่ อชั่วโมง) ที่ พ อเหมาะกับ ภาระ
ไอน้ าและควรเดิ น ใช้ ง านที่ ภ าระเต็ ม ที่ ต ลอดเวลาเท่ า ที่ จ ะเป็ นไปได้ โดยทั่ ว ไป
หม้อไอน้ าจะมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดที่ภาระเต็มที่หรื อใกล้เต็มที่ ดังนั้นหม้อไอน้ าที่เดิ น
ภาระต่ าๆ ตลอดเวลา เรี ยกว่ า “ห ม้ อ ไอน้ ามี ขน าดให ญ่ เกิ น ไป ”(Oversized)
ควรเปลี่ยนไปใช้หม้อไอน้ าที่มีขนาดเล็กลง (ถ้าสามารถทาได้)
2. หลีกเลี่ยงการสตาร์ทบ่อยๆ เนื่องจากจะทาให้เกิดการ
• สู ญเสี ยพลังงานไปในการที่ตอ้ งทาให้หม้อไอน้ าร้อนขึ้นมาใหม่
• สู ญเสี ยพลังงานไฟฟ้ าในการเดินพัดลมเป่ าไล่อากาศและก๊าซต่างๆ ออกไปจากห้อง
เผาไหม้ก่อนการจุดสตาร์ททุกครั้ง
• สู ญเสี ยความร้อนออกไปจากหม้อไอน้ า ในขณะที่ พดั ลมเป่ าไล่ลมร้อนออกไปจาก
หม้อไอน้ า (Purging)

หน้า 42 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ข้ อควรปฏิบตั ิในการใช้ หม้ อไอนา้ (ต่ อ)


3. ในการเผาไหม้เชื้อเพลิงควรใช้ปริ มาณอากาศส่ วนเกินให้ต่าที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้
2
ซึ่ งแสดงให้ทราบได้โดยปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์สูง (หรื อปริ มาณออกซิ เจนต่า)
ควันดา คือ คาร์บอนที่มีขนาดเล็กมากเกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์อนั เนื่องมาจากการ 1
ใช้ปริ มาณอากาศส่ วนเกินต่ามากเกินไป หรื อการปรับแต่งการเผาไหม้ไม่ดี หรื อหัวเผา
ทางานผิดปกติ
4. อุณหภูมิของก๊าซร้อนทิ้งออกปล่องควรต่าสุ ดเท่าที่จะเป็ นไปได้
แต่ตอ้ งสู งกว่าจุดกลัน่ ตัวของน้ าและกรดเล็กน้อย เพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาการผุกร่ อนหม้อ
ไอน้ าทัว่ ๆ ไป ขณะเดิ นที่ไฟต่า (Low Fire) จะมีอุณหภูมิปล่องต่ากว่าขณะเดิ นที่ไฟสู ง
(High Fire) หรื อเดินที่ไฟปานกลาง (Medium Fire)
5. ทาความสะอาดท่อในหม้อไอน้ าเป็ นระยะๆ
เพื่อลดการขัดข้องอันเนื่ องมาจากตะกรัน (หม้อไอน้ าแบบท่อน้ า) และเขม่า (หม้อไอน้ า
ท่อไฟ) ซึ่ งจะลดความสามารถในการผลิ ตไอน้ าให้ได้สูงสุ ดตามพิกดั ของหม้อไอน้ า
การทาความสะอาดสามารถเพิ่มความสามารถของหม้อไอน้ าให้กลับคืนดังเดิมได้
6. ตรวจวัดปริ มาณการผลิตไอน้ า (หรื อปริ มาณน้ าป้อนเข้าหม้อไอน้ า)
เพื่ อ เปรี ย บเที ย บกับ ปริ ม าณเชื้ อ เพลิ ง ที่ ใ ช้ไ ปในช่ ว งเวลาเดี ย วกัน เพื่ อ ติ ด ตามดู ว่ า
ประสิ ทธิภาพของหม้อไอน้ าลดลงหรื อไม่ วิธีที่นิยมใช้กนั กับหม้อไอน้ าน้ ามันเตา คือ
• ติดตั้งมิเตอร์วดั ปริ มาณ และเทอร์โมมิเตอร์วดั อุณหภูมิน้ าป้อนเข้าหม้อไอน้ า
• ติดตั้งมิเตอร์วดั ปริ มาณการใช้น้ ามันเชื้อเพลิง

หน้า 43 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.2 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพระบบส่ งจ่ ายไอนา้


2 ระบบส่ งจ่ ายไอน้ าท าหน้าที่ ส่ งไอน้ าที่ ผลิ ตได้ไปยังอุปกรณ์ ใช้
ไอน้ าต่างๆ โดยทัว่ ไปภายในท่อของระบบส่ งจ่ ายจะมี การควบแน่ นของ
ไอน้ าซึ่ งเกิ ดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากการเย็นตัวลงของไอน้ าในท่อทั้ง
ขณะใช้งานและหลังจากใช้งาน (ตกค้าง) เราจาเป็ นต้องดึงไอน้ าที่ควบแน่น
เหล่ านี้ ออกจากระบบท่ อ ณ. ต าแหน่ งใดต าแหน่ งหนึ่ ง โดยการติ ด ตั้ง
อุปกรณ์ ดกั ไอน้ า (Steam trap) ทั้งในส่ วนของระบบส่ งจ่ายไอน้ าและส่ วน
ของอุ ป กรณ์ ใ ช้ไ อน้ าต่ างๆ ซึ่ งข้อ มู ล ชนิ ด และลัก ษณะการใช้ง านของ
อุปกรณ์ดกั ไอน้ าสามารถค้นหาได้จากเอกสารผูผ้ ลิตอุปกรณ์ได้โดยตรง

2.2.1 การลดการสู ญเสี ยความร้ อนจากผิวท่ อไอนา้


การปล่อยท่อไอน้ าให้เปลือยไว้โดยไม่มีการหุ ้มฉนวน จะทาให้
เกิดการสู ญเสี ยความร้อนสู่ สิ่งแวดล้อมในปริ มาณสู ง ความร้อนที่สูญเสี ยไป
เที ยบได้กบั ปริ มาณไอน้ าที่ เกิ ดการควบแน่ นภายในท่ อ ส่ งผลให้ปริ มาณ
ความร้ อ นที่ ใ ช้ง านได้จ ริ ง ลดลงเท่ า กับ ปริ ม าณความร้ อ นที่ สู ญ เสี ย ไป
ปริ มาณการสู ญเสี ยความร้ อนจากผิวท่ อเปลื อยจะมากกว่าท่ อที่ หุ้มฉนวน
มากหรื อน้อยขึ้ น อยู่กับ ผลต่ างของอุ ณ หภู มิ ระหว่างผิวนอกของท่ อ หรื อ
ฉนวนกับอากาศภายนอก โดยทั่วไปจะประมาณ 5-10%

ฉนวนมี คุ ณ สมบัติ ใ นการน าความร้ อ นต่ า ดัง นั้ นจึ ง สามารถ


ป้องกันหรื อหน่วงการถ่ายเทความร้อนจากไอน้ าสู่ บรรยากาศฉนวนที่ใช้หุม้
ในระบบไอน้ า เช่น ที่ ท่อไอน้ า อุปกรณ์ ต่างๆ หน้าแปลน วาล์ว ควรเลือก
ชนิ ดให้เหมาะสม โดยเป็ นฉนวนที่ทนต่ออุณหภูมิของไอน้ าได้ เช่น ฉนวน
ใยแก้ว ฉนวนใยหิ น ปั จจุบนั ฉนวนความร้อนมี หลายแบบให้เลือกใช้งาน

หน้า 44 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตามความเหมาะสมของการใช้งาน เช่น แบบแผ่นแข็ง แบบแผ่นม้วน แบบ


สาเร็ จรู ปหุ ้มท่อ แบบผืนผ้า และแบบฝุ่ นผง โดยควรเลือกใช้ให้เหมาะสม 2
กับอุณหภูมิใช้งาน และเลือกวัสดุที่มีสภาพการนาความร้อนต่า ดังตารางที่
1
2.2-1 และ 2.2-2

ในการหุ ้มฉนวนนั้นควรพิจารณาใช้ความหนาที่เหมาะสมในเชิ ง
เศรษฐศาสตร์ ไม่มีฉนวนใดสามารถป้ องกันการสู ญเสี ยความร้ อนได้โดย
สมบูรณ์ ดังนั้น ความหนาของฉนวนและชนิ ดของฉนวนที่ใช้จะถูกกาหนด
จากต้นทุนการผลิตความร้อน และต้นทุนในการใช้ฉนวนความร้อนในการ
ป้ องกันการสู ญเสี ยความร้อนของฉนวน กล่าวคือ ถ้าใช้ความหนาฉนวนต่า
กว่าค่าๆ หนึ่ง แล้วจะเกิดการสู ญเสี ยความร้อนมาก นัน่ คือหนาไม่พอ แต่ถา้
ใช้ความหนาฉนวนสู งกว่าค่าๆ หนึ่ งแล้วต้นทุนฉนวนที่สูงขึ้นจะไม่คุม้ กับ
พลังงานที่ ป ระหยัดเพิ่ ม ขึ้ น ได้ ดังนั้น จะมี ค วามหนาฉนวนอยู่ค่ าหนึ่ งที่
เหมาะสมในเชิงเศรษฐศาสตร์ ที่ผลรวมของราคาฉนวนกับราคาพลังงานที่
สู ญเสี ยต่าที่สุด

ท่อไอน้ าทั้งหมดควรหุ ้มฉนวนด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัยต่อ


ผูป้ ฏิ บัติงานและเพื่อลดการสู ญ เสี ยความร้ อน การสู ญ เสี ยความร้ อนมาก
เกิ นไปไม่เพียงแต่จะเพิ่มค่าใช้จ่ายเชื้ อเพลิงเท่านั้น ยังทาให้อากาศในห้อง
ร้อนขึ้นส่ งผลต่อประสิ ทธิ ภาพภายในการทางาน

หน้า 45 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.2-1 สมบัติบางประการของฉนวนความร้อน


2 ค่ าการนาความร้ อน ความร้ อนจาเพาะ ความหนาแน่ น
ชนิดของ นวน
(W/m. K) (kJ/kg.K) (kg/m3)
แคลเซียมซิลิเกต 0.0407 0.84 135
ใยแก้ว 0.0324 0.84 45
ใยหิน 0.0314 1.13 100

ตารางที่ 2.2-2 ประเภทของฉนวนและการเลือกใช้


อุณหภูมิใช้ งาน
สภาพการนาความ
วัสดุ นวน ประเภท ที่ปลอดภัย จุดเด่น
ร้ อน (W/m.K)
(C)
แอสเบสตอส ฉนวนทรงกระบอก หมายเลข 1 550 ไม่เกิน 0.046-0.048 การติดตั้งสะดวก เหมาะสม
(Asbestos) ฉนวนแผ่น หมายเลข 2 350 ไม่เกิน 0.041-0.046 กับบริ เวณสั่นสะเทือน
ผ้าห่มทนความร้อน เชือกฉนวน 400 ไม่เกิน 0.047 - การติดตั้งสะดวก สามารถ
0.056 ถอดได้ เหมาะสมกับวาล์ว
หน้าแปลน
ใยหิน (Rock Wool) ฉนวนแผ่น 400 – 600 ไม่เกิน 0.034 - เหมาะสมกับอุณหภูมิสูง ใช้
ฉนวนทรงกระบอก 0.041 เป็ นฉนวนของหม้อไอน้ า
ฉนวนแถบ ถัง ท่อ และทางไฟ เป็ นต้น
ใยแก้ว Glass Wool) ฉนวนแผ่น 300 – 350 ไม่เกิน 0.046-0.034 เป็ นวัสดุฉนวนที่นิยมใช้กนั
หมายเลข 1 8K–24K ไม่เกิน 0.049-0.031 มากที่สุด สภาพการนาความ
หมายเลข 2 10K–96K ไม่เกิน 0.034 ร้อนต่า ความสามารถใน
หมายเลข 3 96K ไม่เกิน 0.032 การรักษาอุณหภูมิได้ดี
ฉนวนทรงกระบอกหมายเลข 1 ไม่เกิน 0.039
ฉนวนแถบ
แคลเซียมซิลิเกต ฉนวนแผ่น หมายเลข 1 650 ไม่เกิน 0.050 มีความแข็งแรงมากถ้าทา
(Calcium silicate) 1,000 C ไม่เกิน 0.046 เป็ นแบบสาเร็จรู ป การติดตั้ง
ฉนวนทรงกระบอก และมีความทนทานได้ดี
หมายเลข 2 650 C

หน้า 46 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.2-3 ความหนาของฉนวนความร้อนที่เหมาะสมสาหรับหุม้ ท่อทาง


เศรษฐศาสตร์ 2
ช่ วงอุณหภูมขิ อง
ขนาดท่อ
1
ไหล
5" - 6" 8" - 12" 14" - 20"
ระบบท่อ <1" 1 1"/2 - 2" 2 1"/2 - 4"
(140- (219- (350-
°C °F (33 mm) (42-60mm) (73-14mm)
168mm) 324mm) 500mm)
ความหนา นวน
ไอน้ า, ไอร้อนยิง่ ยวด 239-320 462-608 2.0"(50 mm) 2.0"(50 mm) 2.5"(63 mm) 3"(63 mm) 3.5"(88 mm) 3.5"(88 mm)
ไอน้ า,น้ าร้อน 238-152 450-306 1.5"(38 mm) 1.5"(38 mm) 2.0"(50 mm) 2.5"(63 mm) 3.0"(75 mm) 3.5"(88 mm)
ความดันสูง 151-122 305-251 1.5"(38 mm) 1.5"(38 mm) 2.0"(50 mm) 2.0"(50 mm) 2.5"(63 mm) 3.0"(75 mm)
ความดันปานกลาง 121-94 250-201 1.0"(25 mm) 1.5"(38 mm) 1.5"(38 mm) 2.0"(50 mm) 2.0"(50 mm) 2.5"(63 mm)
ความดันต่า 93-49 200-120 1.0"(25 mm) 1.0"(25 mm) 1.5"(38 mm) 1.5"(38 mm) 1.5"(38 mm) 2.0"(50 mm)
คอนเดนเสท 50-30 148-110 1.0"(25 mm) 1.0"(25 mm) 1.0"(25 mm) 1.5"(38 mm) 1.5"(38 mm) 2.0"(50 mm)

หน้า 47 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

การหุ ้มฉนวนกันความร้อนจะส่ งผลให้ลดการสู ญเสี ยทางพื้นผิว


2 ของวั ต ถุ ได้ ป ระมาณ 95% ของการสู ญ เสี ย ความร้ อ นทางพื้ น ผิ ว ซึ่ งผล
ประหยัด จะมากหรื อ น้อ ยขึ้ น อยู่กับ การเลื อ กใช้ช นิ ดและความหนาของ
ฉนวนความร้ อน ดังนั้น เมื่ อลงทุ นหุ ้มฉนวนพื้นผิววัตถุแล้วระยะเวลาคืน
ทุนจะมากหรื อน้อยจะขึ้นอยูก่ บั อุณหภูมิพ้ืนผิวของวัตถุ, ชัว่ โมงการใช้งาน
และค่าเชื้อเพลิงซึ่ งปกติการหุ ้มฉนวนจะมีระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 2 ปี โดย
ปกติเมื่ อหุ ้มฉนวนที่ความหนาแน่ นเหมาะสม อุณหภูมิพื้นผิว นวนจะไม่
เกิน 60°C

2.2.2 การคานวณการสู ญเสี ยความร้ อนของท่ อ


ตารางที่ 2.2-4 ถึง 2.2-7 แสดงค่าการสู ญเสี ยความร้อนผ่านพื้นผิวท่อและ
ผนังที่หุม้ และไม่หุม้ ฉนวนความร้อน ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ รายละเอียดของตาราง
ตารางที่ 2.2-4 แสดงการสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวท่อที่ไม่ได้หุม้ ฉนวน
ตารางที่ 2.2-5 ถึง แสดงการสู ญ เสี ย ความร้ อ นของพื้ น ผิ ว ท่ อ หลัง จากหุ ้ ม
2.2-7 ฉนวนใยแก้ว ฉนวนแคลเซี ยมซิ ลิเกต และฉนวนใยหิ น
ที่ความหนาที่เหมาะสมตามลาดับ

หน้า 48 จาก 106


ขนาดท่ อ ขนาดท่ อ (mm) อุณหภูมิผวิ ท่ อหรือผนังร้ อน (°C)
in. De Di 70 80 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
1/8" 10.29 6.83 0.03 0.03 0.04 0.06 0.08 0.1 0.12 0.15 0.17 0.2 0.24 0.27 0.31 0.35
1/4" 13.72 9.25 0.03 0.03 0.05 0.08 0.1 0.13 0.16 0.19 0.22 0.26 0.3 0.35 0.4 0.45
3/8" 17.75 12.52 0.04 0.04 0.07 0.09 0.12 0.16 0.2 0.24 0.28 0.33 0.38 0.44 0.5 0.56
1/2" 21.34 15.8 0.05 0.05 0.08 0.11 0.15 0.19 0.23 0.28 0.33 0.39 0.45 0.51 0.59 0.66
3/4" 26.67 20.93 0.06 0.06 0.09 0.13 0.18 0.23 0.28 0.34 0.4 0.47 0.55 0.63 0.72 0.81
1" 33.4 26.64 0.07 0.07 0.12 0.16 0.22 0.28 0.34 0.41 0.49 0.57 0.67 0.77 0.88 0.99
1.1/4" 42.16 35.05 0.09 0.09 0.14 0.2 0.27 0.34 0.42 0.51 0.6 0.71 0.82 0.95 1.08 1.23
1.1/2" 48.26 40.89 0.1 0.1 0.16 0.23 0.3 0.38 0.47 0.57 0.68 0.8 0.93 1.07 1.22 1.39
2" 60.33 52.5 0.12 0.12 0.19 0.27 0.36 0.46 0.57 0.7 0.83 0.97 1.13 1.31 1.5 1.7
2 1/2" 73.03 62.71 0.14 0.14 0.23 0.32 0.43 0.55 0.68 0.83 0.98 1.16 1.35 1.55 1.78 2.02
3" 88.9 77.93 0.17 0.17 0.27 0.39 0.51 0.65 0.81 0.98 1.17 1.38 1.61 1.86 2.13 2.42
3 1/2" 101.6 90.12 0.19 0.19 0.31 0.43 0.58 0.74 0.91 1.11 1.32 1.56 1.82 2.1 2.41 2.74
4" 114.3 102.26 0.21 0.21 0.34 0.48 0.64 0.82 1.02 1.23 1.47 1.74 2.02 2.34 2.68 3.06
5" 141.3 128.19 0.26 0.26 0.41 0.58 0.78 0.99 1.23 1.5 1.79 2.11 2.46 2.84 3.26 3.72

หมายเหตุ: ท่อ Schedule 40 อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม 35°C


6" 168.27 154.05 0.3 0.3 0.48 0.68 0.91 1.16 1.44 1.75 2.09 2.47 2.88 3.34 3.83 4.37
8" 219.08 202.72 0.38 0.38 0.61 0.86 1.15 1.47 1.83 2.23 2.66 3.15 3.68 4.26 4.89 5.58
10" 273.05 254.51 0.47 0.47 0.74 1.05 1.41 1.8 2.24 2.72 3.26 3.85 4.5 5.22 6 6.85
ตารางที่ 2.2-4 การสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวท่อที่ไม่ได้หุม้ ฉนวน (kW/m)

12" 323.85 304.8 0.55 0.55 0.87 1.23 1.64 2.1 2.61 3.18 3.81 4.51 5.27 6.11 7.03 8.04
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 49 จาก 106


2
1
2
อุณหภูมิก่อนหุ้ม(°C) 70 80 90 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
อุณหภูมิหลังหุ้มเ ลีย่ (°C) 40.19 41.34 42.43 42.51 44.28 43.55 44.23 45.36 46.45 47.51 45.69 46.49 47.26 48.02 48.77

หน้า 50 จาก 106


ขนาดท่ อ (in.) การสู ญเสียความร้ อนหลังหุ้ม นวนที่ความหนาที่เหมาะสม (W/m)
1/8" 4.27 5.6 6.96 8.35 11.16 12.2 14.63 17.07 19.52 21.98 22.17 24.39 26.6 28.82 31.04
1/4" 4.83 6.35 7.91 8.46 11.25 13.73 16.48 19.25 22.02 24.8 24.81 27.29 29.77 32.26 34.74
3/8" 5.44 7.17 8.94 9.51 12.67 15.41 18.51 21.62 24.74 27.87 27.66 30.43 33.21 35.98 38.76
1/2" 5.97 7.87 9.83 10.4 13.86 16.82 20.22 23.63 27.05 30.48 30.06 33.07 36.09 39.12 42.14
3/4" 6.72 8.88 11.09 11.67 15.56 18.84 22.65 26.49 30.33 34.19 33.45 36.81 40.18 43.55 46.92
1" 7.64 10.1 12.64 13.2 17.63 21.28 25.61 29.96 34.32 38.7 37.54 41.32 45.11 48.9 52.69
1.1/4" 8.8 11.65 14.6 15.11 20.21 24.35 29.32 34.32 39.34 44.38 42.65 46.96 51.27 55.59 59.9
1.1/2" 9.59 12.72 15.94 13.85 18.38 26.44 31.85 37.29 42.76 48.25 46.11 50.78 55.45 60.12 64.79
2" 11.13 14.78 18.55 15.81 21 30.5 36.76 43.06 49.4 55.76 52.81 58.16 63.52 68.88 74.25
2 1/2" 10.54 13.84 17.22 17.81 23.68 29.61 35.59 41.59 47.61 53.65 52 57.23 62.46 67.7 72.94
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

3" 12.06 15.86 19.74 20.25 26.95 33.76 40.59 47.45 54.34 61.24 58.95 64.89 70.83 76.78 82.73
3 1/2" 13.26 17.45 21.73 22.17 29.52 37.04 44.54 52.08 59.65 67.25 64.43 70.93 77.43 83.93 90.44
4" 14.46 19.04 23.72 24.06 32.05 40.29 48.46 56.68 64.93 73.2 69.86 76.9 83.96 91.02 98.09
5" 16.98 22.38 27.9 24.18 32.09 47.14 48.57 56.71 64.88 73.07 72.2 79.45 86.7 93.96 101.22
6" 19.49 25.7 32.06 27.41 36.39 53.92 55.27 64.55 73.86 83.19 81.84 90.07 98.3 106.54 114.79
8" 24.18 31.91 39.84 33.37 44.35 56.42 59.79 69.76 79.76 89.78 88.87 97.77 106.68 115.59 124.51
10" 29.15 38.49 48.07 39.57 52.63 67.38 71.06 82.94 94.84 106.77 105.2 115.74 126.3 136.86 147.42

เมตร ค่าการนาความร้อน = 0.042 W/m K อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม


ตารางที่ 2.2-5 การสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวท่อหลังหุม้ ฉนวนใยแก้ว (W/m)

หมายเหตุ: ท่อ Sch. 40 ฉนวนใยแก้วความหนาแน่น 64 กิโลกรัมต่อตาราง


12" 33.81 44.66 55.81 45.32 60.3 77.64 81.62 95.27 108.96 122.68 120.46 132.54 144.64 156.74 168.85
อุณหภูมิก่อนหุ้ม(°C) 70 80 90 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
อุณหภูมิหลังหุ้มเ ลีย่ (°C) 40.86 42.17 43.42 43.54 45.57 44.79 45.59 46.88 48.14 49.36 47.32 48.24 49.14 50.02 50.88
ขนาดท่อ (in.) การสูญเสียความร้ อนหลังหุ้ม นวนที่ความหนาที่เหมาะสม (W/m)
1/8" 4.83 6.35 7.92 9.51 12.76 14.08 16.91 19.75 22.60 25.46 25.75 28.33 30.91 33.49 36.08
1/4" 5.45 7.19 8.97 9.54 12.71 15.84 19.03 22.25 25.47 28.71 28.80 31.69 34.58 37.48 40.38
3/8" 6.13 8.10 10.13 10.70 14.27 17.75 21.35 24.97 28.61 32.25 32.09 35.32 38.56 41.79 45.03
1/2" 6.71 8.88 11.11 11.68 15.60 19.37 23.31 27.28 31.26 35.25 34.87 38.38 41.90 45.42 48.95
3/4" 7.54 9.99 12.52 13.07 17.48 21.67 26.10 30.56 35.03 39.52 38.79 42.71 46.63 50.56 54.49
1" 8.55 11.35 14.24 14.74 19.75 24.46 29.48 34.53 39.61 44.71 43.51 46.63 52.33 56.75 61.17
1.1/4" 9.82 13.07 16.42 16.84 22.59 27.97 33.73 39.54 45.37 51.23 49.41 54.43 59.45 64.48 69.52
1.1/2" 10.69 14.24 17.91 15.62 20.79 30.35 36.62 42.94 49.29 55.67 53.41 58.84 64.28 69.73 75.18
2" 12.39 16.52 20.81 17.80 23.71 34.97 42.23 49.55 56.91 64.30 61.14 67.37 73.61 79.86 86.12
2 1/2" 11.91 15.69 19.57 20.02 26.69 34.10 41.04 48.01 55.02 62.05 60.30 66.39 72.49 78.59 84.70
3" 13.61 17.95 22.41 22.73 30.32 38.85 46.78 54.75 62.76 70.80 68.34 75.25 82.18 89.11 96.04
3 1/2" 14.96 19.74 24.66 24.85 33.18 42.60 51.31 60.08 68.88 77.72 74.67 82.24 89.82 97.40 104.99
4" 16.29 21.52 26.89 26.95 35.99 46.32 55.81 65.36 74.96 84.58 80.95 89.16 97.38 105.61 113.85
5" 19.11 25.28 31.60 27.25 36.25 54.17 56.08 65.55 75.06 84.59 83.75 92.19 100.65 109.11 117.58
6" 21.91 29.00 36.28 30.85 41.06 61.93 63.80 74.59 85.42 96.29 94.91 104.50 114.09 123.70 133.31
8" 27.16 35.97 45.04 37.49 49.93 65.00 69.11 80.72 92.36 104.03 103.15 113.52 123.90 134.29 144.68
10" 32.70 43.35 54.31 44.39 59.16 77.59 82.12 95.93 109.79 123.69 122.06 134.35 146.65 158.96 171.28

ตารางเมตร ค่าการนาความร้อน = 0.049 W/m K อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม 35°C


ตารางที่ 2.2-6 การสู ญเสี ยความร้อนของพื้นผิวท่อหลังหุม้ ฉนวนแคลเซียมซิลิเกต (W/m)

หมายเหตุ: ท่อ Schedule 40 ฉนวนแคลเซียมซิลิเกต ความหนาแน่น 135 กิโลกรัมต่อ


12" 37.90 50.27 63.01 50.77 67.70 89.38 94.30 110.18 126.11 142.09 139.75 153.83 167.93 182.03 196.15
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 51 จาก 106


2
1
2
อุณหภูมิก่อนหุ้ม(°C) 70 80 90 100 120 140 160 180 200 220 240 260 280 300 320
อุณหภูมิหลังหุ้มเ ลีย่ (°C) 40.38 41.58 42.72 42.81 44.65 43.91 44.62 45.80 46.94 48.04 46.16 46.99 47.80 48.60 49.38

หน้า 52 จาก 106


ขนาดท่ อ (in.) การสู ญเสียความร้ อนหลังหุ้ม นวนที่ความหนาที่เหมาะสม (W/m)
1/8" 4.43 5.82 7.24 8.69 11.62 12.74 15.29 17.84 20.41 22.98 23.20 25.52 27.84 30.16 32.48
1/4" 5.01 6.59 8.22 8.78 1168 14.34 17.22 20.11 23.01 25.92 25.95 28.55 31.15 33.75 36.36
3/8" 5.65 7.44 9.29 9.86 13.14 16.08 19.33 22.58 25.85 29.13 28.93 31.83 34.74 37.65 40.56
1/2" 6.19 8.17 10.20 10.78 14.37 17.56 21.11 24.68 28.26 31.85 31.44 34.60 37.76 40.92 44.09
3/4" 6.96 9.20 11.51 12.08 16.13 19.66 23.65 27.66 31.69 35.73 34.98 38.50 42.03 45.56 49.09
1" 7.90 10.47 13.11 13.65 18.25 22.20 26.72 31.28 35.85 40.43 39.25 43.21 47.18 51.15 55.12
1.1/4" 9.10 12.07 15.13 15.62 20.91 25.40 30.60 35.83 41.08 46.35 44.59 49.10 53.62 58.14 62.66
1.1/2" 9.91 13.16 16.52 14.37 19.09 27.57 33.23 38.92 44.64 50.38 48.21 53.09 57.98 62.88 67.77
2" 11.50 15.30 19.22 16.39 21.79 31.79 38.34 44.94 51.56 58.22 55.20 60.81 66.42 72.03 77.66
2 1/2" 10.94 14.38 17.90 18.46 24.56 30.91 37.16 43.44 49.74 56.06 54.38 59.86 65.34 70.82 76.31
3" 12.51 16.47 20.52 20.98 27.94 35.23 42.37 49.55 56.76 63.99 61.64 67.86 74.08 80.31 86.54
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

3 1/2" 13.76 18.12 22.59 22.96 30.59 38.64 46.49 54.38 62.31 70.26 67.37 74.17 80.98 87.80 94.61
4" 15.00 19.76 24.64 24.91 33.21 42.03 50.58 59.18 67.82 76.48 73.04 80.42 87.81 95.21 102.61
5" 17.61 23.23 28.98 25.08 33.30 49.17 50.73 59.25 67.81 76.38 75.51 83.10 90.70 98.30 105.91

หมายเหตุ : ท่อ Schedule 40 ฉนวนใยหิน ความหนาแน่น 40-200 kg/m3


6" 20.20 26.66 33.29 28.42 37.76 56.24 57.73 67.44 77.19 86.96 85.59 94.21 102.83 111.46 120.09
8" 25.06 33.10 41.36 34.58 45.98 58.90 62.47 72.91 83.38 93.87 92.97 102.29 111.62 120.95 130.29

ค่าการนาความร้อน=0.044W/m Kอุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม 35°C


10" 30.19 39.91 49.90 40.99 54.54 70.32 71.25 86.67 99.14 111.63 110.04 121.08 132.13 143.19 154.26
ตารางที่ 2.2-7 การสู ญเสี ยความร้อนของท่อหลังหุม้ ฉนวนใยหิ น (W/m)

12" 35.01 46.31 57.92 46.92 62.47 81.03 85.27 99.56 113.89 128.26 125.99 138.65 151.32 163.99 176.67
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-8


จากการตรวจสอบระบบท่ อของหม้อไอน้ าตามตัวอย่างที่ 1 พบว่าท่ อไอน้ าขนาด 2”
2
ความยาว 50 m. ไม่มีการหุ ้มฉนวน จงคานวณพลังงานที่ประหยัดได้หากท่อความยาว
ดังกล่าวถูกหุม้ ด้วยฉนวนใยแก้วความหนาแน่น 64 kg/m3 1
วิธีคำนวณ
การหาค่าการสู ญเสี ยความร้อนของท่อก่อนหุม้ ฉนวนความร้อน
รายการ ข้ อมูลวัดและคานวณ
อุณหภูมิผวิ ท่อที่ไม่หุม้ ฉนวน วัดได้ 180C (อุณหภูมิไอน้ า)
ความยาวท่อและขนาดเส้นผ่าน ท่อขนาด 2” ความยาว 50 m
ศูนย์กลางท่อทั้งหมด
จานวนวาล์วและหน้าแปลนทั้งหมด วาล์ว 2” จานวน 3 ตัว และ
โดยหน้าแปลนคิดเป็ นความยาว หน้าแปลน 2” จานวน 6 ตัว
เทียบเท่า 0.4 ม./ตัว และ วาล์วคิดเป็ น ดังนั้น ความยาว (1.2 x 3) + (0.4 x 6) = 6
ความยาวเทียบเท่า 1.2 ม./ตัว m
จากตาราง 2.2-4 การสู ญเสี ยความ อ่านค่าได้ 0.57 kW/ m
ร้อนของท่อไม่หุม้ ฉนวน ที่อุณหภูมิ
180C ท่อขนาด 2 นิ้ว
ชัว่ โมงการใช้งานระบบความร้อน = 6,000 h/y
ของโรงงาน
ค่าการสู ญเสี ยความร้อนรวม = 0.57(kW/m) x (50+6)(m) x 6,000(h/y)
= 191,520.0 kWh/y

หน้า 53 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-8 (ต่ อ)


จากการตรวจสอบระบบท่ อของหม้อไอน้ าตามตัวอย่างที่ 1 พบว่าท่ อไอน้ าขนาด 2”
2
ความยาว 50 m. ไม่มีการหุ ้มฉนวน จงคานวณพลังงานที่ประหยัดได้หากท่อความยาว
ดังกล่าวถูกหุม้ ด้วยฉนวนใยแก้วความหนาแน่น 64 kg/m3
วิธีคำนวณ
การหาค่าการสู ญเสี ยความร้อนของท่อหลังหุม้ ฉนวนความร้อน
รายการ ข้ อมูลวัดและคานวณ
ประเภทฉนวน ฉนวนใยแก้วความหนาแน่น 64 kg/m3
อ่านค่าการสู ญเสี ยความร้อนของ ค่าการสู ญเสี ย 43.06 W/ m อุณหภูมิพ้นื ผิว
ฉนวนใยแก้วที่อุณหภูมิผวิ ท่อ 180C หลังหุม้ ฉนวนเฉลี่ย 45.36C
ของท่อขนาด 2 นิ้ว จากตารางที่ 2.2-5
นาค่าอุณหภูมิผวิ ท่อก่อนหุม้ ฉนวนไป ได้ความหนาฉนวน 1.5” (38 mm.)
เลือกขนาดความหนาฉนวนที่
เหมาะสมจากตารางที่ 2.2-3
ชัว่ โมงการใช้งานระบบความร้อนของ = 6,000 h/y
โรงงาน
คิดเป็ นค่าการสู ญเสี ยความร้อนรวม = 43(W/m) x (50+6)(m) x 6,000(h/y) x 10-3
= 14,448 kWh/y
ความร้อนสู ญเสี ยที่ลดลงจากการหุม้ = 191,520.0 – 14,448.0 = 177,072.0
ฉนวน kWh/y

หน้า 54 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.2.3 การสู ญเสี ยจากการรั่วไหลของไอนา้


การปล่อยรู รั่วต่างๆไว้ขนาดของรู รั่วจะขยายเพิ่มมากขึ้ นเรื่ อยๆ 2
โดยปริ มาณไอน้ าที่รั่วนั้นนอกจากจะขึ้นอยูก่ บั ขนาดของรู รั่วแล้วยังขึ้นอยู่
1
กับความดันของไอน้ าด้วย ดังนั้นเมื่ อพบว่ามี การรั่วไหลของไอน้ าต้องรี บ
ดาเนิ นการแก้ไขโดยทันที สามารถหาอัตราการรั่วได้โดยใช้ตารางที่ 2.2-8
หรื อ รู ปที่ 2.2-1 หรื อสมการดังนี้
อัตราการรั่วไหลของไอน้ า( mL ) = 199 x A x (P/v)0.5 x 3,600 x n 2.2.1
เชื้อเพลิงที่สูญเสี ยจากการรั่วไหลของไอน้ า (FL) = mL / (S/F) 2.2.2
เมื่อ FL = เชื้อเพลิงที่สูญเสี ย (L/h) S/F = ดัชนีการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิง
mL = อัตราการรั่วไหลของไอน้ า (kg/h) A = พื้นที่หน้าตัดของรู รั่ว (m2)
P = ความดันไอน้ า (barg) v = ปริ มาตรจาเพาะของไอน้ า (m3/kg)
n = จานวนรู ที่รั่วไหล (จุด)

ขั้นตอนการหาอัตราการรั่วไหลของไอนา้
1. ตรวจวัดความดันไอน้ าในท่อ โดยใช้เครื่ องมือวัดความดันในตาแหน่งที่
ไอน้ ารั่วไหล
2. ประเมินหรื อตรวจวัดขนาดของรู รั่ว
3. นาความดันของไอน้ า และขนาดของรู รั่วไปเปิ ดตารางที่ 2.2-8 หรื อ รู ปที่
2.2-1 จะได้อตั รารั่วไหลไอน้ า

หน้า 55 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.2-8 อัตราการรั่วไหลของไอน้ าที่ความดันและรู รั่วขนาดต่างๆ (kg/h)


2 ความ ปริมาตร ความ ขนาดรู รั่ว (mm)
ดัน จาเพาะ หนาแน่ น 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 4.5 5.0
(barg) (m3/kg) (kg/m3)
1.0 0.881 1.135 0.15 0.60 1.35 2.40 3.75 5.40 7.35 9.60 12.14 14.99
1.5 0.714 1.135 0.20 0.82 1.84 3.26 5.10 7.34 9.99 13.05 16.52 20.40
2.0 0.603 1.658 0.26 1.03 2.31 4.10 6.41 9.23 12.56 16.40 20.76 25.63
2.5 0.522 1.658 0.31 1.23 2.77 4.93 7.70 11.09 15.09 19.71 24.94 30.80
3.0 0.461 2.169 0.36 1.44 3.23 5.74 8.97 12.92 17.59 22.97 29.08 35.90
3.5 0.413 2.169 0.41 1.64 3.69 6.55 10.24 14.75 20.07 26.22 33.18 40.97
4.0 0.374 2.674 0.46 1.84 4.14 7.36 11.51 16.57 22.55 29.45 37.28 46.02
4.5 0.342 2.674 0.51 2.04 4.59 8.17 12.76 18.38 25.01 32.67 41.35 51.05
5.0 0.315 3.175 0.56 2.24 5.05 8.97 14.02 20.18 27.47 35.88 45.41 56.06
5.5 0.292 3.175 0.61 2.44 5.50 9.77 15.27 21.99 29.93 39.09 49.47 61.07
6.0 0.272 3.676 0.66 2.64 5.95 10.57 16.52 23.79 32.39 42.30 53.53 66.09
6.5 0.255 3.676 0.71 2.84 6.39 11.37 17.76 25.58 34.81 45.47 57.55 71.05
7.0 0.240 4.167 0.76 3.04 6.84 12.16 19.00 27.36 37.24 48.64 61.56 76.00
7.5 0.227 4.167 0.81 3.24 7.28 12.94 20.22 29.12 39.63 51.77 65.52 80.89
8.0 0.215 4.651 0.86 3.43 7.73 13.73 21.46 30.90 42.06 54.94 69.53 85.84
8.5 0.204 4.651 0.91 3.63 8.18 14.53 22.71 32.70 44.51 58.13 73.58 90.84
9.0 0.194 5.155 0.96 3.83 8.63 15.34 23.96 34.51 46.97 61.34 77.64 95.85

หน้า 56 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2
1

รูปที่ 2.2-1 อัตราการรั่วไหลของไอน้ าที่ความดันและรู รั่วขนาดต่างๆ (kg/h)

ตัวอย่ างที่ 2-9


โรงงานแห่งหนึ่ง ใช้หม้อไอน้ า 10 ตันต่อชัว่ โมง ใช้น้ ามันเตาซี 3 ล้านลิตรต่อปี ปริ มาณ
น้ าป้อนหม้อไอน้ า 40.5 ล้านลิตรต่อปี ทางาน 16 ชัว่ โมง/วัน 312 วันต่อปี ผลิตไอน้ าที่ 7
barg จากการตรวจสอบระบบส่ งจ่ายไอน้ าพบว่ามีการรั่วที่ท่อส่ งไอน้ ารู รั่วขนาด 1 mm.
จานวน 30 จุด จงหาปริ มาณไอน้ าและเชื้อเพลิงสู ญเสี ย
วิธีคำนวณ
จากตารางที่ 2.2-8 หรื อ รู ป ที่ 2.2-1 ที่ ค วามดัน ไอน้ า 7 barg และขนาดรู รั่ ว 1 mm.
พบว่ามี ปริ ม าณการรั่ ว ไหลของไอน้ า 3.04 kg / h ต่ อ จุ ด จ านวน 30 จุ ด คิ ด เป็ นการ
รั่วไหลทั้งสิ้ น 91.2 kg / h
ดัชนีการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิง = 3,000,000 / 40,500,000 = 13.5 kg/L
คิดเป็ นปริ มาณเชื้อเพลิงที่สูญเสี ย = 13.5 / 91.2 = 6.76 L/h
ดังนั้นปริ มาณการสู ญเสี ยรวมทั้งปี = 6.76 x 16 x 312 = 33,745.92 L/y

หน้า 57 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.2.4 การสู ญเสี ยความดันในระบบส่ งจ่ ายไอนา้


2 หากท่ อส่ งจ่ ายไอน้ ามี ขนาดไม่ เหมาะสมกับ อัตราการไหลและ
สมบั ติ ข องไอน้ า จะส่ งผลต่ อ ระบบไอน้ า ดั ง ตารางที่ 2.2-9 ดั ง นั้ น
ผูอ้ อกแบบจะต้องออกแบบหรื อกาหนดขนาดท่อไอน้ าให้เหมาะสมเพื่อลด
การสู ญ เสี ย ความดัน สู ญ เสี ยความร้ อ น และค่ าใช้จ่ ายในการติ ด ตั้งและ
บ ารุ ง รั ก ษา ตารางที่ 2.2-10 เป็ นตารางที่ ใช้ห าขนาดท่ อ ไอน้ า โดยผูใ้ ช้
กาหนดความเร็ วของไอน้ าในท่อ ความดันไอน้ าในท่อ และอัตราการไหล
ของไอน้ าในท่อก็จะสามารถหาขนาดท่อไอน้ าได้อย่างถูกต้อง หรื ออาจใช้
สมการข้างล่าง โดยถ้ากาหนดอัตราการใช้ไอน้ าที่ ออกแบบเป็ นค่าภาระ
สู งสุ ดสามารถใช้ความเร็ วของไอน้ าในท่อ 40 m/s ได้จะช่วยลดขนาดท่อส่ ง
ไอน้ าลงได้หากเป็ นค่าภาระเฉลี่ ยควรใช้ความเร็ วของไอน้ าที่ 25 m/s เพื่อ
เผือ่ ไว้สาหรับในขณะเริ่ มเดินระบบ หรื อภาระสู งสุ ดของอุปกรณ์ในระบบ
ตารางที่ 2.2-9 เปรี ยบเทียบผลที่เกิดขึ้นระหว่างท่อที่มีขนาดเล็กและใหญ่กว่ามาตรฐาน
ท่ อเล็กกว่ามาตรฐาน ท่ อใหญ่ กว่ ามาตรฐาน
1. ความดันสู ญเสี ยในการส่ งจ่ายไอน้ าสู ง 1. ความดันสู ญเสี ยในการส่ งจ่ายไอน้ าต่า
2. ไม่สามารถส่ งไอน้ าได้ตามปริ มาณที่ตอ้ งการ 2. ค่าใช้จ่ายในการดา เนินการติดตั้งสู ง
3. เกิดเสี ยงดังภายในท่อส่ งไอน้ า 3. การสู ญเสี ยความร้อนจากท่อส่ งจ่าย
4. หม้อไอน้ าจะต้องผลิตไอน้ าที่ความดัน ไอน้ ามีมาก
สู งขึ้น 4. ค่าใช้จ่ายในการบารุ งรักษาสู ง

mS = 900 x π x ρ x d2 x V 2.2.3
d = (mS / (900x π x ρ x V))0.5 2.2.4
เมื่อ
mS : อัตราการไหลของไอน้ าในท่อ (kg/h) ρ: ความหนาแน่นของไอน้ า (kg/m3)
d : เส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อ (m) V: ความเร็ วของไอน้ าในท่อ (m/s)

หน้า 58 จาก 106


ความ ความ ความ ขนาดเส้ นผ่านศู นย์ กลางท่ อ
(mm.)
ดัน หนาแน่ น เร็ว 15 20 25 30 40 50 65 80 100 125 150 200 250
(barg) (kg/m3) (m/s)
1.0 1.135 25 18 32 50 82 125 201 339 541 803 1254 1806 3210 5016
1.135 40 29 51 80 131 205 321 543 822 1284 2007 2889 5137 8026
2.0 1.658 25 26 47 73 120 188 293 495 750 1172 1832 2638 4690 7328
1.658 40 42 75 117 192 300 469 793 1201 1876 2931 4221 7504 11724
3.0 2.169 25 35 61 76 157 245 383 648 982 1534 2397 3451 6135 9586
2.169 40 55 98 153 251 393 614 1037 1571 2454 3834 5522 9816 15338
4.0 2.674 25 43 76 118 194 303 473 799 1210 1891 2955 4255 7564 11818
2.674 40 68 121 189 310 484 756 1278 1936 3025 4727 6807 12102 18909
5.0 3.175 25 51 90 140 230 359 561 949 1437 2245 3508 5052 8981 14032
3.175 40 81 144 225 368 575 898 1518 2299 3592 5613 8083 14369 22452
6.0 3.676 25 58 104 162 266 416 650 1095 1664 2599 4062 5849 10398 16247
3.676 40 94 166 260 426 665 1040 1757 2662 4159 6499 9358 16637 25995
7.0 4.167 25 66 118 184 302 471 737 1245 1886 2947 4604 6630 11787 18417
4.167 40 106 189 295 483 754 1179 1992 3017 4715 7367 10608 18859 29467
8.0 4.651 25 74 132 206 337 526 822 1390 2105 3289 5139 7400 13156 20556
4.651 40 118 210 329 539 842 1316 2223 3368 5262 8222 11840 21049 32889
9.0 5.155 25 82 146 228 373 583 911 1540 2333 3645 5696 8202 14581 22783
5.155 40 131 233 365 597 933 1458 2464 3733 5833 9113 13123 23330 36453
ตารางที่ 2.2-10 มาตรฐานอัตราการไหลของไอน้ าในท่อส่ งจ่ายไอน้ า (kg/h)
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 59 จาก 106


2
1
บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-10


โรงงานแห่งหนึ่ง ต้องการติดตั้งท่อส่ งไอน้ าขนาดอัตราการไหลของไอน้ า 3,000 kg/h
2
ความดันไอน้ า 7 barg และความเร็วของไอน้ า 25 m/s จงหาว่าจะต้องใช้ท่อไอน้ าขนาด
เท่าใด
วิธีคำนวณ
จากตาราง 2.2-10 ที่ความดันไอน้ า 7 barg ความเร็วไอน้ า 25 m/s และอัตราการไหลของ
ไอน้ าในท่อ 3,000 kg/h จะได้ท่อไอน้ าขนาด 100 mm หรื อสามารถหาจากสมการ 2.2.4
ดังนี้
d = (mS / (900x π x ρ x V))0.5
= (3,000 / (900 x 3.1416 x 4.167 x 25))0.5
= 0.1009m = 100.92 mm

2.2.3.1 เทคนิคการเดินท่ อไอนา้


การเดินท่อไอน้ านั้นนอกจากขนาดของท่อไอน้ าจะต้องเหมาะสม
แล้วยังต้องคานึ งถึ ง วาล์ว ข้อต่อ ข้องอ การเชื่ อมต่อท่ อ การติ ดตั้งกับ ดัก
ไอน้ าที่ เหมาะสม ซึ่ งส่ งผลต่อคุณภาพของไอน้ าและประสิ ทธิ ภาพการใช้
ไอน้ า ดังนั้นควรใช้แนวทางต่อไปนี้ในการออกแบบระบบท่อไอน้ า

แนวทางในการออกแบบระบบท่ อไอนา้
1. ควรเดินท่อให้ส้ นั ที่สุด หรื อเท่าที่จาเป็ นเท่านั้น
2.ในการต่อท่อควรใช้การเชื่ อม โดยพยายามหลีกเลี่ยงการใช้ขอ้ ต่อแบบเกลียว เพื่อลด
ปัญหาการรั่วไหลของไอน้ าในอนาคต
3. ควรใช้วาล์วแบบหน้าแปลน และพยายามหลีกเลี่ยงการใช้วาล์วแบบเกลียว
4. ควรใช้ท่อโค้งที่มีความโค้งกว้างๆ แทนการใช้ขอ้ งอ เพื่อลดการสู ญเสี ยความดันใน
ระบบท่อ

หน้า 60 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

แนวทางในการออกแบบระบบท่ อไอนา้ (ต่ อ)


5. ท่อส่ งจ่ายไอน้ าควรมีความลาดเอียง 1:250 โดยเอียงไปตามทิศทางการไหลของไอน้ า
2
และต้อ งมี จุดดักน้ าและติ ด ตั้งกับ ดักไอน้ าเพื่ อ ระบายน้ าออกทุ กๆ ช่ ว งความยาวท่ อ
30-50 เมตร 1

6. ควรเลือกใช้กบั ดักไอน้ าแบบถ้วยหงายหรื อเทอร์โมไดนามิกในการระบายน้ าเสมอ


7. ท่อไอน้ าไม่ได้ทางานที่ความดัน หรื ออุณหภูมิคงที่ตลอดเวลาจะทาให้ท่อยืด-หดตัว
จึงควรติดตั้งชุดรับการขยายตัว เพื่อป้องกันท่อแตกร้าวหรื ออุปกรณ์ในระบบท่อเสี ยหาย
8. การต่ อ ท่ อ แยกเพื่ อ น า ไอน้ าไปใช้ต้อ งต่ อ จากด้านบนของท่ อ ประธาน ยกเว้น ท่ อ
ระบายน้ า

หน้า 61 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

แนวทางในการออกแบบระบบท่ อไอนา้ (ต่ อ)


9. การลดขนาดท่อต้องไม่มีน้ าขัง
2

10. ท่อไอน้ าที่ออกจากวาล์วลดความดัน จะต้องเพิ่มขนาดให้ใหญ่ข้ ึนเนื่ องจากไอน้ าเกิด


การขยายตัว เช่ น ความดันไอน้ าเข้า 7 barg ปริ มาณ 302 kg/h แล้วลดความดันเป็ น 2
barg จากตารางที่ 2.2-10 ขนาดท่อเข้าประมาณ 32 mm. และขนาดท่อออกควรประมาณ
50 mm.
11. ท่อไอน้ าที่ถูกยกระดับขึ้นจะต้องขยายขนาดท่อเพื่อลดความเร็ วและการสู ญเสี ยความ
ดัน

2.2.3.2 การตรวจสอบระบบท่ อส่ งจ่ ายไอนา้


ไม่ว่าจะเป็ นไอน้ า หรื อ น้ า หรื อ อากาศต่างก็ตอ้ งส่ งด้วยระบบ
ท่อ การสู ญ เสี ย พลังงานเนื่ อ งจากระบบท่อ ส่ งนับ เป็ นการสู ญ เสี ยที่มาก
ดังนั้น การตรวจสอบระบบท่อ อย่างเคร่ งครัด จึ ง นับ เป็ นจุด เริ่ ม ต้น ของ
การประหยัดพลังงานที่ดี

หน้า 62 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

การตรวจสอบระบบท่ อส่ งจ่ ายไอนา้


1) ระบบท่อชารุ ดหรื อไม่
2
2) มีรอยรั่วจากข้อต่อต่างๆ (หน้าแปลน วาล์ว เป็ นต้น) หรื อไม่
3) มีรอยรั่วจากบริ เวณรอยเชื่ อมหรื อเกลียวต่อหรื อไม่ 1
4) มีระบบท่อซึ่ งไม่ใช้อยู่หรื อไม่
5) มีท่อไอน้ าบางส่ วนแช่อยู่ในน้ าบ้างหรื อไม่
6) มีการรั่วจากลิ้นนิ รภัยหรื อไม่
7) มีระบบท่อไอน้ าซึ่ งเปลือยอยู่หรื อไม่

2.2.3.3 การใช้ วาล์วอย่างถูกต้ อง


ตรวจดู ว่าวาล์วของเชื้ อเพลิ งไอน้ า และอากาศเป็ นต้นทางานได้
อย่างสมบูรณ์หรื อไม่ นอกจากนี้ จะต้องตระหนักไว้ดว้ ยว่าวาล์วเป็ นสิ่ งที่รั่ว
ได้ การลื มปิ ดวาล์วหรื อปิ ดไม่ ส นิ ท หลังการปฏิ บ ัติงานมี ส่ วนให้สู ญ เสี ย
พลังงานได้อย่างมากมายทีเดียว ดังนั้นควรประหยัดพลังงานโดยการเปิ ดปิ ด
วาล์วให้ถูกต้อง

การใช้ วาล์ วอย่ างถูกต้ อง


1) มีการรั่วจากวาล์วหรื อไม่
2) ตรวจดูอีกครั้งหนึ่งว่าลืมปิ ดวาล์วขณะเลิกงานหรื อขณะหยุดพักหรื อไม่
3) มีการกาหนดและติดประกาศชื่อผูร้ ับผิดชอบในการเปิ ดปิ ดวาล์วหรื อไม่
4) เปิ ดวาล์วเกินจาเป็ นหรื อไม่
5) มีป้ายแสดงการเปิ ดปิ ดของวาล์วหรื อไม่
6) วาล์วที่ติดตั้งเหมาะสมกับความดันหรื อไม่
7) ตาแหน่งติดตั้งวาล์วเหมาะสมหรื อไม่
8) ใช้วาล์วทั้ง ๆ ที่ชารุ ดหรื อไม่

หน้า 63 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.3 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพอุปกรณ์ ใช้ ไอนา้


2 อุปกรณ์ใช้ไอน้ าเป็ นอุปกรณ์ที่สาคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพ ปริ มาณ
ผลผลิ ต และปริ ม าณการใช้ไ อน้ า โดยถ้าอุ ป กรณ์ ป ระกอบ เช่ น วาล์ ว
ควบคุมปริ มาณไอน้ า และกับดักไอน้ าชารุ ดหรื อมีประสิ ทธิ ภาพต่าจะส่ งผล
ให้ใช้ไอน้ าในปริ มาณที่สูงขึ้น โดยทัว่ ไปอุปกรณ์ใช้ไอน้ าเพื่อการผลิตหรื อ
บริ การแบ่งเป็ น 2 ชนิ ด คือ แบบใช้ ไอน้าไปสั มผัสวัตถุดิบโดยตรง (Direct
heater) และแบบแลกเปลี่ยนความร้ อนผ่ านพื้นผิว (Surface heater) โดย
ทั้งสองแบบจะต้อ งติ ดตั้งอุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ไอน้ าอัตโนมัติตามอุ ณ หภู มิ ที่
ต้องการ ส่ วนแบบ Surface heater นั้นจะต้องมีอุปกรณ์ประกอบเพิ่มขึ้น คือ
กั บ ดั ก ไ อ น้ า(Steam Trap)เพื่ อ กั ก ไอ น้ าให้ อ ยู่ ภ าย ใน อุ ป ก ร ณ์ ใช้
ไอน้ าจนกว่าไอน้ ากลัน่ ตัวเป็ นของเหลว(Condensate) จึงปล่อยออกทางท่อ
คอนเดนเสทเพื่อนาหลับไปใช้ประโยชน์ในการเป็ นน้ าป้ อนหม้อไอน้ าหรื อ
นาไปทาไอน้ าแฟลชถ้าความดันของคอนเดนเสทนั้นยังสู งกว่าบรรยากาศ
มาก

รู ปที่ 2.3-1 แผนผังระบบไอน้ า

หน้า 64 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.3.1 กับดักไอนา้
กับดักไอน้ า (Steam Trap) คือ วาล์วอัตโนมัติที่ทาหน้าที่แยกน้ าที่ 2
เกิดขึ้นในระบบไอน้ าหรื อเกิดจากการควบแน่นของไอน้ าออกไปจากระบบ
1
เพื่ อป้ องกัน การอั้นตัวของน้า (Water Locked) ส่ งผลให้อุป กรณ์ ไม่ ร้อ น
(ร้อนช้า) หรื อทาอุณหภูมิไม่ได้และอาจนาไปสู่ การเกิดแรงกระแทกอย่าง
รุ น แรง หรื อ ปรากฏการณ์ “ค้ อ นน้ า ” (Water Hammer) ซึ่ งมี ผ ลให้ ท่ อ
ข้อต่อ และอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ าต่างๆ ในกระบวนการผลิตเกิดความเสี ยหาย
กับดักไอน้ ายังมีหน้าที่ในการระบายก๊าซและอากาศออกจากระบบโดยไม่
เกิดการสู ญเสี ยไอน้ า ก๊าซและอากาศเหล่านั้นสามารถแทนที่ไอน้ า ซึ่ งทาให้
ความสามารถในการพาความร้อนลดลงและยังกั้นไม่ให้ไอน้ าไปถึงพื้นผิว
ถ่ายเทความร้อนของอุปกรณ์ต่างๆ ในกระบวนการผลิตด้วย และในกรณี ที่
เลวร้ า ยที่ สุ ดก็ คื อ ท่ อ หรื อชิ้ น ส่ วนของอุ ป กรณ์ เกิ ด อากาศอั ด (Air
Locked) ทาให้อากาศเคลื่อนที่ไม่ได้ ซึ่ งแม้แต่ไอน้ าควบแน่นก็ไม่สามารถ
ออกไปได้

เราจะเห็นได้ชดั ว่า กับดักไอน้ าที่มีประสิ ทธิ ภาพเป็ นส่ วนสาคัญที่


สร้ า งความเชื่ อ มั่น ว่ า อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ไ อน้ าท างานได้อ ย่ า งมี ร ะสิ ท ธิ ภ าพ
อย่างไรก็ตาม กับดักไอน้ าที่ เสื่ อมสภาพลงจากการใช้งานก็สามารถสร้ าง
ปั ญหาให้กบั ระบบไอน้ าได้อย่างมากเช่นกัน

หน้า 65 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.3.1.1 ประเภทของกับดักไอนา้
2 กับดักไอน้ าสามารถแบ่งตามหลักการทางานหรื อตามโครงสร้าง
ทางกลไกของอุปกรณ์ภายในออกเป็ น 4 กลุ่ม ได้ดงั นี้

1) กับดักไอนา้ ทางานโดยความร้ อน (Thermostatic Trap)


กับดักไอน้ ากลุ่มนี้ ใช้ความแตกต่ างของอุณหภูมิของไอนา้ และของคอนเดน
เสทเป็ นตัว ท าให้ ว าล์ ว เปิ ดและปิ ด คอนเดนเสทจะต้อ งเย็น ลงต่ า กว่ า
อุณหภูมิไอน้ าก่อนที่จะถูกปล่อยออกจากกับดักไอน้ า ซึ่ งกับดักไอน้ ากลุ่มนี้
แบ่งออกเป็ น
• แบบสมดุลความดัน (Balanced Pressure Type)
• แบบใช้โลหะ 2 ชนิด (Bimetallic Type)
• แบบใช้การขยายตัวของเหลว (Liquid Expansion Type)

กับดักไอน้ าแบบสมดุลความดัน

กับดักไอน้ าแบบใช้โลหะ 2 ชนิด

หน้า 66 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2
1
กับดักไอน้ าแบบใช้การขยายตัวของเหลว
รู ปที่ 2.3-2 กับดักไอน้ าทางานโดยความร้อน
2) กับดักไอนา้ ทางานโดยกลไก (Mechanical Group)
กับ ดัก ไอน้ ากลุ่ ม นี้ ท างานโดยอาศัย ความแตกต่ า งของความหนาแน่ น
ระหว่ างไอน้าและคอนเดนเสททาให้ลูกลอย (Float) หรื อถ้วย (Bucket) ส่ ง
อาการไปเปิ ด-ปิ ดวาล์ว ซึ่ งกับดักไอน้ าในกลุ่มนี้ แบ่งออกเป็ น
•แบบลูกลอย (Loose Float Type)
•แบบลูกลอยมีกา้ น (Float and Lever Type)
•แบบถ้วยหงาย (Open Top Bucket Type)
•แบบถ้วยควา่ (Inverted Bucket Type)

แบบลูกลอย แบบลูกลอยมีกา้ น

แบบถ้วยหงาย แบบถ้วยควา่

รู ปที่ 2.3-3 กับดักไอน้ าทางานโดยกลไก

หน้า 67 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

3) กั บ ดั ก ไอน้ า กลุ่ ม ที่ ท างานด้ ว ยการเคลื่ อ นไหวเนื่ อ งจากความร้ อน


2 (Thermodynamic Groups)
กับ ดักไอน้ ากลุ่ม นี้ ท างานโดยอาศั ยความแตกต่ างของความเร็ วระหว่ าง
ไอน้าและคอนเดนเสทที่ ไหลผ่านตัววาล์วที่ เป็ นจานกลม ซึ่ งจะปิ ดเมื่ อ มี
ไอน้ าไหลเข้ามาด้วยความเร็ วสู ง และจะเปิ ดเมื่ อมี คอนเดนเสทไหลเข้ามา
ด้วยความเร็ วที่ ต่ ากว่า ซึ่ งกับ ดักไอน้ าในกลุ่ม นี้ เรี ยกว่า กับ ดักไอน้ าแบบ
เทอร์โมไดนามิกส์

รู ปที่ 2.3-4 กับไอดักน้ าทางานด้วยการเคลื่อนไหวเนื่องจากความร้อน

หน้า 68 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

4) กับดักไอนา้ ชนิดอื่นๆ (Miscellaneous Group)


กลุ่มนี้ ประกอบด้วยกับดักไอน้ าที่ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มใดๆ ข้างต้นได้ เช่น 2
Impulse Type, Labyrinth Type หรื อ Orifice Plate Type
1

Impulse Type Labyrinth Type

รู ปที่ 2.3-5 กับดักไอน้ าทางานด้วยระบบอื่นๆ

หน้า 69 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

สาหรับกับดักไอน้ าแต่ละประเภทมีขอ้ ดีและข้อเสี ยสรุ ปได้ดงั ตารางท่อส่ ง


2 นี้ตารางที่ 2.3-1

ตารางที่ 2.3-1 ข้อดีและข้อเสี ยของกับดักไอน้ าแต่ละประเภท


แบบ ข้ อดี ข้ อเสีย
้ว ำ •การทางานแม่นยา •รู ปร่ างและขนาดใหญ่
•ไอน้ าไม่รั่วไหลเนื่องจากมี Water Seal •การระบายอากาศทิ้งไม่ดี
้ว ควำ •การระบายอากาศทิ้งดี •การติดตั้งไม่สะดวก
กับดักไอนา้ แบบเมคคานิกส์

•ประสิทธิภาพการระบายน้ าคอนเดนเสท
ไม่ดี
ลู ลอ ติดคำน •เหมาะสมกับความดันต่าและภาระต่า •ไม่ทนต่อ Water Hammer
•โครงสร้างง่าย •จาเป็ นต้องติดตั้งในแนวระนาบจึงมี
•ปล่อยทิ้งอย่างต่อเนื่องและการทางาน ข้อจากัดด้านสถานที่ติดตั้ง
เงียบ
•เปลี่ยนลูกลอยและบ่าลิน้ ได้ง่าย
ลล •สามารถปรับตั้งและควบคุมอุณหภูมิน้ า •ไม่ทนต่อ Water Hammer
กับดักไอนา้ แบบเทอร์ โมสแตติกส์

ระบายได้ •ไม่เหมาะสมกับความดันสูง
•การระบายอากาศทิ้งดี

ม ัล •ไม่มีปัญหาลิ้นปิ ดตาย •ผลต่างอุณหภูมิสาหรับเปิ ดปิ ดลิ้นสูง


•การระบายอากาศทิ้งดี •คุณสมบัติของไบเมทัลเปลี่ยนแปลงไป
ในขณะใช้งาน

ออริ ิ •ขนาดเล็ก น้ าหนักเบา •ไอน้ ารั่วไหลมาก


กับดักไอนา้ แบบเทอร์ โม

•เหมาะกับความดันสูง อุณหภูมิสูง •มีขีดจากัดความดันย้อนกลับ (30%)


จำน
ไดนามิกส์

•ขนาดเล็ก น้ าหนักเบา •ต้องมีผลต่างความดันทางานอย่างต่าสุด


•โครงสร้างง่าย 0.3 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
•สามารถใช้กบั ไอดงได้ •มีขีดจากัดของความดันย้อนกลับ (30%)
•ทนต่อ Water Hammer ได้

หน้า 70 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.3-2 การเปรี ยบเทียบคุณสมบัติของกับดักไอน้ าแบบต่าง ๆ


ชนิดของกับดักไอนา้ 2
การทางาน เทอร์ โม มดล 1
ลูกลอ ้ว ควา่ โลหะคู่
ไดนามิก ์ ความดัน
ช่ วงความดัน (Barg) 0.68-41.36 0-20.68 0.68-186.16 0-41.36 0-206.84
กาลังความ ูง ด (kg/hr) 2358.68 45,359.23 907.18 6,123.49 3,538.02
อ ห ูมคิ อนเดนเ ททีร่ ะบา ออก ต่ากว่าจุดอิ่มตัว จุดอิ่มตัว จุดอิ่มตัว ต่ากว่า ขึ้นกับการปรับ
ลัก ะการระบา คอนเดนเ ท เปิ ด/ปิ ด ต่อเนื่อง เปิ ด/ปิ ด กึ่งต่อเนื่อง กึ่งต่อเนื่อง
การระบา แก๊ ดี ดีมาก พอใช้ ดีมาก ดีมาก
การกา ดั ่ น ง พอใช้ ดี ดี พอใช้ ดี
ความเหมาะ มกับไอดง ดีมาก ไม่ดี พอใช้ พอใช้ ดีมาก
ความทนต่อค้อนนา้ (water
ดีมาก พอใช้ ดีมาก พอใช้ ดีมาก
hammer)
งานที่โหลดมีการเ ลี่ นแ ลง ดี ดีมาก ดี ดี พอใช้
งานที่ความดันมีการ
ดี ดีมาก พอใช้ พอใช้ พอใช้
เ ลี่ นแ ลง
าพเมือ่ เกิดการขัดข้อง เปิ ด ปิ ด เปิ ด ไม่แน่นอน เปิ ด

หน้า 71 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.3.1.2 การเลือกใช้ กบั ดักไอนา้


2 กับดักไอน้ ามี หลายประเภท ดังนั้น จึงจาเป็ นต้องเลือกใช้งานให้
เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และลักษณะงานต่างๆ โดยทัว่ ไป
ข้ อพิจารณาและหลักเกณฑ์ ในการเลือกกับดักไอนา้ ให้ เหมาะสมกับการใช้ งาน
1) ข้ อพิจารณาในการเลือกกับดักไอนา้ ให้ เหมาะสม
1. ความดันไอน้ า
2. อุณหภูมิไอน้ า
3. ปริ มาณน้ าคอนเดนเสทที่เกิดขึ้น
4. เงื่อนไขในการติดตั้ง
2) หลักเกณฑ์ ง่ายๆ ในการเลือกใช้ กบั ดักไอนา้
1. ใช้กบั ดักไอน้ าแบบจานกับท่อไอน้ าหลัก ท่อย่อย ถังรองรับ และเฮดเดอร์ หรื อ
บริ เวณที่อาจจะเกิดการกระแทกของน้ า (Water Hammer)
2. ใช้กบั ดักไอน้ าแบบลูกลอยอิสระ ถ้วยกลมอิสระ ถ้วยกลมติดคานและแบบถ้วยคว่า
กับเครื่ องให้ความร้อนด้วยไอน้ า เครื่ องระเหย เครื่ องกลัน่ เครื่ องอบแห้ง
3. ในกรณี ที่ปริ มาณการใช้ไอน้ าสู งควรใช้กบั ดักไอน้ าแบบถ้วยกลมอิสระและแบบถ้วย
คว่าติดคานหากเป็ นกรณี ที่ปริ มาณน้อยควรใช้แบบลูกลอยอิสระ ลูกลอยติดคานและ
แบบถ้วยควา่ อิสระ
4. ถ้าการใช้ไอน้ าอาจจะเกิดการกระแทกของน้ า ไม่ควรใช้กบั ดักไอน้ าแบบถ้วยควา่ ติด
คานแบบลูกลอยติดคานและแบบลูกลอยอิสระ เพราะการกระแทกของน้ าจะทาให้คาน
และลูกลอยเสี ยรู ปทรงได้ ซึ่ งจะทาให้วาล์วปิ ดไม่สนิท
5. โดยทัว่ ไปแล้ว กับดักไอน้ าแบบเทอร์ โมไดนามิ กส์ ไม่เหมาะกับอุปกรณ์ ที่ใช้ไอน้ า
โดยเฉพาะถ้ามีการนาคอนเดนเสทกลับ กับดักไอน้ านี้ จะทาให้เกิดการสู ญเสี ยของไอน้ า
อย่างมาก

หน้า 72 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ข้ อพิจารณาและหลักเกณฑ์ ในการเลือกกับดักไอนา้ ให้ เหมาะสมกับการใช้ งาน (ต่ อ)


ตารางที่ 2.3-3 การเลือกใช้กบั ดักไอน้ า
2
การเลือกกับดัก
1
ไอน้ าในระบบ
ไอน้ าอิ่มตัว
(Saturated
Steam)

การเลือกกับดัก
ไอน้ าในระบบ
ไอดง
(Superheated
Steam)

3) การเลื อ กกับ ดั ก ไอน้ าในระบบไอน้ าอิ่ ม ตั ว (Saturated Steam) สามารถแบ่ ง ตาม


ลักษณะตาแหน่ งติดตั้งได้ 5 ประเภท
1. ถังบรรจุ (Storage Tanks) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
ก) ถังบรรจุที่ให้ความร้อนภายนอก กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิ ด Ball
float (FT) หรื อ กับ ดักไอน้ าชนิ ด ถ้วยคว่า Inverted Bucket (IB) และควรต่ อ Air vent
คร่ อมด้วย
ข) ถัง บรรจุ ที่ มี Coil อยู่ด้า นล่ า งถัง กับ ดัก ไอน้ าที่ เหมาะสม คื อ กับ ดัก ไอน้ าชนิ ด
Balanced Pressure (BP) หรื อ กับดักไอน้ าชนิด Bimetallic (SM)
2. ท่อประธานของไอน้ า (Steam Mains Drainage)
กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิด Thermodynamic (TD)

หน้า 73 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ข้ อพิจารณาและหลักเกณฑ์ ในการเลือกกับดักไอนา้ ให้ เหมาะสมกับการใช้ งาน (ต่ อ)


3. เครื่ อ งแลกเปลี่ ย นความร้ อ น( Heat Exchanger), หม้อ ต้ม (Jackets), ลมร้ อ น ( Air
2
Heaters), ถังเก็บไอน้ าแฟลช (Flash vessels), ลูกกลิ้ง (Rotating Cylinders)
กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิ ด Ball float (FT) หรื อกับดักไอน้ าชนิ ดถ้วย
ควา่ Inverted Bucket (IB) และควรต่อ Air vent คร่ อมด้วย
4. ระบบอุ่นอุณหภูมิในท่อ (Tracers and Jacketed pipe) แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
ก) เครื่ องมือวัด (Instrument) กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิด Balanced
Pressure (BP) หรื อ กับดักไอน้ าชนิด Thermodynamic (TD)
ข) ระบบป้องกันน้ าแข็งตัว(Frost Protection) กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ า
ชนิด Balanced Pressure (BP) หรื อ กับดักไอน้ าชนิด Bimetallic (SM)
ค) ระบบฉุกเฉิ น (Critical) กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิด
Thermodynamic (TD) หรื อ กับดักไอน้ าชนิด Balanced Pressure (BP)
5. ระบบให้ความร้อนสัมผัส แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท
ก) ชุด Coil ที่เป็ นท่อ กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ ชนิด Balanced Pressure (BP) หรื อ
ชนิด Ball float (FT)
ข) เครื่ องกระจายความร้อน (Radiators) กับดักไอน้ าที่เหมาะสมคือกับดักไอน้ าชนิด
กับดักไอน้ าชนิด Balanced Pressure (BP)
ค) เครื่ องปรับอากาศ (AHU), ชุดให้ความร้อน (Unit Heaters) , ชุดวัดความร้อน
(Calorifiers) กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิ ดกับดักไอน้ าชนิด กับดักไอน้ า
ชนิ ด Ball float (FT) หรื อ กับดักไอน้ าชนิ ด ถ้วยคว่า Inverted Bucket (IB)และควรต่ อ
Air vent คร่ อมด้วย
ง) ชุดเปล่งรังสี (Radiant Panels) กับดักไอน้ าชนิดกับดักไอน้ าชนิด กับดักไอน้ าชนิด
Ball float (FT) หรื อ กับดักไอน้ าชนิด Balanced Pressure (BP)

หน้า 74 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ข้ อพิจารณาและหลักเกณฑ์ ในการเลือกกับดักไอนา้ ให้ เหมาะสมกับการใช้ งาน (ต่ อ)


4) การเลื อกกับดักไอน้ าในระบบไอน้ าไอดง (Superheated Steam) สามารถแบ่ งตาม
2
ลักษณะตาแหน่งติดตั้งได้ 2 ประเภท
1. เครื่ อ งแลกเปลี่ ย นความร้ อ น( Heat Exchanger), หม้อ ต้ม (Jackets), ลมร้ อ น ( Air 1
Heaters), ถังเก็บไอน้ าแฟลช (Flash vessels) , ลูกกลิ้ง (Rotating Cylinders)
กับดักไอน้ าที่เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิ ด Ball float (FT) หรื อ กับดักไอน้ าชนิ ดถ้วย
ควา่ Inverted Bucket (IB) และควรต่อ Air vent คร่ อมด้วย
2. ท่อประธานของไอน้ า (Steam Mains)
กับดักไอน้ าที่ เหมาะสม คือ กับดักไอน้ าชนิ ดThermodynamic (TD) หรื อ กับดักไอน้ า
ชนิด Bimetallic (SM)

2.3.1.3 ข้ อแนะนาในการติดตั้งกับดักไอนา้
การเลื อกกับดักไอน้ าในชนิ ดและขนาดที่ เหมาะสมแล้ว แต่การ
ติ ดตั้งไม่ ถูกต้อ งก็จะท าให้เกิ ดปั ญ หาในระบบไอน้ าหรื อเกิ ดการสู ญ เสี ย
พลังงานเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นควรตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้องดังตารางที่
2.3-4

ตารางที่ 2.3-4 ข้อแนะนาในการติดตั้งกับดักไอน้ า


ผิด ถูก คาแนะนา
ติดตั้งกับดักไอน้ าให้ถูกต้องตาม
ทิศทางการไหล

หน้า 75 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ผิด ถูก คาแนะนา

2 กับดักไอน้ าแบบลูกลอยอิสระต้อง
ติดตั้งในแนวนอน

กั บ ดั ก ไ อ น้ า แ บ บ เท อ ร์ โ ม
ไดนามิ ก ส์ ไ ม่ มี ข ้ อ จ ากั ด ในการ
ติดตั้ง
ไม่ควรใช้ท่อเล็กกว่าขนาดของกับ
ดักไอน้ า

ติ ด ตั้ง กับ ดัก ไอน้ าให้ถู ก ต้อ งตาม


ทิศทางการไหล

ไม่ควรติดตั้งกับดักไอน้ าสู งกว่าจุด


ที่ระบายน้ าออก ทางเข้าของกับดัก
ไอน้ าควรอยู่ในระดับ ที่ ค อนเดน
เสทสามารถไหลเข้ามาได้ดว้ ยแรง
โน้มถ่วง

หน้า 76 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ผิด ถูก คาแนะนา


ถ้ากับดักไอน้ าต้องติดตั้งในระดับ
2
ที่ สูงกว่าจุดระบายน้ าออก ควรใช้
Lift fitting
Lift Fitting 1
ขนาดของท่ อ ร่ ว มที่ จ ะน าน้ ากลับ
ควรมีขนาดใหญ่กว่าขนาดของกับ
ดัก ไอน้ า และพื้ น ที่ ห น้ า ตัด ต้อ ง
มากกว่ าพื้ น ที่ ห น้ าตัด ของกับ ดัก
ไอน้ าทั้งหมดรวมกัน
คอนเดนเสทที่ มีความดันแตกต่ าง
กัน ไม่ ค วรน าไปรวมในท่ อ ร่ ว ม
เดียวกัน
ท่อทางออกไม่ควรจุ่มอยูใ่ นน้ าและ
ควรมีรูเล็กๆ เพื่อไม่ให้เกิ ดการดู ด
กลับ
อุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะอย่ า งควรมี กับ ดัก
ไอน้ าแยกกัน ไม่ ค วรติ ด ตั้งกับ ดัก
ไอน้ าตัว เดี ย วกับ อุ ป กรณ์ ห ลายๆ
อย่าง เพราะจะทางานได้ไม่ดี
การใช้กบั ดักไอน้ าซ้อนกัน 2 ตัวจะ
ทางานได้ไม่ดี ใช้ตวั เดียวก็พอ

กั บ ดั ก ไอน้ าต้ อ งติ ด ตั้ งไว้ด้ า น


ทางเข้าเพื่อเอาน้ าคอนเดนเสทออก
ก่ อ น ที่ จ ะ เข้ า ว า ล์ ว ค ว บ คุ ม
(Regulating Valve)

หน้า 77 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ผิด ถูก คาแนะนา


ทางออกของกับดักไอน้ าไม่ควรต่อ
2
ที่ดา้ นล่างของท่อร่ วม

ท่ อร่ วมไม่ ค วรมี ส่ วน ที่ ยกขึ้ น


Collector Collector

เพราะจะท าให้ มี ค วามดัน เกิ ด ขึ้ น


เนื่ องจากความสู งของน้ าคอนเดน
เส ท ซึ่ งจะท าให้ เกิ ด ค วาม ดั น
ย้อนกลับ (Back Pressure)

2.1.3.4 ตาแหน่ งใดบ้ างทีม่ ักเกิดการควบแน่ นของไอนา้ ในระบบ


1) บริ เวณท่อประธานในการจ่ายไอน้ า
2) บริ เวณเฮดเดอร์ ที่ทางออกจากหม้อไอน้ า
3) บริ เวณทางเข้าของลิ้นลดความดันและลิ้นอัตโนมัติ
4) บริ เวณทางเข้าของข้อต่อยืดหดตัว
5) บริ เวณโค้งงอของท่อ
6) บริ เวณต่าสุ ดของท่อยืน
7) บริ เวณทางเข้าของอุปกรณ์ใช้ไอน้ า

หน้า 78 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.3-5 ตาแหน่งที่ตอ้ งติดตั้งกับดักไอน้ าในระบบส่ งจ่ายไอน้ า


ตาแหน่ งติดตั้ง ลัก ะการติดตั้ง ตาแหน่ งติดตั้ง ลัก ะการติดตั้ง 2
บริ เวณท่อ บริ เวณเฮดเดอร์ จ่ายให้อปุ กรณ์ จากหม้อไอนา้ 1
ประธานในการ ที่ทางออกจาก

45
ท่อประธาน

จ่ายไอน้ า 45 หม้อไอน้ า
บริ เวณทางเข้า บริ เวณทางเข้า
ลิ้นอัตโนมัติ

ของลิ้นลดความ ของข้อต่อยืด
ดันและลิ้น หดตัว
อัตโนมัติ
บริ เวณโค้งงอ บริ เวณต่าสุ ด
ของท่อ ของท่อยืน

บริ เวณทางเข้า
ของอุปกรณ์ใช้
ไอน้ า จ่ายให้อปุ กรณ์

2.3.1.5 เดินท่ อกับดักไอนา้ อ ่ างไรให้ ง่า ต่ อการตรว อบและบารงรัก า


ในการเดิ น ท่ อ กับ ดัก ไอน้ าให้ง่ายต่ อ การตรวจสอบบ ารุ งรั กษา
และสามารถทาให้กบั ดักไอน้ าทางานได้เต็มประสิ ทธิ ภาพ มีวธิ ี การดังนี้

หน้า 79 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ท่ อทางเข้ า
- ติ ด ตั้ ง บริ เ วณต่ า สุ ดของอุ ป กรณ์ ใ ช้ ไ อน้ าแต่ ต้ อ งไม่ ใ ห้ เกิ ด การสะสมของ
2
คอนเดนเสท
- ต้องพยายามให้ท่อด้านทางเข้าสั้นที่สุดและลาดเอียงลง
- หลีกเลี่ยงการใช้ท่อยืนเป็ นท่อทางเข้า ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ให้ใช้ Lift fitting
ท่ อทางออก
- ต้องให้เกิดความดันย้อนกลับน้อยที่สุดโดยให้มีขนาดใหญ่ สั้น โค้งงอน้อย และ
เอียงขึ้นเล็กน้อย
- กรณี ที่เป็ นท่อเงยขึ้นให้แก้ไขโดยการติ ดตั้งวาล์วกันกลับที่ ด้านหลังของกับดัก
ไอน้ า
- ไม่ ค วรต่ อ ท่ อ ทางออกเข้ากับ บริ เวณที่ ต่ ากว่าระดับ น้ าในถัง และจุ่ ม ลงในท่ อ
ระบายน้ าที่ไม่สะอาด เพราะเมื่อกับดักไอน้ าหยุดทางานจะเกิ ดสู ญญากาศทาให้
เกิดการดูดน้ าเข้าในระบบ
ท่ อบา พา
- ต้องต่อท่อบายพาส เพื่อระบายน้ าและอากาศขณะเริ่ มส่ งไอน้ า และสะดวกต่อการ
บารุ งรักษาหรื อเปลี่ยนกับดักไอน้ า

2.3.1.6 การตรวจสอบกับดักไอนา้
เราควรดาเนิ นการตรวจสอบกับดักไอน้ าเป็ นประจาและอย่างเป็ น
ระบบ วิ ธี ก ารตรวจสอบกั บ ดั ก ไอน้ ามี อ ยู่ ด้ ว ยกั น หลายวิ ธี เช่ น การ
ตรวจสอบอุ ณ หภู มิ สู งที่ ท่ อ ทางเข้ า การติ ด ตั้ ง กระจกมองเห็ น ที่ ท่ อ
ทางออก หรื อการใช้ เครื่ องมื อ ตรวจสอบอุ ล ตร้ า โซนิ ค (Ultrasonic
Detector) ปั จจุบนั กับดักไอน้ าสามารถใช้ร่วมกับเครื่ องมือตรวจสอบทาให้
สามารถท าการตรวจสอบได้ง่าย ตามคู่มือที่ แนบมาหรื อระบบการตรวจ
ติดตามโดยฐานข้อมูลจากคอมพิวเตอร์

หน้า 80 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

การตรวจสอบกับดักไอนา้
1) รายการตรวจสอบกับดักไอนา้
2
1. มีช่วงที่กบั ดักไอน้ าเย็นตัวหรื อไม่
2. กับดักไอน้ าพ่นไอน้ าทิ้งอยูต่ ลอดเวลาหรื อไม่ 1
3. กับดักไอน้ าอุดตันหรื อไม่
4. วาล์ว by-pass ของกับดักไอน้ าเปิ ดทิ้งอยูห่ รื อไม่
5. การติดตั้งกับดักไอน้ าถูกต้องหรื อไม่ (ตาแหน่ง ทิศทาง มุม)
6. เลือกใช้ชนิดของกับดักไอน้ าเหมาะสมกับอุปกรณ์หรื อไม่
7. อุปกรณ์ให้ความร้อนด้วยไอน้ ามีปัญหาอุณหภูมิผดิ ปกติหรื ออุณหภูมิไม่สม่าเสมอ
หรื อไม่
8. กับดักไอน้ ามีน้ าท่วมอยูห่ รื อไม่
9. กับดักไอน้ าที่ติดตั้งอยูเ่ หมาะสมกับความดันหรื อไม่
10. ติด Sight Glasses Check เพื่อดูวา่ มีการรั่วหรื อไม่
11. ใช้ Ultrasonic ต้องอาศัยความชานาญและประสบการณ์สูง
กับดักไอน้ ามี รูเล็กๆและมี ส่วนเคลื่ อ นไหวหลายชิ้ น ถ้าไม่ มีการดู แลบ ารุ งรักษาเป็ น
ประจาจะเกิ ดการอุดตันบางส่ วนหรื ออุดตันทั้งหมดได้อย่างรวดเร็ วด้วยตะกรัน สนิ ม
และอื่ น ๆ เป็ นผลให้การปล่อ ยคอนเดนเสทออกได้ช้า ออกน้อยหรื อไม่ ออกเลย เกิ ด
อาการที่เรี ยกว่า “น้ าขัง” ในเครื่ องอุปกรณ์การผลิตทาให้ผลิตช้าลง ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ
ตามต้องการ แต่ถา้ ตะกรันสนิมไปขัดส่ วนเคลื่อนไหวทาให้เปิ ดค้างตลอดเวลา จะเกิดไอ
น้ ารั่ว สิ้ นเปลืองไอน้ ามาก กระบวนการผลิตไม่เป็ นไปตามที่ตอ้ งการ ดังนั้น กับดักไอน้ า
ทุกตัวในโรงงานจึ งควรได้รับการตรวจสอบและบารุ งรักษาแก้ไขให้ทางานเป็ นปกติ
อย่างน้อย 3 เดือนครั้ง

หน้า 81 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

การตรวจสอบกับดักไอนา้ (ต่ อ)
2) สาเหตุทที่ าให้ อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ไอนา้ ทางานไม่ ดี
2
1. คุณภาพไอน้ าไม่ดี (ไอเปี ยก, ความดันไอน้ าต่ากว่าพิกดั , ใช้สารเคมีปรุ งแต่งน้ าเลี้ยง
เข้าหม้อไอน้ าไม่ถูกต้อง)
2. ระบบไอน้ าทางานไม่ดี (น้ าขังในเครื่ องอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ า, มีการกัดกร่ อน, รั่ว,
สัน่ สะเทือน)
3. ใช้กบั ดักไอน้ าไม่ถูกต้องกับงาน
4. ติดตั้งกับดักไอน้ าไม่ถูกต้อง (คอนเดนเสทไม่สามารถหาทางไหลออกไปยังกับดัก
ไอน้ าได้, ไม่อยูท่ ี่จุดต่าสุ ดในระบบ, มีขนาดไม่ถูกต้องกับอัตราการไหลของไอน้ า/คอน
เดนเสท)
ก) ขนาดเล็กไป (Under Size) ปล่อยคอนเดนเสทได้นอ้ ยกว่าคอนเดนเสทที่
เกิดขึ้น เกิดอาการ “น้ าขัง”
ข) ขนาดใหญ่ไป (Oversize) ปล่อยคอนเดนเสทได้มากกว่าที่เกิดทาให้มีการเปิ ด-
ปิ ดถี่มาก วาล์วและบ่าวาล์วสึ กหรอเร็ว และเกิดการรั่วของไอน้ าขึ้นได้
5. สิ่ งสกปรก และหรื อค้อนน้ า จะทาให้กบั ดักไอน้ าไม่ทางาน/ชารุ ด
6. มีอากาศในไอน้ า

1) การตรว อบกับดักไอนา้ ทาอ ่างไร


เมื่ อมี การติ ดตั้งใช้งานกับ ดักไอน้ าระยะหนึ่ งแล้ว ควรจะมี การ
ตรวจสอบการท างานเพื่ อให้การใช้งานมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ซึ่ งหากเกิ ด การ
ช ารุ ด ของอุ ป กรณ์ ภ ายในกับ ดัก ไอน้ าก็ อ าจจะส่ ง ผลให้ เกิ ด การสู ญ เสี ย
ไอน้ าในระบบหรื อ ส่ ง ผลเสี ย ให้ กับ อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ไ อน้ าได้ โดยวิ ธี ก าร
ตรวจสอบสามารถตรวจสอบได้หลายวิธี และแต่ละวิธีก็จะให้ผลที่มีความ
แม่นยาต่างกัน ทั้งนี้แนวทางการตรวจสอบแยกได้ดงั นี้

หน้า 82 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

1. การใช้น้ าราดที่ตวั กับดักไอน้ า ซึ่ งใช้ได้กบั กับดักไอน้ าชนิดเทอร์ โม


ไดนามิกส์แบบมีจาน โดยเมื่อราดน้ าบริ เวณด้านบนของกับดักจะทา 2
ให้กบั ดักไอน้ าทางาน
1
2. การใช้เครื่ องวัดอุณหภูมิตรวจสอบกับดักไอน้ า อุณหภูมิดา้ นเข้าและออก
ของกับดักไอน้ าไม่แตกต่างกันแสดงว่ากับดักไอน้ าทางานตลอดเวลา
หรื อรั่ว ซึ่ งการตรวจสอบต้องทราบพฤติกรรมการทางานเดิมของกับดัก
ไอน้ า
3. การตรวจสอบจังหวะการระบายน้ าคอนเดนเสทของกับดักไอน้ าใช้
ตรวจสอบกับดักไอน้ าชนิดที่รับโหลดค่อนข้างคงที่ แต่จะต้องทราบ
พฤติกรรมการทางานเดิม
4. การใช้เครื่ องอัลตราโซนิกส์ตรวจสอบกับดักไอน้ า โดยความแม่นยาจะ
ขึ้นอยูก่ บั คุณภาพของเครื่ องมือที่ใช้งาน
5. การใช้เครื่ องทดสอบตรวจวัดกับดักไอน้ า เครื่ องมือที่ใช้มีราคาสู งแต่จะ
ให้ผลการตรวจสอบที่แม่นยาหรื อไม่ข้ ึนอยูก่ บั ความชานาญของ
เจ้าหน้าที่ตรวจวัด

2.3.1.7 การสู ญเสี ยไอนา้ จากการรั่วของกับดักไอนา้


กับดักไอน้ าบางชนิ ดเมื่อใช้ไประยะเวลาหนึ่ งอาจเกิดการรั่วไหล
ของไอน้ าออกไปทางท่ อ คอนเดนเสทได้ซ่ ึ งปั ญ หาดังกล่ าวอาจเกิ ด จาก
คุณภาพของกับดักไอน้ า การใช้กบั ดักไอน้ าผิดประเภทการสึ กหรอภายใน
ท่อไอน้ าหรื อการเสื่ อมอายุของกับดักไอน้ า ดังนั้นเมื่อตรวจพบการรั่วไหล
ควรแก้ไขที่ตน้ เหตุและทาการซ่ อมหรื อเปลี่ยนกับดักไอน้ าทันทีเพื่อลดการ
สู ญ เสี ยความร้ อ น กับ ดัก ไอน้ าแต่ ละชนิ ดและแต่ ล ะขนาดมี ข นาดรู รั่วที่
แตกต่างกัน ดังนั้นผูป้ ระเมิ นควรหาขนาดรู รั่วจากผูจ้ าหน่ ายกับดักไอน้ า

หน้า 83 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

นั้นๆ เพื่อจะสามารถประเมิ นค่าได้ถูกต้อง เช่ น Spirax Sarco ได้ให้ขอ้ มูล


2 ขนาดรู รั่วของกับดักไอน้ าดังนี้
ขนาดของรู ขนาดของรู
Size : DN 15-DN 25 Size : DN 15-DN 25
(mm) (mm)
แบบเทอร์โทไดนามิกส์ 4.0 แบบถ้วยควา่ 2.5
แบบเทอร์โมสแตติก 4.5 แบบโลหะ 2.5
แบบลูกลอย 3.0

1) การหาปริ มาณไอน้ ารั่ว


mL = (A/3.24) x P
เมื่อ mL = อัตราไอน้ าที่รั่ว (kg/L)
A = พื้นที่หน้าตัดของรู (mm2)
P = ความดันเกจ + ความดันบรรยากาศ (barg)

หน้า 84 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-11


โรงงานแห่ งหนึ่ งมีการติดตั้งกับดักไอน้ าแบบลูกลอยขนาด 25 mm. จานวน 80 ชุด และ
2
แบบเทอร์ โมไดนามิ กส์ ขนาด 25 mm. จานวน 20 ชุ ด จากการตรวจสอบพบว่ากับดัก
ไอน้ าแบบลู ก ลอยและแบบเทอร์ โ มไดนามิ ก ส์ มี ก ารรั่ ว จ านวน 30 ชุ ด และ 10 ชุ ด 1
ตามลาดับความดันไอน้ าที่ใช้ 7 barg และ temperature control valve ที่ควบคุมไอน้ าให้
เข้าอุปกรณ์ต่างๆทา งานเฉลี่ย 30% (จากการจับเวลาเปิ ด–ปิ ดวาล์ว) โดยอุปกรณ์ใช้ไอน้ า
มีการใช้งานวันละ 16 ชั่วโมงและอัตราส่ วนการผลิ ตไอน้ าต่ อเชื้ อเพลิ ง 14:1 หาว่าจะ
สิ้ นเปลืองเชื้ อเพลิงปี ละเท่าใดต้องการติดตั้งท่อส่ งไอน้ าขนาดอัตราการไหลของไอน้ า
3,000 kg/h ความดันไอน้ า 7 barg และความเร็ วของไอน้ า 25 m/s จงหาว่าจะต้องใช้ท่อ
ไอน้ าขนาดเท่าใด
วิธีคำนวณ
จากตารางพบว่ากับดักไอน้ าแบบเทอร์โมไดนามิกส์มีรูขนาด 4 mm. และแบบลูกลอยมีรู
ขนาดเท่ากับ 3 mm.
ปริ มาณไอน้ าที่รั่ว mL = (A/3.24) x P
= [(12.56/3.24)x(7+1.013)]x30+[(7.07/3.24)x(7+1.013))]x20
= 931.88 + 349.70 = 1,281.58 kg/h
แต่ปริ มาณไอน้ าที่ไหลเข้าอุปกรณ์ใช้ไอน้ าจะถูกควบคุมโดย Temperature control valve
ซึ่ งจากการจับเวลาการเปิ ดและปิ ดพบว่ามีการเปิ ดโดยเฉลี่ยของกับดักไอน้ าที่รั่วทั้งหมด
30% ดังนั้นอัตราการรั่วของไอน้ าจะประมาณ
= 1,281.58 x 0.3 = 384.47 kg/h
= 384.47 x 312 x 16 = 1,919,274.24 kg/y
คิดเป็ นอัตราการสิ้ นเปลืองเชื้อเพลิง = 1,919,274.24 / 14 = 137,091.02 L/y

หน้า 85 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.4 การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพระบบคอนเดนเสท


2 ไอน้ าเป็ นพลังงานที่ มี ป ระโยชน์ อย่างยิ่ง อย่างไรก็ตามปริ มาณ
ความร้อนที่มีอยูใ่ นไอน้ าที่อุปกรณ์ไอน้ าทัว่ ไปนามาใช้งานจะมีเพียงความ
ร้อนแฝงของการควบแน่ นเท่านั้น ส่ วนความร้อนสัมผัส คือ ความร้อนที่ มี
อยูใ่ นน้ าควบแน่นมักจะถูกปล่อยทิ้งไปในบรรยากาศ
หากเราสามารถนาความร้อนในน้ าควบแน่นกลับมาใช้ประโยชน์
ได้ท้ ัง หมดแล้ว อั ต ราส่ วนของความร้ อ นที่ น ากลั บ มาใช้ ต่ อ ความร้ อ น
ทั้งหมดในไอน้าอาจจะมีค่าสู งถึง 20-30% นอกจากนั้นยิ่งความดันสู งขึ้ น
เท่าใดอัตราส่ วนนี้ ยงิ่ สู งขึ้นเท่านั้น อีกทั้งน้ าคอนเดนเสทสะอาดกว่าน้ าป้ อน
ดังนั้นจะส่ งผลให้สามารถลดการสู ญ เสี ยน้ าและความร้ อนจากการโบลว์
ดาวน์ได้ ดังนั้นจึงต้องพยายามเท่าที่จะทาได้ที่จะไม่ปล่อยน้ าควบแน่ นทิ้ง
ไปในบรรยากาศ

2.4.1 การใช้ คอนเดนเสท


น้ าควบแน่ น (คอนเดนเสท) ถื อเป็ นน้ าที่ ส ะอาดมาก ถ้าไม่ มีสิ่ ง
ปลอมปนเกิ ด ขึ้ น ในระบบส่ งจ่ ายน้ า และยังมี พ ลังงานความร้ อ นที่ ม าก
ดังนั้นควรนากลับมาใช้เป็ นน้ าป้ อนหม้อไอน้ า จะสามารถลดต้นทุนน้ าป้อน
ลดอัตราการโบลว์ดาวน์และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า อย่างไรก็ตามต้อง
ระมัดระวังไม่ให้มีสิ่งปลอมปน เช่ น อากาศละลายในน้ า น้ ามันและสนิ ม
เหล็กต่างๆ หรื อของเหลวในกระบวนการผลิตเข้ามาปะปน เป็ นต้น กรณี ที่
ไม่ สามารถหลี กเลี่ ยงสิ่ งปลอมปนได้ ให้นากลับมาใช้แต่ความร้ อนอย่าง
เดียวโดยยอมที่จะไม่นาน้ ากลับมาใช้

หน้า 86 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2.4.1.1 ระโ ชน์ ากการนาคอนเดนเ ทไ ใช้ ระโ ชน์


น้ าที่ เปลี่ ย นสถานะจากไอน้ ามาเป็ นน้ าหรื อ คอนเดนเสทจะมี 2
พลังงานอยู่ ยิง่ อุณหภูมิและความดันสู งเท่าไรพลังงานในคอนเดนเสทก็จะ
1
ยิง่ สู งมากเท่านั้น ทั้งนี้เราจะสามารถตรวจสอบพลังงานที่มีในน้ าที่อุณหภูมิ
และความดัน ต่ า ง ๆ ได้ใ นตารางไอน้ าแต่ ใ นที่ น้ ี จะแสดงตัว อย่า งบาง
อุณหภูมิดงั ตารางที่ 2.4-1
ตารางที่ 2.4-1 ค่าพลังงานที่มีอยูใ่ นน้ าและไอน้ าอิ่มตัวที่ความดันเกจต่าง ๆ
ความดัน เอน าล ี เอน าล ี ของ ความดัน เอน าล ี เอน าล ี ของ
(barg) ของนา้ ; hf ไอ ม ; hfg (barg) ของนา้ ; hf ไอ ม ; hfg
(kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg) (kJ/kg)
0.25 444.32 2241.0 5.50 684.28 2076.0
0.50 467.11 2226.5 6.00 697.22 2066.3
0.75 486.99 2213.6 6.50 709.47 2057.0
1.00 504.70 2201.9 7.00 721.11 2048.0
1.25 520.72 2191.3 7.50 732.22 2039.4
1.50 535.37 2181.5 8.00 742.83 2031.1
1.75 548.89 2172.4 8.50 753.02 2023.1
2.00 561.47 2163.8 9.00 762.81 2015.3
2.25 573.25 2155.88 10.00 781.34 2000.4
2.50 584.33 2148.1 11.00 798.65 1986.2
2.75 594.81 2140.8 12.00 814.93 1972.7
3.00 604.74 2133.8 13.00 830.30 1959.7
3.50 623.25 2120.7 14.00 844.89 1947.3
4.00 640.23 2108.5 16.50 878.50 1917.9
4.50 655.93 2097.0 19.00 908.79 1890.7
5.00 670.56 2086.3 20.50 936.49 1865.2

หน้า 87 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

จากตารางจะเห็ นว่าหากเราสามารถนาน้ าคอนเดนเสทเหล่านั้นกลับไปใช้


2 งานหรื อนากลับไปเป็ นน้ าป้อนหม้อไอน้ าจะเกิดประโยชน์ดงั ต่อไปนี้
1) สามารถประหยัดเชื้อเพลิงที่จะใช้ในการผลิตไอน้ า
2) สามารถประหยัดน้ า เนื่ องจากปั จจุบนั หลายพื้นที่ ในประเทศได้มีการ
ยกเลิกการใช้น้ าบาดาล ดังนั้น น้ าจึ งเป็ นปั จจัยสาคัญที่ ส่งผลถึงต้นทุน
ในการผลิ ต หลายโรงงานหั น มาให้ ค วามสนใจในการลดการใช้น้ า
หากมี การพิจารณานาน้ าคอนเดนเสทกลับมาผสมเพื่อป้ อนหม้อไอน้ า
นอกจากจะช่วยลดการใช้น้ าแล้วยังช่วยลดกระบวนการปรั บสภาพน้ า
ลดการใช้เคมีในการปรับสภาพน้ า ลดการใช้ไฟฟ้าในปั๊ มน้ าและอื่น ๆ
3) สามารถผลิ ตไอน้ าได้เร็ วขึ้ น เช่ น หากต้องการต้มน้ าที่ อุณหภูมิ 30 oC
ให้เป็ นไอจะใช้เวลานานกว่าต้มน้ าที่อุณหภูมิ 80 oC

2.4.1.2 แนวทางในการนาคอนเดนเ ทกลับมาใช้


คอนเดนเสทเป็ นน้ าที่ สะอาดสามารถนามาใช้เป็ นน้ าป้ อนหม้อ
ไอน้ าได้ โดยถ้านาคอนเดนเสทกลับมาใช้มากจะท าให้อุณ หภู มิน้ าป้ อน
สู งขึ้ น ซึ่ งจะท าให้ห ม้อ ไอน้ าประหยัดเชื้ อ เพลิ งได้ม ากขึ้ น เท่ านั้น แต่ ก็มี
ข้อยกเว้นในบางกรณี ที่เราไม่ สามารถนาคอนเดนเสทกลับมาใช้กบั หม้อ
ไอน้ าได้โดยตรงและสามารถแก้ไขด้วยวิธีการดังต่อไปนี้
1) ระยะทางระหว่างจุดใช้งานกับหม้อไอน้ า ถ้าไกลมากจะเกิดการสู ญเสี ย
ความร้อนของคอนเดนเสทระหว่างทางส่ งกลับ ถึงแม้ท่อคอนเดนเสทจะมี
การหุ ม้ ฉนวนที่ดีแล้วก็ตาม หลายโรงงานไม่คุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ ในการ
ติดตั้งท่อคอนเดนเสทกลับ แต่บางโรงงานอาจเหมาะสมถึงแม้คอนเดนเสท
จะมีอุณหภูมิลดลงแล้วก็ตาม เนื่ องจากค่าใช้จ่ายในการปรับสภาพน้ าดิ บมี

หน้า 88 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ค่าสู ง แต่ท้ งั นี้ หากไม่สามารถนาน้ าคอนเดนเสทกลับก็อาจนาคอนเดนเสท


ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิตอย่างอื่น เช่น ใช้ในรู ปของน้ า 2
ร้อน
1
2) คอนเดนเสทถูกปนเปื้ อน แต่กส็ ามารถนาความร้อนกลับมาใช้ประโยชน์
ได้ โดยการน าความร้ อ นผ่านอุ ป กรณ์ แ ลกเปลี่ ย นความร้ อ น ซึ่ งจะต้อ ง
พิจารณาความคุม้ ค่าในการลงทุนติดตั้งอุปกรณ์ แลกเปลี่ยนความร้อนและ
ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการนาความร้อนกลับ

2.4.1.3 วิธีการนาคอนเดนเสทกลับมาใช้ แบ่ งเป็ นวิธีส่งกลับด้ วยความดัน


ของตัวเองและวิธีสูบด้ วยปั๊ม ดังนี้
1) วิธีส่งกลับด้วยความดัน ของตัวเอง จะใช้ Back Pressure ของคอนเดน
เสทส่ งกลับ ด้ ว ยท่ อ Recovery ไปยัง ถัง จ่ า ยน้ าเลี้ ยงหม้ อ ไอน้ า วิ ธี น้ ี มี
ประสิ ท ธิ ผ ลดี ใ นกรณี ที่ ค วามดัน ใช้ง านของอุ ป กรณ์ ไ อน้ าต่ า งๆ มี ค่ า
ค่อนข้างสู ง และระยะทางไปยังถังจ่ายน้ าเลี้ยงหม้อไอน้ ามีระยะทางไม่ไกล
มาก
2) วิ ธี ส่ ง กลับ ด้ว ยปั๊ ม ยัง แบ่ ง เป็ นแบบเปิ ดกับ แบบปิ ดโดยแบบเปิ ดจะ
รวบรวมคอนเดนเสทใส่ ถงั เปิ ด (Recovery Tank) ก่อน แล้วใช้ปั๊มสู บไปยัง
ถังจ่ายน้ าเลี้ยงหม้อไอน้ า อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากคอนเดนเสทมีอุณหภูมิสูง
จึงต้องระมัดระวังในการเลือกประเภทและกาหนดตาแหน่งของปั๊ ม ในกรณี
ของปั๊ ม ทั่วไป จะรองรั บ คอนเดนเสทที่ มี อุณ หภู มิสู งสุ ด ไม่ เกิน 70-80°C
เพื่ อ ป้ อ งกัน Cavitations ส่ ว นแบบปิ ดจะใช้ปั๊ ม ซึ่ งออกแบบมาส าหรั บ
Drain Recovery โดยเฉพาะ ปั๊ ม นี้ จะสามารถติ ดตั้งไว้กลางทางท่ อ Drain

หน้า 89 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

Recovery ได้และสู บอัดส่ งไปยังถังน้ าเลี้ ยงหม้อไอน้ า หรื อส่ งไปยังหม้อ


2 ไอน้ าโดยตรงก็ได้

การน าน้ าควบแน่ น กลั บ มาใช้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพจะต้ อ ง


ออกแบบท่ อ น ากลับ น้ าควบแน่ น อย่างเหมาะสม กล่ า วคื อ สมบัติ ข อง
ของเหลวภายในท่ อคอนเดนเสทเป็ นกระแสของไหลสองสถานะ ได้แก่
ไอน้ าแฟลชกับน้ าคอนเดนเสท ดังนั้นในการออกแบบท่อคอนเดนเสท โดย
ถือว่าเป็ นท่อน้ าอุ่นที่ มีแต่น้ าคอนเดนเสท ซึ่ งเกิ ดจากไอน้ าควบแน่ นเพียง
อย่างเดี ยว ในทางปฏิ บตั ิแล้วท่อจะมี ขนาดเล็กไป ทาให้ความเร็ วของของ
ไหลภายในท่ อ สู งเกิ น ไปมาก ความดั น สู ญเสี ยเพิ่ ม ขึ้ น ท าให้ Back
Pressure ของกั บ ดั ก ไอน้ าเพิ่ ม สู ง ขึ้น ส่ ง ผลท าให้ กับ ดัก ไอน้ ามี ค วามจุ
(Capacity) ไม่เพียงพอได้ช่วงความเร็ วของของไหลภายในท่ อที่เหมาะสม
จะเท่ ากับ 5-15 m/s นอกจากนี้ ไอน้ าแฟลชที่ เกิ ดขึ้ นในท่ อไม่ เพี ยงแต่จะ
ขัดขวางการไหลตามปกติ ข องน้ าคอนเดนเสทท่ านั้น แต่ ยงั ท าให้ กับ ดัก
ไอน้ ามีความสามารถในการระบายลดลงอีกด้วย จึงต้องพยายามเท่าที่จะทา
ได้ในการออกแบบท่อไม่ให้เกิดของไหลสองสถานะขึ้น

หน้า 90 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.4-2 ขนาดของท่อในการนาคอนเดนเสทกลับที่เหมาะสม


2
ขนาดท่ อ mm (inch) ปริมาณสู งสุ ด (kg/h) 1
15 (1/2) 160
20 (3/4) 370
25 (1) 700
32 (1-1/4) 1,500
40 (1-1/2) 2,300
50 (2) 4,500
65 (2-1/2) 9,000
80 (3) 14,000
100 (4) 29,000

ในบางกรณี การนาคอนเดนเสทกลับอาจเกิดปั ญหา เนื่ องจากเมื่อ


คอนเดนเสทที่ มีอุณหภูมิสูงมากถูกปั๊ มดูดจะเกิดโพรงอากาศ (Cavitation)
ขึ้นที่เครื่ องสู บซึ่ งอาจทาให้ปั๊มน้ าเกิดความเสี ยหาย ดังนั้นอาจใช้เครื่ องสู บ
ที่มีความดันด้านดูดเป็ นบวกหรื อเครื่ องสู บคอนเดนเสทโดยเฉพาะ หรื อทา
การเพิ่มระดับความสู งของถังน้ าป้ อนหรื อถังคอนเดนเสทให้มีความสู งจาก
เครื่ องสู บมากขึ้นโดยขึ้นอยูก่ บั อุณหภูมิของน้ าป้ อนหรื อคอนเดนเสท ดังรู ป
ที่ 2.4-1

หน้า 91 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ช่องระบายอากาศ
คอนเดนเสท

2 นา้ เติม

ถังนา้ ป้อน
หม้อไอนา้

88 oC ต้องการความสูง (H) 1.5 ม. ของเฮด


93 oC ต้องการความสูง (H) 3.0 ม. ของเฮด
H 99 oC ต้องการความสูง (H) 4.6 ม. ของเฮด
นา้ ป้อนหม้อไอนา้ 100o C ต้องการความสูง (H) 5.2 ม. ของเฮด

ปั ๊มนา้ ป้อนหม้อไอนา้

รู ที่ 2.4-1 ข้อควรระวังในการนาคอนเดนเสทกลับด้วยเครื่ องสู บที่อุณหภูมิสูง

2.4.1.4 การคานวณอุณหภูมนิ า้ หลังจากผสมกับคอนเดนเสท


1) วัดอุณหภูมิของน้ าที่ จะนาไปผสมกับคอนเดนเสท และอุณหภูมิคอน
เดนเสท โดยใช้เครื่ องมือวัดอุณหภูมิน้ าในตาแหน่ งที่ น้ าและคอนเดน
เสทก่อนเข้าผสม
2) ประเมินหรื อตรวจวัดสัดส่ วนระหว่างคอนเดนเสทต่อน้ าที่เข้าผสม
3) นาค่าอุณหภูมิน้ าที่ เข้าผสมและคอนเดนเสท รวมทั้งสัดส่ วนระหว่าง
คอนเดนเสทต่อน้ าไปเปิ ดตารางที่ 2.4-3 โดยขึ้นอยูก่ บั อุณหภูมิน้ าที่เข้า
ผสมกับคอนเดนเสทจะได้อุณหภูมิน้ าหลังจากผสมกับคอนเดนเสท

การหาอุ ณ หภู มิ น้ าป้ อ นหลังผสมกับ คอนเดนเสทและปริ ม าณ


พลังงานเชื้ อเพลิงที่ประหยัดได้จากการใช้คอนเดนเสทสามารถคานวณได้
จากการสมดุลมวลและพลังงาน

หน้า 92 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

o ,t
m CD 1

คอนเดนเสท 2
1
o
m , t2 o ,t
m
W F 3

นา้ เข้าผสม นา้ หลังผสม


นา้ ร้อน
(น้ำป้อนหม้อไอน้ำ)

สมดุลมวล mF = mCD + mW (2.5)


สมดุลความร้อน mFCp t3 = mCDCpt1 + mWCpt2 (2.6)
อุณหภูมิหลังจากผสม t3 = (mCDCpt1 + mWCpt2) / mFCp (2.7)
ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ประหยัด = mFCp(t3 - t2 ) / (LHV x B ) (2.8)

เมื่อ mCD = อัตราการไหลของน้ าคอนเดนเสท, kg/s


mF = อัตราการไหลของน้ าเข้าผสม, kg/s
mW = อัตราการไหลของน้ าหลังผสม (น้ าป้อนหม้อไอน้ า), kg/s
t1 = อุณหภูมิคอนเดนเสทที่เข้าผสม, °C
t2 = อุณหภูมิน้ าเข้าผสม, °C
t3 = อุณหภูมิน้ าหลังจากการผสมหรื ออุณหภูมิน้ าป้อนหม้อไอน้ า, °C
LHV = ค่าความร้อนต่าของเชื้อเพลิง, kJ/kg
B = ประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า
Cp = ค่าความจุความร้อนของน้ า, 4 .187 kJ/kg °C

หน้า 93 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.4-3 อุณหภูมิของน้ าหลังจากผสมกับคอนเดนเสท (t3; °C)


2 อุณหภูมนิ า้ ที่ อุณหภูมคิ อน อัตราส่ วนผสมระหว่าง (คอนเดนเสท : นา้ )
เข้ าผสม (oC) เดนเสท (oC) 10:90 20:80 30:70 40:60 50:50 60:40 70:30 80:20 90:10
25 60 28.5 32.0 35.5 39.0 42.5 46.0 49.5 53.0 56.5
70 29.5 34.0 38.5 43.0 47.5 52.0 56.5 61.0 65.5
80 30.5 36.0 41.5 47.0 52.5 58.0 63.5 69.0 74.5
90 31.5 38.0 44.5 51.0 57.5 64.0 70.5 77.0 83.5
100 32.5 40.0 47.5 55.0 62.5 70.0 77.5 85.0 92.5
110 33.5 42.0 50.5 59.0 67.5 76.0 84.5 93.0 101.5
30 60 33.0 36.0 39.0 42.0 45.0 48.0 51.0 54.0 57.0
70 34.0 38.0 42.0 46.0 50.0 54.0 58.0 62.0 66.0
80 35.0 40.0 45.0 50.0 55.0 60.0 65.0 70.0 75.0
90 36.0 42.0 48.0 54.0 60.0 66.0 72.0 78.0 84.0
100 37.0 44.0 51.0 58.0 65.0 72.0 79.0 86.0 93.0
110 38.0 46.0 54.0 62.0 70.0 78.0 86.0 94.0 102.0
35 60 37.5 40.0 42.5 45.0 47.5 50.0 52.5 55.0 57.5
70 38.5 42.0 45.5 49.0 52.5 56.0 59.5 63.0 66.5
80 39.5 44.0 48.5 53.0 57.5 62.0 66.5 71.0 75.5
90 40.5 46.0 51.5 57.0 62.5 68.0 73.5 79.0 84.5
100 41.5 48.0 54.5 61.0 67.5 74.0 80.5 87.0 93.5
110 42.5 50.0 57.5 65.0 72.5 80.0 87.5 95.0 102.5
40 60 42.0 44.0 46.0 48.0 50.0 52.0 54.0 56.0 58.0
70 43.0 46.0 49.0 52.0 55.0 58.0 61.0 64.0 67.0
80 44.0 48.0 52.0 56.0 60.0 64.0 68.0 72.0 76.0
90 45.0 50.0 55.0 60.0 65.0 70.0 75.0 80.0 85.0
100 46.0 52.0 58.0 64.0 70.0 76.0 82.0 88.0 94.0
110 47.0 54.0 61.0 68.0 75.0 82.0 89.0 96.0 103.0

หน้า 94 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-12


โรงงานมี ห ม้อ ไอน้ าใช้น้ ามันเตาซี 10 ตันไอน้ า ซึ่ งผลิ ตไอน้ าเพื่ อใช้งาน 33,600,000
2
kg/y มีการปล่อยคอนเดนเสททิ้งที่อุณหภูมิ 100oC และอุณหภูมิของน้ าป้ อนหม้อไอน้ า
เดิม 30oC โรงงานมีแนวความคิดที่จะนาคอนเดนเสทกลับมาผสมกับน้ าก่อนจ่ายให้กบั 1
หม้อไอน้ า โดยจะนากลับ 40% ของน้ าที่ป้อนเข้าหม้อไอน้ าเดิม ดังนั้นอัตราส่ วนผสม
ระหว่างคอนเดนเสทกับน้ าที่เข้าผสมจะเป็ น 40:60 จงหาว่าจะประหยัดเชื้อเพลิงเท่าใด
วิธีคำนวณ
จากตารางที่ 2.4-3 ที่อุณหภูมิน้ าป้ อน 30 oC อุณหภูมิคอนเดนเสท 100oC อัตราส่ วนผสม
ระหว่างคอนเดนเสทกับน้ าที่เข้าผสมจะเป็ น 40:60 ได้อุณหภูมิน้ าหลังผสมเท่ากับ 58 oC
ค่าความร้อนน้ ามันเตาเกรด C ประมาณ 38,170 kJ/L ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า 80 %
ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ประหยัด = mFCp(t3 - t2 ) / (LHV x B )
= 33,600,000 x 4.187 x (58-30) / (38,170 x 0.8)
= 128,999 L/yr

ตัวอย่ างที่ 2-13


จากตัวอย่างที่ 2-1 หากมีการติดตั้งระบบนากลับคอนเดนเสท ระบบสามารถนาคอนเดน
เสทกลับ มาได้ 6,000 kg/h ที่ อุ ณ หภู มิ 100°C นอกจากนี้ ยัง ติ ด ตั้ง เครื่ อ งอุ่ น น้ าป้ อ น
(Economizer) ซึ่ งสามารถนาความร้อนจากก๊าซไอเสี ยมาใช้เพิ่มอุณหภูมิน้ าป้ อนได้อีก
30°C จงคานวณพลังงานที่ประหยัดได้
ระบบผลิตไอน้ าได้ = 10,000 kg/h
ปริ มาณน้ าป้อน = 10,600 kg/h (รวมโบลว์ดาวน์ 6%)
เก็บคืนคอนเดนเสท = 6,000 kg/h ที่ 100°C (60%)
ต้องเติมน้ า = 10,600 – 6,000 = 4,600 kg/h ที่ 25°C (Make up)
อุณหภูมิน้ าป้อน = [(6,000 x 100) + (4,600 x 25)] / 10,600 = 67.5 °C

หน้า 95 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-13 (ต่ อ)


2 จากตัวอย่างที่ 2-1 หากมีการติดตั้งระบบนากลับคอนเดนเสท ระบบสามารถนาคอนเดน
เสทกลับ มาได้ 6,000 kg/h ที่ อุ ณ หภู มิ 100°C นอกจากนี้ ยัง ติ ด ตั้ง เครื่ อ งอุ่ น น้ าป้ อ น
(Economizer) ซึ่ งสามารถนาความร้อนจากก๊าซไอเสี ยมาใช้เพิ่มอุณหภูมิน้ าป้ อนได้อีก
30°C จงคานวณพลังงานที่ประหยัดได้
ในกรณี ที่ใช้ตาราง 2.4-3ได้ดงั นี้
ค่าอัตราส่ วนของ คอนเดนเสท : น้ าเติม = (6,000 / 10,600) : (4,600 / 10,600)
= 56.6 : 43.4
ที่อุณหภูมิน้ าเติม 25°C และคอนเดนเสท 100°C จะได้อุณหภูมิน้ าป้อน= 66.8 °C
เมื่ อ น้ าป้ อ นผ่านเครื่ อ งอุ่ น น้ าป้ อ น (Economizer) อุ ณ หภู มิ น้ าเพิ่ ม ได้อี ก 30°C ดัง นั้น
อุณหภูมิน้ าป้อนเท่ากับ 67.5 + 30 = 97.5°C
จากตารางไอน้ า น้ าป้อนที่อุณหภูมิ 97.5°C มีพลังงานความร้อน = 408.5 kJ/kg
ความร้อนที่ใช้ในการผลิตไอน้ า = 10,600 x (781 – 408.5) + 10,000 x (2,782 – 781)
= 23,958,500 kJ/h
ความร้อนที่ใช้ผลิตไอน้ าลดลง = 27,124,800 - 23,958,500 kJ/h
SAVING = 3,166,300 kJ/h
จากตัวอย่างที่ 2-1 ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ าเท่ากับ 84.9%
พลังงานจากการใช้เชื้อเพลิงลดลง = 3,166,300 / 0.849
= 3,729,446 kJ/h
หรื อ = 3,729,446 x 6,000 / 1,000 MJ/y
= 22,376,676 MJ/y
คิดเป็ นปริ มาณน้ ามันที่ลดลงต่อปี = 22,376,676 / 40 L/y
= 559,417 L/y
ค่าน้ ามันต่อปี = (4,800,000 – 559,417) x 14
= 59,368,162 B/y

หน้า 96 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-13 (ต่ อ)


จากตัวอย่างที่ 2-1 หากมีการติดตั้งระบบนากลับคอนเดนเสท ระบบสามารถนาคอนเดน 2
เสทกลับ มาได้ 6,000 kg/h ที่ อุ ณ หภู มิ 100°C นอกจากนี้ ยัง ติ ด ตั้ง เครื่ อ งอุ่ น น้ าป้ อ น
1
(Economizer) ซึ่ งสามารถนาความร้อนจากก๊าซไอเสี ยมาใช้เพิ่มอุณหภูมิน้ าป้ อนได้อีก
30°C จงคานวณพลังงานที่ประหยัดได้
ราคาไอน้ าต่อตัน (เมื่อมีการนาคอนเดนเสทกลับมา)
= 59,368,162 / (10 x 6,000)
= 989.5 B/t
ราคาไอน้ าต่อตัน (เดิมเมื่อไม่มีการนากลับคอนเดนเสท) = 1,120 B/t

จากตัวอย่างนี้ จะเห็ น ได้ว่า ประโยชน์ จากการน าคอนเดนเสท


กลับมาใช้ นอกเหนื อจากการลดค่าใช้จ่ายด้านเชื้ อเพลิงแล้ว ยังสามารถลด
ค่าใช้จ่ายของน้ าประปาที่จะต้องป้ อนให้กบั หม้อไอน้ าในปริ มาณเท่าๆ กับ
คอนเดนเสทที่ น ากลับ มาใช้ป ระโยชน์ ไ ด้ รวมถึ งยัง สามารถลดค่ าการ
ปรับปรุ งสภาพน้ าให้เหมาะสมอีกด้วย

2.4.2 การนาไอนา้ แฟลชกลับมาใช้


ไอน้ าแฟลชเป็ นไอน้ าที่ สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ได้
กับอุปกรณ์ที่ใช้ไอน้ าความดันต่ า ปริ มาณไอน้ าแฟลชจะมากขึ้นเมื่อ
ความแตกต่ างระหว่ างความดัน คอนเดนเสทกับความดัน ของไอน้า
แฟลชมาก ไอน้ าแฟลชเกิดขึ้นได้โดยการนาคอนเดนเสทที่ออกจากกับ
ดักไอน้ า (Steam trap) มารวมกันแล้วต่อเข้ากับถังแฟลช ซึ่ งมีความดัน
ต่ ากว่ าความดัน คอนเดนเสท จะท าให้ ค อนเดนเสทเกิ ด การระเหย

หน้า 97 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

กลายเป็ นไอ ซึ่ งไอน้ าแฟลชที่ได้จากถังแฟลชนี้ สามารถนาไปใช้กบั


2 อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ไ อน้ าความดัน ต่ า ส าหรั บ ขนาดของถังไอน้ าแฟลชที่
เหมาะสมสามารถดูได้จาก ตารางที่ 2.4-4

2.4.2.1 การคานวณร้ อยละของปริมาณไอนา้ แฟลช


1) ตรวจวัดความดัน ของน้ าร้ อนก่ อ นเข้าถังแฟลชหรื อ ก่ อ นลดความดัน
(ด้านความดันสู ง) โดยใช้เครื่ องมือวัดความดัน
2) ตรวจวัดความดันของไอน้ าหลังจากเข้าถังแฟลชหรื อหลังจากลดความ
ดัน (ด้านความดันต่า) โดยใช้เครื่ องมือวัดความดัน
3) นาความดันทั้งสองไปเปิ ดตารางที่ 2.4-5 จะได้ร้อยละของไอน้ าแฟลชที่
เกิด

รู ปที่ 2.4-2 การเกิดไอน้ าแฟลช

หน้า 98 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตารางที่ 2.4-4 ขนาดของถังไอแฟลชที่เหมาะสม


ปริมาณคอนเดนเสท 2
ขนาดของถังไอนา้ แฟลช
(kg/h)
เส้ นผ่ านศูนย์ กลาง (mm) ความสู ง (mm)
1
900 150 940
2,250 200 940
4,500 300 1,000
9,000 380 1,100
13,000 460 1,200
16,000 500 1,400
20,000 600 1,400
34,000 760 1,400
50,000 920 1,500

ตารางที่ 2.4-5 ร้อยละของปริ มาณการเกิดไอน้ าแฟลช


ด้านความดันสู ง ด้านความดันตา่ (barg)
(barg) 0.0 0.3 0.5 1.0 1.5 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 16.0 18.0
1 3.7 2.5 1.7 - - - - - - - - - - - - -
2 6.2 5.0 4.2 2.6 1.2 - - - - - - - - - - -
3 8.1 6.9 6.1 4.5 3.2 2.0 - - - - - - - - - -
4 9.7 8.5 7.7 6.1 4.8 3.6 1.6 - - - - - - - - -
5 11.0 9.8 9.1 7.5 6.2 5.0 3.1 1.4 - - - - - - - -
6 12.2 11.0 10.3 8.7 7.4 6.2 4.3 3.0 1.3 - - - - - - -
8 14.2 13.1 12.3 10.8 9.5 8.3 6.4 4.8 3.4 2.2 - - - - - -
10 15.9 14.8 14.2 12.5 11.2 10.1 8.2 6.6 5.3 4.0 1.9 - - - - -
12 17.4 16.3 15.5 14.0 12.7 11.6 9.8 8.2 6.9 5.7 3.5 1.7 - - - -
14 18.7 17.6 16.9 15.4 14.1 13.0 11.2 9.6 8.3 7.1 5.0 3.2 1.5 - - -
16 19.0 18.8 18.1 16.6 15.3 14.3 12.4 10.9 9.6 8.4 6.3 4.5 2.9 1.4 - -
18 21.0 19.9 19.2 17.7 16.5 15.4 13.6 12.1 10.8 9.6 7.5 5.7 4.1 2.7 1.3 -
20 22.0 20.9 20.2 18.8 17.5 16.5 14.7 13.2 11.9 10.7 8.7 6.9 8.3 3.8 2.5 1.2

หน้า 99 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ร้อยละของไอน้ าแฟลชที่เกิดขึ้น RFS = mFS / mCD = (h(P1) - h(P2))/ hfg(P2) (2.9)


2 ปริ มาณความร้อนสู ญเสี ยจากไอน้ าแฟลช QFS = mCD x hfg x (RFS/100) (2.10)
ปริ มาณเชื้อเพลิงที่สูญเสี ยจากไอน้ าแฟลช Fuel loss = QFS / ( LHVx B) (2.11)

เมื่อ mFS = ปริ มาณไอน้ าแฟลช (kg/s)


mCD = ปริ มาณน้ าคอนเดนเสท (kg/s)
h(P1) = เอนทาลปี ของน้ าคอนเดนเสทที่ความดัน P1 (kJ/kg) (ก่อนการแฟลช)
h(P2) = เอนทาลปี ของน้ าคอนเดนเสทที่ความดัน P2 (kJ/kg) (หลังการแฟลช)
hfg(P2) = เอนทาลปี ของไอน้ าที่ความดัน P2 (kJ/kg)
LHV = ค่าความร้อนต่าของเชื้อเพลิง kJ/kg
B = ประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า (%)

หน้า 100 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

ตัวอย่ างที่ 2-14


โรงงานติ ด ตั้งหม้อ ไอน้ าน้ ามัน เตาซี ข นาด 10 ตัน ต่ อ ชั่ว โมง ผลิ ต ไอน้ าเพื่ อ ใช้ง าน
2
33,600,000 kg/y โดยหม้อไอน้ ามีประสิ ทธิภาพ 70% มีการนาคอนเดนเสทกลับเข้าถังไอ
น้ าแฟลช 40% คิดเป็ น 13,440,000 kg/y คอนเดนเสทก่อนป้ อนเข้าถังแฟลชมีความดัน 1
3.0 barg และความดันในถังแฟลช 0.5 barg จงหาว่าโรงงานจะมี การสู ญ เสี ยพลังงาน
ความร้อนจากไอน้ าแฟลชเท่าใด
วิธีคำนวณ
จากตารางที่ 2.4-5 ที่ ค วามดัน คอนเดนเสทเข้าถังแฟลช 3.0 barg และความดัน ในถัง
แฟลช 0.5 barg ได้ร้อยละปริ มาณการเกิดไอน้ าแฟลช 6.1 %
ค่าความร้อนน้ ามันเตาเกรดซีประมาณ 38,170 kJ/L ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า 70 %
ปริ มาณความร้อนสู ญเสี ยจากไอน้ าแฟลช= mCD x hfg x (RFS/100)
= 13,440,000 x 2,226.5 x (6.1/100)
= 1,825,373,760 kJ/yr = 1,825,374 MJ/yr
ปริ มาณเชื้อเพลิงที่สูญเสี ยจากไอน้ าแฟลช = QFS / ( LHVx B)
= 1,825,373,760 / (38,170 x 0.7)
= 68,317 L/yr

หน้า 101 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 102 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2
1

หน้า 103 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 104 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

2
1

หน้า 105 จาก 106


บทที่ 2 แนวทางการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตและใช้ไอน้ า

หน้า 106 จาก 106


บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

บทที่ 3
การตรวจวินิจฉัยและ การบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์ พลังงาน

ขั้นตอนการหาแนวทางการอนุ รักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบ 3


ส่ งจ่ายไอน้ านั้นควรเริ่ มต้นจากการตรวจวินิจฉัยจากประสาทรับรู ้ต่างๆ เช่น
ตาดู หู ฟัง มือสัมผัส จมูกรับกลิ่น และการตรวจสอบค่าต่างๆจากเครื่ องมือ
วัดที่ ติดตั้งไว้รวมทั้งการใช้เครื่ องมื อวัดเบื้ องต้นต่างๆในการตรวจวัดสิ่ ง
ผิดปกติที่เกิดขึ้น ก่อนหาแนวทางการแก้ไขเพื่อให้เกิดการอนุ รักษ์พลังงาน
ต่ อ ไป ในส่ วนการบ ารุ งรั กษาที่ ดี น้ ัน จะส่ งผลให้ ยืดอายุการใช้งาน เพิ่ ม
เสถี ยรภาพการใช้งาน ลดปั ญ หาการเกิ ดอุ บ ัติ เหตุ และยังส่ งผลให้รักษา
ประสิ ทธิภาพของระบบ/อุปกรณ์ไม่ให้ต่ากว่าค่าที่ควบคุมไว้

3.1 การตรวจวินิจฉัยเพื่อหาแนวทางการอนุรักษ์ พลังงาน


การอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ านั้นจาเป็ นที่จะต้องตรวจวินิจฉัยใน
เบื้ อ งต้น จากข้อ มู ล ทั่ว ไปเพื่ อ หาสิ่ ง ผิ ด ปกติ ที่ จ ะท าให้ เกิ ด การสู ญ เสี ย
พลังงานและส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพของหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่ายไอน้ า
ลดต่ า ลง อัน น ามาซึ่ งต้ น ทุ น การผลิ ต และใช้ ไ อน้ าสู งขึ้ น ขั้ น ตอนนี้
เช่นเดี ยวกันกับการที่ แพทย์ตรวจวินิจฉัยเบื้ องต้นโดยใช้เครื่ องมื อพื้นฐาน
เพื่อวินิจฉัยโรคก่อนที่จะรักษาเชิงลึกต่อไป ผูต้ รวจวิเคราะห์ควรตรวจตาม
รายการต่างๆตามตารางโดยเมื่อพบสิ่ งผิดปกติไปจากเกณฑ์ที่พิจารณาควร
หาแนวทางแก้ไขตามที่เสนอแนะไว้

หน้า 1 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

ตารางที่ 3.1-1 การตรวจวินิจฉัยเพื่อหาแนวทางการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


3 1.ตรวจสอบสี ข องเปลว ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ ดี  จัดทาแผนการตรวจสอบ
ไฟในแต่ละภาระ สามารถตรวจสอบเบื้ องต้นจาก ทุกวัน
เปลวไฟ  ปรับตั้งหัวเผาให้อยูใ่ น
- เชื้ อเพลิ งเหลวเปลวไฟควรมี จุดที่ประสิ ทธิภาพการ
สี ส้ม เผาไหม้สูงสุ ด
- เชื้ อเพลิงก๊าชเปลวไฟควรมี สี  เปลี่ ย นแปลง ปรั บ ปรุ ง
ฟ้าปลายสี ส้ม หัวเผาเมื่อสึ กหรอ
- เปลวไฟควรมีสภาพคงตัว  ความดั น และอุ ณ หภู มิ
เชื้อเพลิงต้องเหมาะสม
2.ตรวจสอบสี ค วัน ไฟที่ ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ ดี  ลดปริ มาณ อากาศเมื่ อ
ออกจากปล่อง สามารถตรวจสอบเบื้ องต้นจาก ควันไฟสี ขาวหรื อไม่มีสี
สี ข องควัน ไฟที่ อ อกจากปล่ อ ง  ลดปริ ม าณเชื้ อ เพลิ ง เมื่ อ
โดยควันไฟควรมีสีเทาอ่อน ควันไฟสี ดา
3.ตรวจสอบความสว่ า ง ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ ดี  ลดปริ มาณ อากาศเมื่ อ
ภายในห้องเผาไหม้ สามารถตรวจสอบเบื้ องต้นจาก ห้องเผาไหม้สว่างจ้า
ความสว่างภายในห้อ งเผาไหม้  ลดปริ ม าณเชื้ อ เพลิ ง เมื่ อ
โดยภายในห้องเผาไหม้ไม่สว่าง ห้องเผาไหม้คล้ า
จ้าหรื อคล้ า

หน้า 2 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


4.ต รวจส อ บ อุ ณ ห ภู มิ น้ ามันเชื้ อเพลิงที่มีความหนื ดสู ง  ปรั บ ตั้ง อุ ณ หภู มิ ใ นการ
น้ ามันเชื้อเพลิง การพ่นเป็ นฝอยจะไม่ดีส่งผลให้ อุ่นให้เหมาะสม
เกิ ด การเผาไหม้ ที่ ไ ม่ ส มบู ร ณ์  ควรใช้ ไ ฟฟ้ า ในการอุ่ น 3
ดั ง นั้ นควรอุ่ น เชื้ อเพ ลิ ง ให้ มี ช่ ว งแรกและอุ่ น ด้ว ยไอ
อุณหภูมิเหมาะสม น้ าเมื่อมีไอน้ า
O
น้ ามันเตาเกรด เอ ที่ 90-100 C  ลดจานวน Heater ในการ
น้ ามันเตาเกรด ซี ที่ 110-120 OC อุ่ น ให้ เหมาะสมกับ การ
ใช้งาน
 หุ ้มฉนวนถังป้ อ นน้ ามัน
และระบบท่อ
5.ตรวจส อบ ค วามดั น ความดัน น้ ามัน เชื้ อ เพลิ งต่ ากว่า  ตรวจสอบและปรั บ ตั้ง
น้ ามันเชื้อเพลิง มาตรฐานของหั ว เผาจะท าให้ ค ว า ม ดั น ใ ห้ ไ ด้ ต า ม
ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ลดลง มาตรฐานของหัว เผาแต่
ละชนิด

6.ตรวจวั ด ป ริ ม าณ O2 ปริ มาณ O2 ส่ วนเกิ นควรจะน้อย  ตรวจวัด และปรั บ ตั้ง หั ว


ส่ ว นเกิ น ที่ อ อกจากห้ อ ง ที่สุดที่ทาให้เกิด CO ไม่เกิน 200 เผาทุ กครั้ งเมื่ อท าการ
เผาไหม้ ppm บารุ งรักษาหัวเผา
- เชื้อเพลิงก๊าชไม่เกิน 2 %  ติ ด ตั้ งอุ ป กรณ์ ควบคุ ม
- เชื้อเพลิงเหลวไม่เกิน 4 % การเผาไหม้อตั โนมัติ
- เชื้ อเพลิงแข็งขึ้ นอยู่กบั สภาพ
เชื้อเพลิง

หน้า 3 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


7.ตรวจสอบอุ ณ หภู มิ ไ อ อุ ณ หภู มิ ไ อเสี ย ขณะใช้ง านไม่  ท าการขูด เขม่ าบนพื้ น ที่
เสี ย ข ณ ะ ใ ช้ ง า น กั บ ควรสู งขึ้นจากเดิมเกิน 20 O C แลกเปลี่ยนความร้อน
3 อุ ณ หภู มิ ไ อเสี ย หลัง จาก เพื่ อ ลดการสู ญเสี ยความร้ อ น  ปรั บ ส่ ว นผสมระหว่ า ง
ขู ด เขม่ า และปรั บ ตั้ง หั ว ออกทางปล่อง อากาศกับเชื้ อเพลิงให้
เผา ณ สภาวะการทางาน เหมาะสม
ระดับและความดันไอน้ า
เท่ากัน
อุ ณ หภู มิ น้ าป้ อนควรสู งที่ สุ ด  นาคอนเดนเสทกลับมาอุ่น
8.ตรวจสอบอุ ณ หภู มิ น้ า
ป้อน เท่ า ที่ จ ะท าได้ เพื่ อ ไล่ O2 และ น้ าป้อน
CO2 ในน้ า และผลิตไอน้ าได้เร็ ว  นาไอเสี ยมาอุ่นน้ าป้อน
ขึ้น โดยทัว่ ไปควรสู งกว่า 90 OC  นาไอน้ ามาอุ่นน้ าป้อน
 เพิ่ ม อุ ณ ห ภู มิ น้ าป้ อ น
จะต้ อ งยกระดั บ ถั ง น้ า
ป้อนให้สูงขึ้น
9.ตรวจสอบคุ ณ ภาพน้ า น้ าป้ อนควรผ่านการปรับสภาพ  ท าแผนการตรวจสอบ
ป้อน อย่างดีเพื่อลดสารแขวนลอยและ คุ ณ ภ าพ น้ าป้ อ น เป็ น
สารละลายต่างๆ ซึ่ งเป็ นต้นเหตุ ประจา
ของตะกรันโคลน และการเดือด  ติดตั้งระบบน้ า RO
ผิดปกติ โดยทัว่ ไปค่าสภาพการ
นาไฟฟ้าควรต่ากว่า 800 s/cm

หน้า 4 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


10.ตรวจสอบคุ ณ ภาพน้ า น้ าในหม้อไอน้ าควรมี ค่าสภาพ  ลดอัต ราหรื อ ระยะเวลา
ในหม้อไอน้ า การนาไฟฟ้าอยูใ่ นช่วง การโบลว์ ด าวน์ เ มื่ อ ค่ า
6,000 – 7,000 s/cm สภาพการน าไฟฟ้ าต่ า 3
กว่า 6,000 s/cm
 ตรวจสอบคุ ณ ภาพน้ า
ป้ อนและคอนเดนเสทที่
นากลับ เมื่อค่าสภาพการ
น าไฟฟ้ าสู งกว่ า 7,000
s/cm
 ถ่ ายน้ าในหม้อ ไอน้ าทิ้ ง
ทุกสัปดาห์ เพื่อลดความ
เข้มข้น
O
11.ตรวจวัดอุณหภูมิเฉลี่ย อุณหภูมิเฉลี่ยไม่ควรเกิน 60 C  ซ่ อ มฉนวนเมื่ อ เกิ ด การ
บนผิวผนังหม้อไอน้ า เพื่ อ ลดการสู ญเสี ยความร้ อ น สึ กหรอ
ออกทางพื้นผิว  เปลี่ ย นฉนวนเมื่ อ หมด
สภาพ
12.ตรวจสอบระยะเวลา ควรกาจัดตะกรัน ในหม้อ ไอน้ า  จัด ท าแผนการท าความ
ในการก าจัด ตะกรั น ใน อย่างน้อยทุกปี สะอาดทุกปี
หม้อไอน้ า
13.ตรวจสอบแผนการทา เชื้ อเพ ลิ ง เห ลวควรท าความ  จัด ท าแผนการท าความ
ความสะอาดหัวเผา สะอาดหัวเผาอย่างน้อยสัปดาห์ สะอาดทุกสัปดาห์
ละครั้ง

หน้า 5 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


14.ตรวจสอบความดันไอ ความดันไอน้ าที่ผลิตควรสู งกว่า  ลดความดัน ในการผลิ ต
น้ าที่ ผ ลิ ต และความดั น ความดัน สู งสุ ด ที่ อุ ป กรณ์ ใช้ไ อ ไอน้ าให้ เ หมาะสมกั บ
3 สู งสุ ดที่ อุ ปกรณ์ ใช้ไอน้ า น้ าต้ อ งการป ระมาณ 0.5-1.0 การใช้งาน
ต้องการ barg ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ความดันตกใน
ระบบถ้าสามารถลดความดันไอ
น้ าที่ผลิตลงจะส่ งผลให้สัดส่ วน
ระ ห ว่ า งไอ น้ าที่ ผ ลิ ต ได้ ต่ อ
เชื้ อเพลิ ง เพิ่ ม สู งขึ้ น และการ
สู ญ เสี ยความร้ อ นต่ า ง ๆ ของ
หม้อ ไอน้ าและระบบส่ งจ่ ายไอ
น้ าจะลดลง
15.ตรวจสอบปริ ม าณไอ อุ ป กรณ์ ใช้ ไ อน้ าส่ วนน้ อ ยที่  จัด หาหม้ อ ไอน้ าขนาด
น้ าที่ ใช้กับ อุ ป กรณ์ ใช้ไ อ ต้อ งการความดัน สู ง ให้ ท าการ เล็กและเดิ น ท่ อไอน้ าไป
น้ าต่างๆ แยกระบบเป็ นระบบความดันสู ง ใช้กับ อุ ป กรณ์ ส่ ว นน้ อ ย
และความดันต่า เพื่อลดความดัน แต่ใช้ความดันไอน้ าสู ง
ไอน้ าของระบบรวมลง
16.ตรวจสอบหม้อ ไอน้ า  บริ หารจัดการใช้ไอน้ าให้
ควรใช้หม้อไอน้ าที่ ภาระ 80-
ขนาดใหญ่กว่าการใช้งาน 90% ตลอดเวลาเพราะเป็ นจุ ดที่เหมาะสม
หรื อไม่ หม้อไอน้ ามีประสิ ทธิภาพสู ง
 จัด หาหม้ อ ไอน้ าขนาด
เล็กมาใช้แทน
17.ตรวจสอบหัวเผาเดิ น - ก่อนจุดไฟของหัวเผาทุกครั้งจะ  ล ด เว ล า ใ น ก า ร ไ ล่
หยุด บ่อยหรื อไม่ มี ก า ร ไ ล่ เชื้ อ เพ ลิ ง (Purge) เชื้อเพลิง
ประมาณ 2 นาที ซึ่ งท าให้ ห้ อ ง  ลดขนาดหัว เผาหรื อ นม
เผาไหม้สูญเสี ยความร้อน หนูน้ ามัน

หน้า 6 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


18.ตรวจสอบอัตราการผลิต หม้อไอน้ าที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง  หาสาเหตุและปรับปรุ ง
ไอน้ าต่ อเชื้ อเพลิ งของหม้อ
จะมี สั ด ส่ วนระหว่ า งไอน้ าที่ ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
ไอน้ าแต่ละชุดที่ความดันไอ ผลิ ต ได้ ต่ อ เชื้ อเพลิ ง สู ง เช่ น สู งขึ้น 3
น้ าเท่ากัน เชื้ อ เพลิ ง เหลว ควรมี สั ด ส่ ว น  เลื อ กใช้งานหม้อ ไอน้ า
ประมาณ 13 – 14 : 1 ชุ ดที่ มีสัดส่ วนการผลิ ต
ไอน้ าต่ อ เชื้ อเพลิ ง สู ง
เป็ นหลัก
 เปลี่ยนหม้อไอน้ าใหม่
19.ตรวจสอบบางช่ ว งเวลา ไม่ ค วรเดิ น หม้อ ไอน้ าเพื่ อ รอ  บริ หารจัดการการใช้ไอ
ความดั น ใน การผลิ ตไอ เสริ มในช่ ว งระยะเวลาสั้ นๆ น้ าใหม่
น้ าตกจึงต้องเดินหม้อไอน้ า ของวัน เพราะหม้อไอน้ ามี การ  อุ่ น น้ า ป้ อ น ใ ห้ มี
สารองเสริ มตลอดเวลา สู ญเสี ยตลอดเวลาในขณะที่ ไม่ อุณหภูมิสูงขึ้น
มีการจ่ายไอน้ า  ติ ดตั้งถังเก็บ ไอ (Steam
Accumulator)
 แก้ ไ ขความดั น ตกใน
ระบบส่ งจ่ ายไอน้ า เช่ น
ขนาดท่ อ ความยาวท่ อ
จานวนข้อต่อข้องอ

หน้า 7 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


20.ตรวจสอบว่ามี อุ ป กรณ์ ไม่ ค วรเปิ ดวาล์ ว Bypass ถ้ า  ไอน้ าที่ เข้าอุปกรณ์ ตอ้ ง
ไอน้ าบางส่ วนร้ อนช้า แล้ว ความดันไอน้ าที่เข้าอุปกรณ์ ได้ แห้ง
3 จึงเปิ ดวาล์ว Bypass หรื อไม่ ตามมาตรฐานอุปกรณ์ ใช้ไอน้ า  กับ ดัก ไอน้ าขนาดเล็ ก
แต่อุปกรณ์ร้อนช้า ปล่ อ ยคอนเดนเสทไม่
ทัน
 ไม่ มี อุ ป กรณ์ ไ ล่ อ ากาศ
(Air Vent)
 วาล์ ว ควบคุ ม (Control
Valve) ทางานผิดปกติ
 พื้นผิวแลกเปลี่ยนความ
ร้ อ น ข อ ง อุ ป ก ร ณ์
สกปรก
 ป ริ ม า ณ ไ อ น้ า เข้ า
อุปกรณ์นอ้ ยไป
21.ตรวจสอบกับดักไอน้ า กับ ดัก ไอน้ าต้อ งไม่ รั่ ว ภายใน  ซ่ อมหรื อ เปลี่ ยนกับ ดัก
ไม่ตนั ไม่เล็กเกินไป และติดตั้ง ไอน้ า
ไม่ถูกต้อง  เลือกชนิ ดและขนาดให้
เหมาะสม
 ติ ด ตั้ งใน ต าแ ห น่ งที่
ถูกต้อง

หน้า 8 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


22.ตรวจสอบคุณภาพไอน้ า ไอน้ าก่อนเข้าอุปกรณ์ตอ้ งแห้ง  ไอน้ าออกจากหม้อไอ
ก่อนเข้าอุปกรณ์ น้ าต้องแห้ง
 ฉนวนท่อส่ งจ่ายไอน้ า 3
มีสภาพดี
 ระบบท่ อ ไอน้ าต้อ งมี
กับดักไอน้ าเป็ นระยะ
 ก่ อนเข้าอุ ป กรณ์ ไอน้ า
ต้องมีอุปกรณ์ กาจัดน้ า
(Steam Separator)
23.ตรวจสอบสภาพฉนวน ระบ บ ส่ งจ่ ายไอ น้ าทั้ งห ม ด  ติดตั้งฉนวนเพิ่มเติม
ท่อ วาล์ว และหน้าแปลน จะต้อ งมี ฉ นวนที่ อ ยู่ในสภาพดี  ซ่อมฉนวนที่ชารุ ด
โดยทัว่ ไปอุณ หภูมิผิวฉนวนไม่  เ ป ลี่ ย น ฉ น ว น ที่
ควรเกิน 60 OC เสื่ อมสภาพ
24.ตรวจสอบการรั่ ว ไหล ระบบไอน้ าทั้งหมดจะต้องไม่ มี  ตรวจสอบและซ่ อม
ของไอน้ าทั้งหมด การรั่วไหลของไอน้ า ทันทีที่พบ
25.ตรวจสอบปริ ม าณและ ควรน าคอนเดนเสททั้ งหมด  ค อ น เด น เส ท
คุณภาพคอนเดนเสท กลับมาใช้ คุ ณ ภ า พ สู ง แ ล ะ มี
ปริ มาณมากนากลับมา
อุ่นน้ าป้อนหม้อไอน้ า
 ค อ น เด น เส ท
คุ ณ ภ า พ สู ง แ ล ะ มี
ปริ ม าณน้ อ ยน าไปใช้
กับกระบวนการผลิตที่
อยูใ่ กล้

หน้า 9 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


25.ตรวจสอบปริ ม าณและ ควรน าคอนเดนเสททั้ งหมด  คอนเดนเสทคุ ณ ภาพ
คุณภาพคอนเดนเสท (ต่อ) กลับมาใช้ ต่ า และมี ป ริ ม าณมาก
3 นาไปแลกเปลี่ยนความ
ร้อนก่อนปล่อยทิ้ง
26.ตรวจสอบอุ ณ หภู มิ ใ ช้ อุณหภูมิใช้งานสู งกว่ามาตรฐาน  ปรับลดอุณ หภูมิให้ได้
งานของอุปกรณ์ใช้ไอน้ า ที่กาหนด มาตรฐาน
 เปลี่ยนอุปกรณ์ควบคุม
อุณหภูมิใหม่
27.ตรวจสอบอุ ณ หภู มิ ผิ ว อุณหภูมิผิวของอุปกรณ์ใช้ไอน้ า  เปลี่ยนฉนวนที่ชารุ ด
ของอุปกรณ์ใช้ไอน้ า ไม่ควรสู งเกิน 60 OC  หุม้ ฉนวนใหม่
28.ตรวจสอบการนาไอเสี ย อุ ณ หภู มิ ไ อเสี ย สู ง กว่า 200 OC  ใ ช้ อุ่ น น้ า ป้ อ น
กลับมาใช้ประโยชน์ ควรนากลับมาใช้ถา้ ในเชื้ อเพลิง (Economizer)
ไม่มีกามะถันเป็ นองค์ประกอบ  ใ ช้ อุ่ น อ า ก า ศ
(Air Preheated )
29.ตรวจส อบ การน าน้ า กรณี มี ก าร Blow down จ านวน  ติดตั้งระบบการระบาย
ร ะ บ า ย (Blow down) มากควรหาทางนากลับมาใช้ แ บ บ ต่ อ เ นื่ อ ง
กลับมาใช้ประโยชน์ (Continuous Blow
down) แล้วแลกเปลี่ยน
ความร้อนกับน้ าป้อน
30.ตรวจสอบการเปลี่ ย น เลื อ กใช้เชื้ อ เพลิ งต้น ทุ น ต่ าและ  เปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง
ชนิดเชื้อเพลิง สะอาด  น้ ามันดีเซลเป็ น LPG
 น้ ามันเกรดเอเป็ นเกรด
ซี
 น้ ามันเตาเป็ น LPG

หน้า 10 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

รายการตรวจ เกณฑ์ พจิ ารณา แนวทางปฏิบัติที่ดี


30.ตรวจสอบการเปลี่ ย น เลื อ กใช้เชื้ อ เพลิ งต้น ทุ น ต่ าและ  น้ ามัน เตาเป็ นถ่ านหิ น
ชนิดเชื้อเพลิง (ต่อ) สะอาด หรื อเชื้อเพลิงแข็ง
31.ตรวจสอบความชื้ นของ เชื้ อ เพ ลิ ง มี ค ว า ม ชื้ น สู ง  น า ไ อ เ สี ย ไ ป ไ ล่ 3
เชื้อเพลิงแข็ง ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ต่า ความชื้นจากเชื้อเพลิง
 ใ ช้ ค ว า ม ร้ อ น จ า ก
แ ส ง อ า ทิ ต ย์ ไ ป ไ ล่
ความชื้น

3.2 การบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์ พลังงาน


การบารุ งรักษาเพื่อการอนุ รักษ์พลังงานเป็ นการบารุ งรักษาที่คานึ งถึง
ผลการอนุ รักษ์พลังงานที่ เกิ ดจากความผิดปกติ จากการใช้งานที่ ผูค้ วบคุ ม
ควรด าเนิ น การเพื่ อ ให้ ห ม้อ ไอน้ าและอุ ป กรณ์ ป ระกอบมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
สู งสุ ดขณะใช้งานและเพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน

หน้า 11 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

ตารางที่ 3.2-1 การบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน


แผนบารุ งรักษา
การดาเนินการ ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
3 ในปัจจุบนั
1. ปรับแต่งปริ มาณเชื้อเพลิง และอากาศที่เผา ทุก 3 เดือน
ไหม้ เพื่อให้มีค่าอัตราส่ วนอากาศเป็ นไปตาม
มาตรฐานของเชื้อเพลิงแต่ละชนิด
2. ตรวจสอบคุณภาพน้ าป้อนและน้ าในหม้อ ทุกสัปดาห์
ไอน้ าให้เป็ นไปตาม มาตรฐานสากล (น้ าป้อน)
ทุกเดือน
(น้ าในหม้อไอน้ า)
3. ทาความสะอาดชุดหัวเผา ทุกสัปดาห์
(เชื้อเพลิงเหลว)
ทุกเดือน
(เชื้อเพลิงก๊าซ)
4. ตรวจสอบสภาพอิฐทนไป ผนัง และฉนวน ทุกปี
ของหม้อไอน้ า
5. ทาความสะอาดผิวแลกเปลี่ยนความร้อนด้าน ทุกปี
สัมผัสน้ าและสัมผัสไฟ
6. สังเกตสี และรู ปร่ างของเปลวไฟ ทุกวัน
7. ทาความสะอาดตัวกรองของระบบน้ าป้อน ทุกเดือน
และน้ ามันเชื้อเพลิง
8. ตรวจสอบทางเข้าของอากาศในห้องหม้อ ทุกเดือน
ไอน้ า และของหม้อไอน้ า รวมทั้งทาความ
สะอาดด้านดูดของพัดลมและแผงกรองอากาศ
(ถ้ามี)

หน้า 12 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

แผนบารุ งรักษา
การดาเนินการ ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
ในปัจจุบนั
9. ทาความสะอาดปล่องไอเสี ย ทุก 3 ปี
10. ทาความสะอาดถังเก็บน้ าป้อน ถังสารเคมี ทุกปี 3
และถังเก็บน้ ามัน
11. ตรวจสภาพฉนวนของระบบส่ งจ่ายไอน้ า ทุกเดือน
และฉนวนของ อุปกรณ์ใช้ไอน้ า
12. ตรวจสอบและซ่อมแซมรู รั่วของไอน้ า ทุกวัน
(ถ้ามี)
13. ตรวจสอบการทา งานของอุปกรณ์ต่อไปนี้
- เครื่ องมือวัดต่างๆ เช่น เครื่ องวัดอัตรา
การไหลเกจวัด ความดันอุปกรณ์วดั ทุก 3 เดือน
อุณหภูมิ เครื่ องวัดและวิเคราะห์ไอเสี ย
- เครื่ องสู บน้ า และปั๊มเชื้อเพลิง
- วาล์วและวาล์วอัตโนมัติต่างๆ ทุกปี
- มอเตอร์พดั ลม ทุกปี
- ชุดหัวเผาและชุดอุ่นน้ ามันเชื้อเพลิง ทุกปี
ทุกเดือน
(เชื้อเพลิงเหลว)
ทุก 6 เดือน
- กับดักไอน้ า (เชื้อเพลิงก๊าซ)
ทุกสัปดาห์

หน้า 13 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

แผนบารุ งรักษา
การดาเนินการ ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
ในปัจจุบนั
14. ตรวจวัดและบันทึกค่าต่างๆ ต่อไปนี้
3 - อัตราการใช้น้ า และเชื้อเพลิง ทุกวัน
- ความดันและอุณหภูมิของน้ ามัน ทุกวัน
เชื้อเพลิงก่อนเข้าหัวเผา
- ความดัน และ/หรื อ อุณหภูมิไอน้ า ทุกวัน
- คุณภาพน้ าป้อนและน้ าในหม้อไอน้ า ทุกครั้งที่มีการ
ตรวจสอบ
คุณภาพน้ า
- ปริ มาณก๊าซออกซิ เจนหรื อ ทุกครั้งที่มีการ
คาร์บอนไดออกไซด์ในไอเสี ย ปรับแต่ง

- อุณหภูมิไอเสี ยหลังออกจากห้องเผา ทุกวัน


ไหม้
- ลักษณะและสี ของไอเสี ย ทุกวัน
- อุณหภูมิผวิ หม้อไอน้ า อุณหภูมิผวิ ทุกเดือน
ฉนวนของระบบส่ ง จ่ายไอน้ า และ
อุณหภูมิผวิ อุปกรณ์ใช้ไอน้ า

หน้า 14 จาก 15
บทที่ 3 การตรวจวินิจฉัยและการบารุ งรักษาเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

แผนบารุ งรักษา
การดาเนินการ ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
ในปัจจุบนั
14. ตรวจวัดและบันทึกค่าต่างๆ ต่อไปนี้
- อัตราการใช้น้ า และเชื้อเพลิง ทุกวัน 3
- ความดันและอุณหภูมิของน้ ามัน ทุกวัน
เชื้อเพลิงก่อนเข้าหัวเผา
- ความดัน และ/หรื อ อุณหภูมิไอน้ า ทุกวัน
- คุณภาพน้ าป้อนและน้ าในหม้อไอน้ า ทุกครั้งที่มีการ
ตรวจสอบ
คุณภาพน้ า
- ปริ มาณก๊าซออกซิเจนหรื อ ทุกครั้งที่มีการ
คาร์บอนไดออกไซด์ในไอเสี ย ปรับแต่ง
- อุณภูมิไอเสี ยหลังออกจากห้องเผา ทุกวัน
ไหม้
- ลักษณะและสี ของไอน้ า ทุกวัน
- อุณหภูมิผวิ หม้อไอน้ า อุณหภูมิผวิ ทุกเดือน
ฉนวนของระบบส่ งจ่ายไอน้ า และ
อุณหภูมิผวิ อุปกรณ์ใช้ไอน้ า

หน้า 15 จาก 15
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

บทที่ 4
แนวทางการอนุรักษ์ พลังงาน
และการตรวจวิเคราะห์ มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน

4.1 แนวทางการอนุรักษ์ พลังงาน 4


แนวทางการอนุ รักษ์พลังงานเป็ นขั้นตอนหลังจากการตรวจวินิจฉัย
โดยเมื่อทราบความผิดปกติแล้วจะต้องหาแนวทางการแก้ไขเพื่อให้เกิดการ
อนุ รักษ์พลังงาน โดยแนวทางการอนุ รักษ์พลังงานสามารถพิจารณาความ
เห ม าะส ม แ ล ะค วาม พ ร้ อ ม ข อ งส ถ าน ป ระก อ บ ก ารจาก ต าราง
ก่ อ นด าเนิ น การตรวจวัด วิเคราะห์ เชิ งลึ ก เพื่ อ หาผลการอนุ รั ก ษ์พ ลังงาน
ต่อไป
ตารางที่ 4.1-1 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานในหม้อไอน้ าและระบบส่ งจ่ายไอน้ า
ผลการตรวจสอบศักยภาพ
รายการศักยภาพการอนุรักษ์ พลังงาน ดาเนิน พร้ อม ไม่ พร้ อม
การแล้ ว ดาเนินการ ดาเนินการ
1. การลดปริ มาณอากาศส่ วนเกิน (Excess Air) เพราะ…
ที่ใช้ในการเผาไหม้
2. การทาความสะอาดพื้นผิวแลกเปลี่ยน เพราะ…
ความร้อน
3. การปรับลดความดันไอน้ าที่ผลิตให้ เพราะ…
เหมาะสม
4. การลดอัตราการโบลว์ดาวน์ เพราะ…

หน้า 1 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

ผลการตรวจสอบศักยภาพ
รายการศักยภาพการอนุรักษ์ พลังงาน ดาเนิน พร้ อม ไม่ พร้ อม
การแล้ ว ดาเนินการ ดาเนินการ
5. การอุ่นอากาศก่อนเข้าเผาไหม้ เพราะ…
4
6. การอุ่นเชื้อเพลิงก่อนเข้าเผาไหม้ เพราะ…
7. การอุ่นน้ าก่อนเข้าหม้อไอน้ า เพราะ…
8. การปรับปรุ งฉนวนหุม้ หม้อไอน้ า เพราะ…
9. การลดความชื้นของเชื้อเพลิงแข็ง เพราะ…
10. การเปลี่ยนหม้อไอน้ าใหม่ เพราะ…
11.การใช้หม้อไอน้ าที่ภาระใกล้เคียงพิกดั เพราะ…
12. การจัดโหลดการใช้งานเพื่อลดการเดิน เพราะ…
หม้อไอน้ า
13. การเลือกเดินหม้อไอน้ าชุดที่มี เพราะ…
ประสิ ทธิภาพสู งเป็ นหลัก
14. การลดความถี่ในการดับเตาที่บ่อยเกินไป เพราะ…
15. การติดตั้งถังเก็บไอในจุดที่ใช้ไอน้ าบาง เพราะ…
ช่วงเวลามาก
16. การนา Flash Steam กลับมาใช้ เพราะ…
17. การนาคอนเดนเสทกลับมาใช้ เพราะ…
18. การนาความร้อนจากน้ าโบลว์ดาวน์ เพราะ…
กลับมาใช้
20. การเลือกซื้อเชื้อเพลิงจากผูผ้ ลิตหลายราย เพราะ…
21. การหุม้ ฉนวนท่อ วาล์วและอุปกรณ์ใช้ เพราะ…
ไอน้ า

หน้า 2 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

ผลการตรวจสอบศักยภาพ
รายการศักยภาพการอนุรักษ์ พลังงาน ดาเนิน พร้ อม ไม่ พร้ อม
การแล้ ว ดาเนินการ ดาเนินการ
22. การเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง เพราะ…
23. การใช้ไอน้ าอุ่นน้ ามันร่ วมกับการใช้ไฟฟ้า เพราะ…
4
24. การลดความดันใช้งานของอุปกรณ์ใช้ เพราะ…
ไอน้ าให้เหมาะสม
25. การตรวจซ่อมหรื อเปลี่ยนกับดักไอน้ า เพราะ…
26. การลดความดันตกในระบบท่อ เพราะ…
27. การแยกระบบการใช้ไอน้ าเป็ นหลายระดับ เพราะ…
ความดัน
28. การลดไอน้ าแฟรชจากอุปกรณ์ใช้ไอน้ า เพราะ…
29. การติดตั้งอุปกรณ์ไล่อากาศที่อุปกรณ์ใช้ เพราะ…
ไอน้ า
30. การเปลี่ยนการใช้ไอน้ าจากผสมโดยตรง เพราะ…
(Direct) เป็ นแบบการแลกเปลี่ยนความร้อน
(Indirect)
31. การปรับปรุ งคุณภาพไอน้ าก่อนเข้า เพราะ…
อุปกรณ์ใช้ไอน้ า
32. การเลือกชนิดและขนาดของกับดักไอน้ า เพราะ…
ให้เหมาะสม
33. การใช้ระบบควบคุมการเผาไหม้อตั โนมัติ เพราะ…
34. การผลิตน้ าร้อนด้วย Heat Pump แทนการ เพราะ…
ใช้ไอน้ า
35. อุ่นน้ าป้อนด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เพราะ…

หน้า 3 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

4.2 การตรวจวิเคราะห์ มาตรการอนุรักษ์ พลังงาน


เพื่อลดความยุ่งยากซับซ้อนในการวิเคราะห์ ผลการอนุ รักษ์พลังงาน
จึงทาเป็ นโปรแกรม Microsoft Excel โดยผูใ้ ช้นาข้อมูลเบื้องต้น และข้อมูล
4 ตรวจวัด กรอกลงในช่ อ งว่างสี ฟ้ า โปรแกรมจะค านวณผลการอนุ รั ก ษ์
พลังงานที่ถูกต้องได้ทนั ที

มาตรการที่ 1 การลดปริมาณอากาศส่ วนเกินทีใ่ ช้ ในการเผาไหม้


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 พลังงานความร้ อนทีส่ ู ญเสี ยทางปล่ องไอเสี ย
- เชื้อเพลิงแข็ง
QES = อัตราการใช้เชื้อเพลิงแข็งเฉลี่ย (kg/h) x ปริ มาณก๊าซไอเสี ยจริ ง (Nm3/kg)
x ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณหภูมิไอเสี ยออกจากห้องเผา
ไหม้ (OC) - อุณหภูมิอากาศเข้าห้องเผาไหม้ (OC)) x ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี (h/y) x
ตัวประกอบการใช้งาน x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า
- เชื้อเพลิงเหลว
QEL = อัตราการใช้เชื้ อ เพลิ งเหลวเฉลี่ ย (L/h) x ความหนาแน่ น ของเชื้ อ เพลิ ง
(kg/L) x ปริ มาณก๊ า ซไอเสี ยจริ ง (Nm3/kg) x ค่ า ความจุ ค วามร้ อ นของก๊ า ซไอเสี ย
(kcal/Nm3 OC) x (อุณหภูมิไอเสี ยออกจากห้องเผาไหม้ (OC) - อุณหภูมิอากาศเข้าห้องเผา
ไหม้ ( OC)) x ชั่ ว โมงการใช้ ง านตลอดทั้ งปี (h/y) x ตั ว ประกอบการใช้ ง าน x
ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า

หน้า 4 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

- เชื้อเพลิงก๊าซ
QEG = อัตราการใช้เชื้อเพลิงก๊าซเฉลี่ย (m3/h) x ปริ มาณก๊าซไอเสี ยจริ ง (Nm3/m3)
x ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณหภูมิไอเสี ยออกจากห้องเผา
ไหม้ (OC) - อุณหภูมิอากาศเข้าห้องเผาไหม้ (OC)) x ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี (h/y) x
ตัวประกอบการใช้งาน x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า 4
1.1.2 ปริมาณความร้ อนสู ญเสี ยลดลง (kcal/y)
QS = พลังงานความร้ อ นที่ สู ญ เสี ย ก่ อ นปรั บ (kcal/y) - พลังงานความร้ อ นที่
สู ญเสี ยหลังปรับ (kcal/y)
1.1.3 ปริมาณเชื้อเพลิงทีป่ ระหยัดได้
- เชื้อเพลิงแข็ง (kg/y)
FSS = ปริ ม าณความร้ อ นสู ญ เสี ย ลดลง (kcal/y) / (ค่ า ความร้ อ นทางต่ า ของ
เชื้อเพลิงแข็ง (kcal/kg) x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า (%) / 100)
- เชื้อเพลิงเหลว (L/y)
FLS = ปริ ม าณความร้ อ นสู ญ เสี ย ลดลง (kcal/y) / (ค่ า ความร้ อ นทางต่ า ของ
เชื้อเพลิงเหลว (kcal/L) x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า (%) / 100)
- เชื้อเพลิงก๊าซ (m3/y)
FGS = ปริ ม าณความร้ อ นสู ญ เสี ย ลดลง (kcal/y) / (ค่ า ความร้ อ นทางต่ า ของ
เชื้อเพลิงก๊าซ (kcal/m3) x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า (%) / 100)
1.1.4 ค่ าเชื้อเพลิงลดลง
CS = ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้ x ราคาเชื้อเพลิงเฉลี่ยต่อหน่วย
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
1.2.1 ระยะเวลาคืนทุน (y)
PB = เงินลงทุน (บาท) / ค่าเชื้อเพลิงลดลง (บาท)

หน้า 5 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า

รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี h h/y
1.2 ค่าความร้อนทางต่าของเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kcal/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว LHVL kcal/kg น้ ามันดีเ ซล
- เชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kcal/kg
1.3 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลีย่ ต่อหน่ วย
- เชื้ อเพลิงแข็ง CS ฿/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว CL ฿/L น้ ามันดีเ ซล
3
- เชื้ อเพลิงก๊าซ CG ฿/m

หน้า 6 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

1.4 ความหนาแน่ นของเชื้ อเพลิง


- เชื้ อเพลิงเหลว DL kg/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ DG kg/m3
1.5 ตัวประกอบการใช้งาน OF
1.6 ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสีย CPg kcal/Nm3 OC
(ที่ 200 OC = 0.33 , ที่ 400 OC = 0.34)
4
1.7 ประสิทธิภาพการเผาไหม้ hC %
1.8 ประสิทธิภาพหม้อไอน้ า hF %
1.9 อัตราการใช้เชื้ อเพลิงเฉลี่ย
- เชื้ อเพลิงแข็ง mFS kg/h
- เชื้ อเพลิงเหลว mFL L/h
- เชื้ อเพลิงก๊าซ mFG m3/h
1.10 ค่าเครื่ องมือตรวจวัดปริ มาณ COST ฿
ออกซิเจนส่วนเกิน
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
O
2.1 อุณหภูมไิ อเสียออกจากห้องเผาไหม้กอ่ นปรับ TgO C
O
2.2 อุณหภูมอิ ากาศเข้าห้องเผาไหม้กอ่ นปรับส่วนผสม TaO C
O
2.3 อุณหภูมไิ อเสียออกจากห้องเผาไหม้หลังปรับ TgN C
O
2.4 อุณหภูมอิ ากาศเข้าห้องเผาไหม้หลังปรับส่วนผสม TaN C
2.5 ปริ มาณออกซิเจนออกจากห้องเผาไหม้กอ่ นปรับ O2O %
2.6 ปริ มาณออกซิเจนออกจากห้องเผาไหม้หลังปรับ O2N %

หน้า 7 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 2 การปรับลดความดันไอนา้ ทีผ่ ลิตให้ เหมาะสม


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 เปอร์ เซ็นต์ การสู ญเสี ยความร้ อนทีล่ ดลงจากการต้ มนา้ ทีค่ วามดันต่าลง
4 %QP = [(เอนธาลปี ของไอน้ าที่ ค วามดัน ก่ อ นปรั บ ลดความดั น (kJ/kg) -
เอนธาลปี ของไอน้ าที่ความดันหลังปรับลดความดัน (kJ/kg)) / เอนธาลปี ของไอน้ าก่อน
ปรับลดความดัน (kJ/kg)] x ประสิ ทธิภาพของหม้อไอน้ า (%)
1.1.2 ปริมาณการโบลว์ ดาวน์
mB = [ค่า TDS น้ าป้ อน (PPM) / (ค่ า TDS น้ าในหม้อไอน้ า (PPM) - ค่ า TDS
น้ าป้อน (PPM))] x ปริ มาณน้ าป้อนที่ใช้เฉลี่ยในหนึ่งชัว่ โมง (kg/h)
1.1.3 พลังงานความร้ อนทีล่ ดลงจากนา้ โบลว์ ดาวน์
QB = ปริ มาณการโบลว์ดาวน์ (kg/h) x (เอนธาลปี ของไอน้ าที่ความดันก่อนปรับ
ลดความดัน (kJ/kg) - เอนธาลปี ของไอน้ าที่ความดันหลังปรับลดความดัน (kJ/kg))
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
2.2.1 ระยะเวลาคืนทุน (y)
PB = ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน (B) / ค่าเชื้อเพลิงที่ลดลง (B/y)
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า

= ……… barg
ความดันหลัง = ……… barg

TDS นาใน
้ = ……… PPM
TDS = ……… PPM

หน้า 8 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายการ ตัวย่ อ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี h h/y 4,800 ข้อมูลโรงงาน
1.2 ปริ มาณการใช้เชื้ อเพลิง บิลเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็งทีใ่ ช้ตลอดทั้งปี mS k/y 0 4
- เชื้ อเพลิงเหลวทีใ่ ช้ตลอดทั้งปี mL l/y 480,000.00
3
- เชื้ อเพลิงก๊าซทีใ่ ช้ตลอดทั้งปี mG m /y 0 ผูจ้ าหน่ าย
1.3 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลี่ย
- ราคาเชื้ อเพลิงแข็งเฉลี่ย CS B/kg 0
- ราคาเชื้ อเพลิงเหลวเฉลี่ย CL B/l 14.00
- ราคาเชื้ อเพลิงก๊าซเฉลี่ย CG B/m3 0
1.4 เอนธาลปี ของไอน้ าทีค่ วามดันก่อนปรับลด hg kJ/kg 2,773.90 ตารางไอน้ า
1.5 เอนธาลปี ของไอน้ าทีค่ วามดันหลังปรับลด hN kJ/kg 2,769.10 ตารางไอน้ า
1.6 ค่าใช้จา่ ยในการดาเนิ นงาน C B 500.00 ผูใ้ ห้บริ การ
1.7 ประสิทธิภาพหม้อไอน้ า hB % 80.00 ตรวจวัด
1.8 ค่าความร้อนทางต่าของเชื้ อเพลิง คุณสมบัติ
เชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kJ/kg 0
- เชื้ อเพลิงเหลว LHVL kJ/l 41,280.00 น้ ามันเตา C
3
- เชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kJ/m 0
1.9 ตัวประกอบการใช้งาน OF - 0.80 ข้อมูลโรงงาน
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
2.1 ความดันสูงสุดก่อนปรับลด (Gage Pressure) Pg barg 9.00
2.2 ความดันสูงสุดหลังปรับลด (Gage Pressure) PN barg 8.00
2.3 ค่า TDS น้ าป้อน TDSF PPM 400.00
2.4 ค่า TDS น้ าในหม้อไอน้ า TDSB PPM 3,000.00
2.5 ปริ มาณน้ าป้อนทีใ่ ช้ใน 1 ชัว่ โมงเฉลี่ย WF kg/h 1,200.00

หน้า 9 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 3 การนาคอนเดนเสทกลับมาใช้ อ่ ุนนา้ ป้อนหม้ อไอนา้


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 ปริมาณคอนเดนเสททีน่ ากลับมาได้ โดยให้ Flash ไป 20% (kg/y)
4 CR = ปริ มาณการใช้เชื้อเพลิงตลอดทั้งปี x สัดส่ วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิง x
(เปอร์เซ็นต์คอนเดนเสทที่สามารถนากลับมาได้ / 100) x 0.80
1.1.2 ปริมาณความร้ อนในคอนเดนเสททีน่ ากลับมาใช้ (kJ/y)
QC = ปริ มาณคอนเดนเสทที่นากลับมาใช้ (kg/y) x (เอนธาลปี ของน้ าคอนเดน
เสทที่อุณหภูมิคอนเดนเสท (kJ/kg) - เอนธาลปี ของน้ าป้อนที่อุณหภูมิน้ าป้อน (kJ/kg))
1.1.3 เชื้อเพลิงทีป่ ระหยัดได้
F = ปริ มาณความร้อนในคอนเดนเสทที่นากลับมาใช้ (kJ//y) / (ค่าความร้อน
ทางต่าของเชื้อเพลิง x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า (%) / 100)
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
1.2.1 ระยะเวลาคืนทุน (y)
PB = เงินลงทุน (฿) / ค่าใช้จ่ายที่ลดลง (฿/y)
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า

หน้า 10 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 ชัว่ โมงการใช้งานของหม้อไอน้ า hr h/y 4,800
1.2 ปริ มาณการใช้เชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็งทีใ่ ช้ตลอดทั้งปี mS kg/y 0 4
- เชื้ อเพลิงเหลวทีใ่ ช้ตลอดทั้งปี mL l/y 200,000.00
- เชื้ อเพลิงก๊าซทีใ่ ช้ตลอดทั้งปี mG m3/y 0
1.3 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลี่ย
- ราคาเชื้ อเพลิงแข็งเฉลี่ย CS ฿/kg 0
- ราคาน้ ามันเชื้ อเพลิงเฉลี่ย CL ฿/L 14.00 น้ ามันเตา C
3
- ราคาเชื้ อเพลิงก๊าซเฉลี่ย CG ฿/m 0
3
1.4 ราคาน้ ารวมค่าปรับสภาพน้ า WC ฿/m 20.00
1.5 ประสิทธิภาพของหม้อไอน้ า hB % 80.00
1.6 ค่าความร้อนทางต่าของเชื้ อเพลิง
- ค่าความร้อนของเชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kJ/kg 0
- ค่าความร้อนของเชื้ อเพลิงเหลว LHVL kJ/L 41,280.00 น้ ามันเตา C
3
- ค่าความร้อนของเชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kJ/m 0
1.7 เปอร์เซ็นต์คอนเดนเสททีส่ ามารถนากลับมาได้ CD % 10.00
1.8 เอนธาลปี ของน้ าป้อนทีอ่ ณ
ุ หภูมนิ ้ าป้อน hf kJ/kg 125.79 hf ที่ 30oC
1.9 เอนธาลปี ของน้ าคอนเดนเสททีอ่ ณ
ุ หภูมคิ อนเดนเสท hC kJ/kg 376.92 hf ที่ 90oC
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
2.1 สัดส่วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิง
- สัดส่วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิงแข็งทีใ่ ช้ RS kg/kg 0
- สัดส่วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิงเหลวทีใ่ ช้ RL kg/l 13.00
- สัดส่วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิงก๊าซทีใ่ ช้ RG kg/m3 0
O
2.2 อุณหภูมนิ ้ าป้อน TF C 30.00
O
2.4 อุณหภูมนิ ้ าคอนเดนเสท TC C 90.00

หน้า 11 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 4 การซ่ อมแซมรอยรั่วในระบบส่ งจ่ ายไอนา้


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 อัตราการสู ญเสี ยไอนา้ ผ่ านรูรั่ว (kg/y)
4 mS = [ 0.2827 (ขนาดรู รั่ ว (mm))2 x (ความดัน ไอน้ า (kg/cm2) + 1.013)] x
จานวนรู รั่ว x ชัว่ โมงการใช้งานตลอดปี (h/y)
1.1.2 ปริมาณความร้ อนสู ญเสี ย (kJ/y)
Q = อัตราการการสู ญเสี ยไอน้ าผ่านรู รั่ว (kg/y) x (เอนธาลปี ของไอน้ าในท่อ
(kJ/kg) - เอนธาลปี ของน้ าป้อน (kJ/kg)
1.1.3 ปริมาณเชื้อเพลิงทีส่ ู ญเสี ย
MF = ปริ มาณความร้อนที่สูญเสี ย (kJ/y) / (ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง x
ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า (%) / 100)
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
1.2.1 ระยะเวลาคืนทุน (y)
PB = ค่าใช้จ่ายในการซ่อมรู รั่วทั้งหมด (฿) / ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้ (฿/y)
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า

หน้า 12 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 ชัว่ โมงการใช้งานตลอดปี h h/y 2,400 ข้อมูลโรงงาน
1.2 ราคาเชื้อเพลิงเฉลี่ย ผูจ้ าหน่ าย
- ราคาเชื้อเพลิงแข็งเฉลี่ย CS ฿/kg 0 4
- ราคาน้ ามันเชื้อเพลิงเฉลี่ย CL ฿/L 14.00
3
- ราคาเชื้อเพลิงก๊าซเฉลี่ย CG ฿/m 0
3
1.3 ค่าน้ าและค่าปรับสภาพน้ า CW ฿/m 20.00 บิลน้ า
1.4 เอนธาลปี ของไอน้ าในท่อทีค่ วามดันจุด d1 hg1 kJ/kg 2,763.50 ตารางไอน้ า
1.5 เอนธาลปี ของไอน้ าในท่อทีค่ วามดันจุด d2 hg2 kJ/kg 2,763.50 ตารางไอน้ า
1.6 ประสิทธิภาพของหม้อไอน้ า hB % 80.00 ตรวจวัด
1.7 ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง คุณสมบัติ
เชื้ อเพลิง
- ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงแข็ง LHVS kJ/kg 0
- ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงเหลว LHVL kJ/L 41,280.00
3
- ค่าความร้อนของเชื้อเพลิงก๊าซ LHVG kJ/m 0
1.8 เอนธาลปี ของน้ าป้อนทีอ่ ณ
ุ หภูมิน้ าป้อน hf kJ/kg 125.79 ตารางน้ าอิ่มตัว
1.9 ค่าใช้จ่ายในการซ่อมรูรั่วทั้งหมด C ฿ 500 ผูใ้ ห้บริ การ
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
2.1 ขนาดรู รั่วทีจ่ ดุ d1 d1 mm 1.00
2.2 จานวนรู รั่วทีจ่ ดุ d1 n1 จุด 1
2
2.3 ความดันไอน้ าทีจ่ ดุ d1 P1 kg/cm 7.00
2.4 ขนาดรู รั่วทีจ่ ดุ d2 d2 mm 0.50
2.5 จานวนรู รั่วทีจ่ ดุ d2 n2 จุด 3
2
2.6 ความดันไอน้ าทีจ่ ดุ d2 P2 kg/cm 7.00
O
2.7 อุณหภูมขิ องน้ าป้อน TF C 30.00

หน้า 13 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 5 การเปลีย่ นหม้ อไอนา้ ใหม่ ทมี่ ปี ระสิ ทธิภาพสู งกว่ าเดิม
1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 ร้ อยละอัตราส่ วนการผลิตไอนา้ ต่ อเชื้อเพลิงทีเ่ พิม่ ขึน้
4 %R = [(อั ต ราส่ วนการผลิ ต ไอน้ าต่ อ เชื้ อเพลิ ง ของหม้ อ ไอน้ าชุ ด ใหม่ -
อัตราส่ วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิงของหม้อไอน้ าชุ ดเดิ ม) / อัตราส่ วนการผลิตไอน้ า
ต่อเชื้อเพลิงของหม้อไอน้ าชุดเดิม] x 100
1.1.2 ปริ มาณการใช้เชื้อเพลิงลดลง
Fs = ปริ มาณการใช้เชื้ อเพลิงเดิ มตลอดทั้งปี x (อัตราส่ วนการผลิตไอน้ าต่ อ
เชื้อเพลิงของหม้อไอน้ าชุดเดิม / อัตราส่ วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้อเพลิงของหม้อไอน้ าชุด
ใหม่ )
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
1.2.1 ระยะเวลาคืนทุน (y)
PB = เงินลงทุนในการเปลี่ยนหม้อไอน้ า (฿) / ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงที่ลดลง (฿/y)
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า

หน้า 14 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

แหล่ งทีม่ า
รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล
ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 ขนาดพิกดั หม้อไอน้ าเดิม TONQ T/h 5
1.2 ขนาดพิกดั หม้อไอน้ าใหม่ TONN T/h 5 4
1.3 ปริ มาณการใช้เชื้ อเพลิงตลอดปี
- เชื้ อเพลิงแข็ง mFS kg/y 0
- เชื้ อเพลิงเหลว mFL L/y 500,000.00 น้ ามันเตา C
3
- เชื้ อเพลิงก๊าซ mFG m /y 0
1.4 อัตราส่วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิงของ
หม้อไอน้ าชุ ดใหม่
- เชื้ อเพลิงแข็ง RNS kg / kg fuel 0
- เชื้ อเพลิงเหลว RNL kg / L fuel 15.00 น้ ามันเตา C
3
- เชื้ อเพลิงก๊าซ RNG kg / Nm fuel 0
1.5 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลี่ย
เชื้ อเพลิงแข็ง CS ฿ / kg 0
เชื้ อเพลิงเหลว CL ฿/L 14.00 น้ ามันเตา C
3
เชื้ อเพลิงก๊าซ CG ฿/m 0
1.6 ค่าใช้จา่ ยทั้งหมดในการเปลี่ยนหม้อไอน้ า CC ฿ 6,000,000
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
2.1 อัตราส่วนการผลิตไอน้ าต่อเชื้ อเพลิงของ
หม้อไอน้ าชุ ดเดิม
- เชื้ อเพลิงแข็ง ROS kg/kg fuel 0
- เชื้ อเพลิงเหลว ROL kg/L fuel 10.00 น้ ามันเตา C
3
- เชื้ อเพลิงก๊าซ ROG kg/Nm fuel 0

หน้า 15 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 6 การหุ้มฉนวนผนังหม้ อไอนา้ หรื ออุปกรณ์ ใช้ ไอนา้


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 สั มประสิ ทธิ์การพาความร้ อนของผนัง (W/m2 O C)
4 -พืน้ ผิวแนวตั้ง
hCV = 1.5 × (อุณหภูมิผวิ ผนังแนวตั้ง (OC) - อุณหภูมิอากาศแวดล้อม (OC))0.25
×1.163
- พืน้ ผิวแนวนอนด้ านบน
hCHT = 2.2 × (อุ ณ หภู มิ ผิ ว ผนั ง แนวนอนด้า นบน ( OC) – อุ ณ หภู มิ อ ากาศ
แวดล้อม (OC))0.25 ×1.163
- พืน้ ผิวแนวนอนด้ านล่ าง
hCHU = 1.1 × (อุ ณ หภู มิ ผิ ว ผนั ง แนวนอนด้า นล่ า ง (OC) – อุ ณ หภู มิ อ ากาศ
แวดล้อม (OC))0.25 ×1.163
1.1.2 สั มประสิ ทธิ์การแผ่ รังสี ความร้ อน
- พืน้ ผิวแนวตั้ง
hrv = 5.6697 × 10-8 × ค่ า สภาพการเปล่ ง รั ง สี ค วามร้ อ น × ((อุ ณ หภู มิ ผิ ว ผนัง
แนวตั้ง (OC)+273)4 - (อุณ หภูมิอากาศแวดล้อม( OC)+273)4) / (อุ ณ หภู มิผิวผนังแนวตั้ง
(OC) - อุณหภูมิอากาศแวดล้อม(OC))
- พืน้ ผิวแนวนอนด้ านบน
hrHT = 5.6697 × 10-8 × ค่ าสภาพการเปล่ งรังสี ค วามร้ อน × ((อุ ณ หภูมิผิวผนัง
แนวนอนด้านบน (OC)+273)4 - (อุณหภูมิอากาศแวดล้อม(OC)+273)4)/(อุณหภูมิผิวผนัง
แนวนอนด้านบน(OC)-อุณหภูมิอากาศแวดล้อม(OC))
- พืน้ ผิวแนวนอนด้ านล่ าง
hrHU = 5.6697 × 10-8 × ค่าสภาพการเปล่ งรั งสี ความร้ อน × ((อุณ หภู มิผิวผนัง
แนวนอนด้านล่าง (OC)+273)4 - (อุณหภูมิอากาศแวดล้อม(OC)+273)4)/(อุณหภูมิผิวผนัง
แนวนอนด้านล่าง(OC)-อุณหภูมิอากาศแวดล้อม(OC))

หน้า 16 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

1.1.3 ความต้ านทานความร้ อนรวมของผนังทีห่ ุ้มฉนวน (m2 OC /W)


R = (ความหนาของฉนวน (m) / ค่าการนาความร้อนของฉนวน (W/m2 OC) +
(1/สัมประสิ ทธิ์การพาความร้อนของผิวฉนวน (W/m2 OC)) + ( 1 / สัมประสิ ทธิ์การแผ่
รังสี ความร้อนของผิวฉนวน (W/m2 OC)
1.1.4 สั มประสิ ทธิ์การส่ งถ่ ายความร้ อนรวมของผนังทีห่ ้ ุมฉนวน (W/m2 OC) 4
U = 1 / ความต้านทานความร้อนรวมของผนังที่หุม้ ฉนวน
1.1.5 ความร้ อนทีส่ ู ญเสี ยจากผนังทีห่ ้ ุมฉนวน (MJ/y)
QIN = พื้นที่ผนังที่หุม้ ฉนวน (m2) × สัมประสิ ทธิ์การส่ งถ่ายความร้อนรวมของผนัง
ที่หุม้ ฉนวน × (อุณหภูมิพ้นื ผิวผนังก่อนหุม้ ฉนวน (OC) - อุณหภูมิอากาศแวดล้อม (OC))
× ชัว่ โมงการใช้งานต่อปี (h/y) × 3.6/1000
1.1.6 ความร้ อนสู ญเสี ยลดลง (MJ/y)
QSAVE = (ความร้อนสู ญเสี ยก่อนหุม้ ฉนวน (MJ/y) – ความร้อนสู ญเสี ยหลังหุม้
ฉนวน (MJ/y)) × ตัวประกอบการใช้งานอุปกรณ์
1.1.7 ปริมาณเชื้อเพลิงทีล่ ดลง (หน่ วย/y)
F = ความร้อนสู ญเสี ยลดลง (MJ/y) × 1000 / (ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง
(kJ/หน่วย) × (ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า/100))
1.1.8 ค่ าใช้ จ่ายเชื้อเพลิงทีป่ ระหยัดได้ (บาท/ปี )
S = ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ลดลง (หน่วย/y) × ราคาเชื้อเพลิง (บาท/หน่วย)
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
1.2.1 ระยะเวลาคืนทุน (y)
PB = ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งฉนวน (บาท) / ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้
(บาท/ปี )

หน้า 17 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า

พื้นที่ผนังแนวนอนด้านบน =……..m2
4 อุณหภูมิพื้นผิว =………..oC

อุณหภูมิอากาศแวดล้อม =…….oC

พื้นทีผ่ นังแนวนอนด้านล่าง =……….m2


อุณหภูมิพื้นผิว =……….oC

พื้นทีผ่ นังแนวตัง้ =……….m2


อุณหภูมิพื้นผิว =……….oC

หน้า 18 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 เวลาใช้งานอุปกรณ์ตลอดทั้งปี H h/y
1.2 ราคาเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็ง CS ฿/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว CL ฿/L 4
- เชื้ อเพลิงก๊าซ CG ฿/m3
1.3 ตัวประกอบการใช้งานอุปกรณ์ OF
1.4 เลือกใช้ฉนวน…………………..ความหนา tinst m
1.5 ค่าการนาความร้อนของฉนวน kINS W/m OC
1.6 ค่าสภาพการเปล่งรังสี ความร้อนของผิวผนัง e -
1.7 อุณหภูมผิ วิ ฉนวนหลังหุ ้ม (สมมติ)
O
- ผนังแนวตั้ง TSVIN C
O
- ผนังแนวนอนด้านบน TSHTIN C
O
- ผนังแนวนอนด้านล่าง TSHUIN C
1.8 ประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า hB %
1.9 ความร้อนทางต่าของเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kJ/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว LHVL kJ/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kJ/m3
1.10 ค่าใช้จา่ ยในการติดตั้งฉนวนทั้งหมด CI ฿
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
2.1 พื้นทีผ่ นัง
- ผนังแนวตั้ง AV m2
- ผนังแนวนอนด้านบน AHT m2
- ผนังแนวนอนด้านล่าง AHU m2
2.2 อุณหภูมผิ วิ ผนังทีไ่ ม่ได้หุ้มฉนวน
O
- ผนังแนวตั้ง TSV C
O
- ผนังแนวนอนด้านบน TSHT C
O
- ผนังแนวนอนด้านล่าง TSHU C
O
2.3 อุณหภูมอิ ากาศแวดล้อม TO C

หน้า 19 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 7 การลดปริมาณการโบลว์ ดาวน์


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 ปริมาณการโบลว์ ดาวน์ (kg/sec)
4 mBD = สัมประสิ ทธิ์การไหลของวาล์ว x 1.11 x (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของ
วาล์ว(m)) x (ความดันในหม้อไอน้ า (barg) x 105 - ความดัน หลังผ่านวาล์ว (barg) x
2

105 )0.5 / (ปริ มาตรจาเพาะของไอน้ าที่ความดันหม้อไอน้ า)0.5


1.1.2 อัตราการปล่ อยนา้ ทิง้ ต่ อปี (kg/y)
my = ปริ มาณโบลว์ดาวน์ (kg/sec) x เวลาที่ใช้ในการโบลว์ดาวน์ต่อครั้ง (sec)
x จานวนครั้งในการโบลว์ดาวน์ต่อวัน (Time/day) x จานวนวันทางานต่อปี (d/y)
1.1.3 ปริมาณความร้ อนทีส่ ู ญเสี ย (kJ/y)
QBD = อัตราการปล่อยน้ าทิ้งต่อปี (kg/y) x (เอนทาลปี ของน้ าที่ความดันหม้อ
ไอน้ า (kJ/kg) - เอนทาลปี ของน้ าที่อุณหภูมิน้ าป้อน (kJ/kg))
1.1.4 ปริมาณเชื้อเพลิงลดลง
FS = ปริ มาณความร้ อนที่ สูญ เสี ยลดลง (kJ/y) / [(ค่ าความร้ อ นทางต่ าของ
เชื้อเพลิง (kJ/kg) x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า /100]
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
มาตรการนี้ไม่ตอ้ งใช้เงินลงทุน
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า
ความดันผลิตไอน้ า =……barg

เส้นผ่านศูนย์กลางวาล์ว =………m

ความดันทางออกของน้ า =………barg

หน้า 20 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 จานวนวันทางานตลอดทั้งปี day d/y 300
1.2 สัมประสิทธิ์การไหลของวาล์วโบลว์ดาวน์ CD 1
1.3 เวลาทีใ่ ช้ในการโบลว์ดาวน์ตอ่ ครั้งเดิม TP sec 60 4
1.4 เวลาทีใ่ ช้ในการโบลว์ดาวน์ตอ่ ครั้งใหม่ TPN sec 30
1.5 จานวนครั้งในการโบลว์ดาวน์ตอ่ วันเดิม n Time/day 8
1.6 จานวนครั้งในการโบลว์ดาวน์ตอ่ วันใหม่ nN Time/day 8
1.7 เอนทาลปี ของน้ าทีค่ วามดัน PB hBf kJ/kg 2,763.50 hf ที่ 7 barabs
1.8 เอนทาลปี ของน้ าทีอ่ ณ
ุ หภูมนิ ้ าป้อน TF hFf kJ/kg 251.13 hf ที่ 60 oC
1.9 ปริ มาตรจาเพาะของไอน้ าทีค่ วามดัน PB Vg m3/kg 0.2729 Vg ที่ 7 barabs
O
1.10 อุณหภูมนิ ้ าป้อนหม้อไอน้ า TF C 60
1.11 ค่าความร้อนทางต่าของเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kJ/kg 15,990 ไม้ฟืน
- เชื้ อเพลิงเหลว LHVL kJ/L 0
- เชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kJ/m3 0
1.12 ประสิทธิภาพของหม้อไอน้ า hB % 80
1.13 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลี่ย
- เชื้ อเพลิงแข็ง CS ฿/kg 0.5 ไม้ฟืน
- เชื้ อเพลิงเหลว CL ฿/L 0
- เชื้ อเพลิงก๊าซ CG ฿/m3 0
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
2.1ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโบลว์ดาวน์ d m 0.025
2.2 ความดันผลิตไอน้ าของหม้อไอน้ า PB barg 6.00
2.3 ความดันทางออกของน้ าโบลว์ดาวน์ PBD barg 0

หน้า 21 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 8 การหุ้มฉนวนท่ อ,วาล์ ว,หน้ าแปลน


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1สั มประสิ ทธิ์การพาความร้ อน (W/m2 K)
4 hC = 1.32 × ((อุณหภูมิพ้นื ผิว(OC) - อุณหภูมิสิ่งแวดล้อม (OC)) / (เส้นผ่าน
ศูนย์กลางท่อ (mm)/1000))0.25
1.1.2 สั มประสิ ทธิ์การแผ่ รังสี ความร้ อน (W/m2 K)
hR = 5.6697 ×10-8 × ค่ า การแผ่รั ง สี ค วามร้ อ นของพื้ น ผิ ว ×[(อุ ณ หภู มิ พ้ื น ผิ ว
( OC)+273)4 - (อุ ณ หภู มิ บ รรยากาศแวดล้ อ ม( OC) +273 )4] / (อุ ณ หภู มิ พ้ื น ผิ ว ( OC) -
อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม(OC))
1.1.3 สั มประสิ ทธิ์การส่ งถ่ ายความร้ อนรวมของท่ อเปลือย (W/m2 K)
h = สัมประสิ ท ธิ์ การพาความร้ อน(W/m2 K) + สัมประสิ ท ธิ์ การแผ่รังสี ความ
ร้อน (W/m2 K)
1.1.4 พลังงานความร้ อนสู ญเสี ยจากท่ อเปลือย (w/m)
QS = สัมประสิ ทธิ์ การถ่ายเทความร้อนรวม(W/m2 K) ×(อุณหภูมิพ้นื ผิวท่อ(OC) -
อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม( OC)) × ¶ × ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกท่อ(mm) /
1000
1.1.5 ค่ าความต้ านทานความร้ อนผ่ านฉนวน (m2 K /W)
RS = ln (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อรวมฉนวน(mm) / ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ภายนอกท่อ(mm) / (2׶ ×ค่าการนาความร้อนของฉนวน(W/m K))
1.1.6 ค่ าสั มประสิ ทธิ์การส่ งผ่ านความร้ อนของท่ อหุ้มฉนวน (W/m2)
U = 1/(ค่าความต้านทานความร้ อนผ่านฉนวน (m2 K/W) + (2/(¶ × (ขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางท่อรวมฉนวน(mm) xสัมประสิ ทธิ์การส่ งผ่านความร้อนรวมของผิวฉนวน
(W/m2 K))))

หน้า 22 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

1.1.7 พลังงานความร้ อนสู ญเสี ยจากท่ อทีห่ ้ ุมฉนวน (W/m)


Qinsl = (2 ׶ ×(อุ ณ หภู มิ ผิ ว ท่ อ (OC) - อุ ณ หภู มิ บ รรยากาศแวดล้อ ม ( OC))) / [( ln
(ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางท่ อ รวมฉนวน (mm)/ ขนาดเส้น ผ่านศู น ย์กลางภายนอกท่ อ
(mm)) ×(1/ ค่าการนาความร้อนของฉนวน(W/m K)) +(2/(ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ
รวมฉนวน(mm) ×สัมประสิ ทธิ์การส่ งผ่านความร้อนรวมของผิวฉนวน(W/m2K))] 4
1.1.8 อุณหภูมผิ วิ ฉนวนจากการคานวณ
Tin = อุณหภูมิบรรยากาศแวดล้อม(OC) + พลังงานความร้ อนสู ญเสี ยจากท่อที่ หุ้ม
ฉนวน(W/m) /(¶ ×สั ม ประสิ ท ธิ์ การส่ ง ผ่านความร้ อ นรวมของผิ ว ฉนวน(W/m2 K) ×
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกท่อรวมฉนวน (mm))
1.1.9 พลังงานความร้ อนทีส่ ู ญเสี ยลดลง (W/m)
QSAVE = พลัง งานความร้ อ นสู ญ เสี ย ของท่ อ ไม่ หุ้ ม ฉนวน – พลัง งานความร้ อ น
สู ญเสี ยจากท่อที่หุม้ ฉนวน
1.1.10 พลังงานความร้ อนทีป่ ระหยัดได้
HSAVE = พลังงานความร้อนสู ญเสี ยที่ลดลง × ความยาวท่อเทียบเท่า(m)×เวลาใช้งาน
ระบบไอน้ าต่อปี (h/y) ×3.6/1,000
1.1.11 ปริมาณเชื้อเพลิงทีป่ ระหยัดได้
FS = พลังงานความร้อนที่ประหยัดได้ × 1000 /((ประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า/100) ×
ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง)
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
PB = ค่าใช้จ่ายวัสดุและค่าแรง/ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่
ในช่องสี ฟ้า

หน้า 23 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

หน้าแปลนขนาด…….mm จานวน………ชุด
อุณหภูมิผวิ ท่อ

4
L L
ท่อตรงขนาด………mm ความยาวท่อ วาล์วขนาด………..mm จานวน……..
=………..m
รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า
ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 เวลาใช้งานระบบไอน้ าตลอดทั้งปี wh h/y
1.2 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลี่ยต่อหน่ วย
- เชื้ อเพลิงแข็ง CS ฿/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว CL ฿/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ CG ฿/m3
1.3 เลือกใช้ความหนาฉนวน t_insl mm
1.4 ค่าการนาความร้อนของฉนวน ki W/m K
1.5 ค่าการแผ่รังสีของผิวท่อไม่ได้หุ้มฉนวน eS
1.6 ค่าการแผ่รังสีของผิวฉนวน ei
1.7 ประสิทธิภาพหม้อไอน้ า hB %
1.8 ค่าความร้อนของเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kJ/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว LHVL kJ/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kJ/m3
1.9 เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกท่อ d mm
1.10 เส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อ di mm
1.13 ค่าใช้จา่ ยวัสดุและค่าแรง CI ฿

หน้า 24 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

2. ข้ อมูล ตรวจวัด
2.1 ขนาดท่อ nominal diameter dn mm
- ความยาวท่อตรง L m
2.2 จานวนหน้าแปลนชนิ ด n G10
- Flank 10 kg/cm2 ความยาวเทียบเท่า = 1.2 × n le1 m 0.00 4
2.3 จานวนวาล์ว ชนิ ด n G10
- Globe Valve 10 kg/cm2 ความยาวเทียบเท่า = 1.2 × n le2 m 0.00
2.4 จานวนวาล์ว ชนิ ด n G10
- Gate Valve 10 kg/cm2 ความยาวเทียบเท่า = 1.2 × n le3 m 0.00
2.5 จานวนวาล์ว ชนิ ด n C10
- Control Valve 10 kg/cm2 ความยาวเทียบเท่า = 1.2 × n le4 m 0.00
2.6 ความยาวท่อเทียบเท่าทั้งหมด m Le 0.00
Le = L + le1 + le2 + le3 + le4
2.7 ความดันไอน้ าทีท่ อ่ หรื อวาล์ว PU kg/cm2
O
2.8 อุณหภูมไิ อน้ าในท่อ tb C
O
2.9 อุณหภูมผิ วิ ท่อ Ts C
2.10 ความดันไอน้ าทีห่ ม้อน้ า Pg kg/cm2
O
2.11 อุณหภูมอิ ากาศแวดล้อม Ta C
O
2.12 อุณหภูมภิ ายนอกฉนวน (สมมุตคิ า่ ) T2 C

หน้า 25 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 9 การนาไอเสี ยจากปล่ องไอเสี ยไปใช้ ประโยชน์


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 พลังงานความร้ อนทีส่ ู ญเสี ยทางปล่ อง
4 - เชื้อเพลิงแข็ง (kcal/y)
QES = อัตราการใช้เชื้อเพลิงแข็งเฉลี่ย (kg/h) x ปริ มาณก๊าซไอเสี ยจริ ง (Nm3/kg) x
ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณ หภูมิไอเสี ยออกจากห้องเผาไหม้
(OC) - อุณหภูมิอากาศเข้าห้องเผาไหม้ (OC)) x ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี (h/y) x
ตัวประกอบการทางาน x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ (%) / 100
- เชื้อเพลิงเหลว (kcal/y)
QEL = อัตราการใช้เชื้ อเพลิงเหลวเฉลี่ย (L/h) x ความหนาแน่ นของเชื้ อเพลิ ง (kg/L) x
ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณ หภูมิไอเสี ยออกจากห้องเผาไหม้
(OC) - อุ ณ หภู มิ อ ากาศเข้า ห้ อ งเผาไหม้ ( OC)) x ชั่ว โมงการใช้ ง านตลอดทั้ง ปี (h/y) x ตัว
ประกอบการทางาน x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ (%) / 100
- เชื้อเพลิงก๊ าซ (kcal/y)
QEG = อัตราการใช้เชื้อเพลิงก๊าซเฉลี่ย (m3/h) x ความหนาแน่ นของเชื้อเพลิง (kg/m3) x
ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณ หภูมิไอเสี ยออกจากห้องเผาไหม้
(OC) - อุ ณ หภู มิ อ ากาศเข้า ห้ อ งเผาไหม้ ( OC)) x ชั่ว โมงการใช้ ง านตลอดทั้ง ปี (h/y) x ตัว
ประกอบการทางาน x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ (%) / 100
1.1.2 พลังงานความร้ อนทีน่ าไปใช้ ประโยชน์
- เชื้อเพลิงแข็ง (kg/y)
FSS = พลังงานความร้อนที่สูญเสี ยออกทางปล่องลดลง (kcal/y) x (ประสิ ทธิภาพ
อุ ป กรณ์ แลกเปลี่ ย นความร้ อ น /100)/ (ค่ า ความร้ อ นทางต่ า ของเชื้ อเพลิ ง (kcal/kg) x
ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง/100)- เชื้อเพลิงเหลว (L/y)

หน้า 26 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

FSL = พลังงานความร้ อ นที่ สู ญ เสี ย ออกทางปล่ อ งลดลง (kcal/y) x (ประสิ ท ธิ ภ าพ


อุปกรณ์ แลกเปลี่ ยนความร้ อน /100)/ (ค่าความร้ อ นทางต่ าของเชื้ อเพลิ ง (kcal/kg) x ความ
หนาแน่นของเชื้อเพลิงเหลว (kg/L) x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง/100)
- เชื้อเพลิงก๊ าซ (m3/y)
FSG =พลังงานความร้อนที่สูญเสี ยออกทางปล่องลดลง (kcal/y) x (ประสิ ทธิภาพ 4
อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน /100)/ (ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง (kcal/kg) x ความ
หนาแน่นของเชื้อก๊าซ (kg/m3) x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง/100)
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
PB = เงิ น ลงทุ น ติ ดตั้งอุ ป กรณ์ แลกเปลี่ ย นความร้ อ น (บาท) / ค่ าพลังงานความร้ อ นที่
นาไปใช้ประโยชน์ได้ (บาท/ปี )
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้ อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่ ใน
ช่องสี ฟ้า
ใช้โปรแกรม Excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยป้อนข้อมูลเบือ้ งต้นและข้อมูลตรวจวัด

หน้า 27 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี h h/y
1.2 ค่าความร้อนทางต่าของเชื้ อเพลิง
4 - เชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kcal/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว LHVL kcal/kg
- เชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kcal/kg
1.3 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลีย่ ต่อหน่ วย
- เชื้ อเพลิงแข็ง CS ฿/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว CL ฿/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ CG ฿/m3
1.4 ความหนาแน่ นของเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงเหลว DL kg/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ DG kg/m3
1.5 ตัวประกอบการทางาน OF
1.6 ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย CPg kcal/Nm3 OC
O O
(ที่ 200 C = 0.33 , ที่ 400 C = 0.34)
1.7 ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ hC %
1.8 ประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า hB %
1.9 อัตราการใช้เชื้ อเพลิงเฉลี่ย
- เชื้ อเพลิงแข็ง mFS kg/h
- เชื้ อเพลิงเหลว mFL L/h
- เชื้ อเพลิงก๊าซ mFG m3/h
1.10 ประสิ ทธิ ภาพของอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน hHX %
1.11 เงิ นลงทุนติดตั้งอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน CI ฿
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
O
2.1 อุณหภูมไิ อเสี ยออกจากห้องเผาไหม้เดิม TgO C
O
2.2 อุณหภูมอิ ากาศเข้าห้องเผาไหม้เดิม TaO C
O
2.3 อุณหภูมไิ อเสี ยออกจากห้องเผาไหม้หลังนาไปใช้ TgN C
2.4 ปริ มาณออกซิเจนออกจากห้องเผาไหม้เดิม O2O %

หน้า 28 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

มาตรการที่ 10 การทาความสะอาดพืน้ ผิวแลกเปลีย่ นความร้ อน


1. สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์
1.1 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ ทางเทคนิค
1.1.1 พลังงานความร้ อนทีส่ ู ญเสี ยทางปล่ อง
- เชื้อเพลิงแข็ง (kcal/y) 4
QES = อัตราการใช้เชื้อเพลิงแข็งเฉลี่ย (kg/h) x ปริ มาณก๊าซไอเสี ยจริ ง (Nm3/kg) x
ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณ หภูมิไอเสี ยออกจากห้องเผาไหม้
(OC) - อุ ณ หภู มิ อ ากาศเข้า ห้ อ งเผาไหม้ ( OC)) x ชั่ว โมงการใช้ ง านตลอดทั้ง ปี (h/y) x ตัว
ประกอบการทางาน x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ (%)/100 - เชื้อเพลิงเหลว(kcal/y)
QEL = อัต ราการใช้เชื้ อ เพลิ ง เหลวเฉลี่ ย (L/h) x ความหนาแน่ น ของเชื้ อ เพลิ ง
(kg/L) x ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณหภูมิไอเสี ยออกจากห้อง
เผาไหม้ (OC) - อุณหภูมิอากาศเข้าห้องเผาไหม้ ( OC)) x ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี (h/y) x
ตัวประกอบการทางาน x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ (%)/100
- เชื้อเพลิงก๊ าซ (kcal/y)
QEG = อัตราการใช้เชื้ อ เพลิ งก๊ าซเฉลี่ ย (m3/h) x ความหนาแน่ น ของเชื้ อเพลิ ง
(kg/m3) x ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย (kcal/Nm3 OC) x (อุณหภูมิไอเสี ยออกจากห้อง
เผาไหม้ (OC) - อุณหภูมิอากาศเข้าห้องเผาไหม้ ( OC)) x ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี (h/y) x
ตัวประกอบการทางาน x ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ (%)/100
1.1.2 ปริมาณความร้ อนสู ญเสี ยลดลง (kcal/y)
QS = พลัง งานความร้ อ นที่ สู ญ เสี ย ก่ อ นขู ด เขม่ า (kcal/y) - พลัง งานความร้ อ นที่
สู ญเสี ยหลังขูดเขม่า (kcal/y)
1.1.3 ปริมาณเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้
- เชื้อเพลิงแข็ง (kg/y)
FSS = ปริ มาณความร้อนสู ญเสี ยลดลง (kcal/y) / (ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง
แข็ง (kcal/kg) x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า (%) / 100)

หน้า 29 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

-เชื้อเพลิงเหลว (L/y)
FLS = ปริ มาณความร้อนสู ญเสี ยลดลง (kcal/y) / (ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง
เหลว (kcal/kg) x ความหนาแน่นของเชื้อเพลิงเหลว (kg/L) x ประสิ ทธิภาพหม้อไอน้ า (%) /
100)
4 - เชื้อเพลิงก๊ าซ (m3/y)
FGS = ปริ มาณความร้อนสู ญเสี ยลดลง (kcal/y) / (ค่าความร้อนทางต่าของเชื้อเพลิง
ก๊าซ (kcal/kg) x ความหนาแน่ นของเชื้ อ เพลิ ง (kg/m3) x ประสิ ท ธิ ภาพหม้อไอน้ า (%) /
100)
1.1.4 ค่ าเชื้อเพลิงลดลง
CS = ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้ x ราคาเชื้อเพลิงเฉลี่ยต่อหน่วย
1.2 สมการทีใ่ ช้ ในการวิเคราะห์ การลงทุน
PB = เงินลงทุน (บาท) / ค่าเชื้อเพลิงลดลง (บาท/ปี )
2. การวิเคราะห์ ข้อมูล
ใช้โปรแกรม excel ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยป้ อนข้อมูลเบื้องต้นและข้อมูลตรวจวัดใส่ ใน
ช่องสี ฟ้า

หน้า 30 จาก 31
บทที่ 4 แนวทางการอนุรักษ์พลังงานและการตรวจวิเคราะห์มาตรการอนุรักษ์พลังงาน

รายการ สั ญลั กษณ์ หน่ วย ข้ อมูล แหล่ งทีม่ า


ของข้ อมูล
1. ข้ อมูล เบือ้ งต้ น
1.1 ชัว่ โมงการใช้งานตลอดทั้งปี h h/y
1.2 ค่าความร้อนทางต่าของเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงแข็ง LHVS kcal/kg
4
- เชื้ อเพลิงเหลว LHVL kcal/kg
- เชื้ อเพลิงก๊าซ LHVG kcal/kg
1.3 ราคาเชื้ อเพลิงเฉลี่ยต่อหน่ วย
- เชื้ อเพลิงแข็ง CS ฿/kg
- เชื้ อเพลิงเหลว CL ฿/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ CG ฿/m3
1.4 ความหนาแน่ นของเชื้ อเพลิง
- เชื้ อเพลิงเหลว DL kg/L
- เชื้ อเพลิงก๊าซ DG kg/m3
1.5 ตัวประกอบการทางาน OF
1.6 ค่าความจุความร้อนของก๊าซไอเสี ย CPg kcal/Nm3 OC
(ที่ 200 OC = 0.33 , ที่ 400 OC = 0.34)
1.7 ประสิ ทธิ ภาพการเผาไหม้ hC %
1.8 ประสิ ทธิ ภาพหม้อไอน้ า hB %
1.9 อัตราการใช้เชื้ อเพลิงเฉลี่ย
- เชื้ อเพลิงแข็ง mFS kg/h
- เชื้ อเพลิงเหลว mFL L/h
- เชื้ อเพลิงก๊าซ mFG m3/h
1.10 ค่าเครื่ องมือตรวจวัดปริ มาณออกซิเจนส่วนเกิน CI ฿
2. ข้ อมูล ตรวจวัด
O
2.1 อุณหภูมไิ อเสี ยออกจากห้องเผาไหม้กอ่ นขูดเขม่า TgO C
O
2.2 อุณหภูมอิ ากาศเข้าห้องเผาไหม้กอ่ นขูดเขม่า TaO C
O
2.3 อุณหภูมไิ อเสี ยออกจากห้องเผาไหม้หลังขูดเขม่า TgN C
O
2.4 อุณหภูมอิ ากาศเข้าห้องเผาไหม้หลังขูดเขม่า TaN C
2.5 ปริ มาณออกซิเจนออกจากห้องเผาไหม้กอ่ นขูดเขม่า O2O %
2.6 ปริ มาณออกซิเจนออกจากห้องเผาไหม้หลังขูดเขม่า O2N %

หน้า 31 จาก 31
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

บทที่ 5
กรณีศึกษาทีป่ ระสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์ พลังงาน

5.1 กรณีศึกษาที่ประสบผลสาเร็จ

การด าเนิ น มาตรการอนุ รัก ษ์พ ลังงานที่ ป ระสบผลส าเร็ จได้อ ย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพควรดาเนิ นมาตรการตามที่ มี ผูด้ าเนิ น การประสบผลสาเร็ จ 5
มาแล้ว จะส่ งผลให้ง่ายต่อการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารที่ จะให้ผูป้ ฏิ บัติงาน
ดาเนินการหรื อให้ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุ งหรื อเปลี่ยนระบบ/อุปกรณ์

หน้า 1 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 2 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 3 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 4 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 5 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 6 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 7 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 8 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2 เทคโนโลยีการอนุรักษ์ พลังงาน


เทคโนโลยีการอนุ รักษ์พลังงานถือเป็ นการเทคนิ คการปรับปรุ งเพื่อ
เพิ่มประสิ ทธิ ภาพการใช้พลังงานของโรงงานให้สูงขึ้นและทันสมัย
5.2.1 การใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อน (Heat Pump for Process Heating)
1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
ปั๊มความร้ อน คืออะไร 5
ปั๊มความร้อน เป็ นระบบที่มีวฏั จักรการทางานทางเทอร์โมไดนามิกส์ที่รู้จกั กันว่า Carnot
Cycle ซึ่ งดึ งความร้อนจากแหล่งความร้อนแล้วนาไปถ่ายเทในบริ เวณที่ ตอ้ งการความ
ร้อ น หรื อ กล่ าวอย่างง่ายๆก็คื อการปั๊ มความร้ อ นจากจุ ดหนึ่ งไปยังอี กจุด หนึ่ งนั่น เอง
วัฏจักรการทางานของปั๊ มความร้อนมีลกั ษณะเช่ นเดี ยวกับระบบการทาความเย็นแบบ
อัด ไอ (Mechanical Vapour Compression System) ต่ า งกัน เพี ย งแต่ ปั๊ ม ความร้ อ นจะ
เลือกใช้ประโยชน์จากด้านความร้อนเป็ นหลักและควบคุมอุณหภูมิดา้ นความร้อนแทน
ด้านความเย็น
ส่ วนประกอบการทางานหลักของปั๊มความร้ อนประกอบด้ วย
 อี ว าพอเรเตอร์ ท าหน้ า ที่ ดึ ง ความร้ อ นจากภายนอกเข้าสู่ ว งจรปั๊ ม ความร้ อ น
โดยสารทาความเย็นที่ความดันต่าและอุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิภายนอกจะดึงความ
ร้อนจากภายนอกและเปลี่ยนสถานะเป็ นไอ
 คอมเพรสเซอร์ ทาหน้าที่เพิ่มความดันให้สารทาความเย็นในสถานะไอที่อุณหภูมิ
ต่าให้มีความดันและอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าภายนอกและส่ งต่อไปที่คอนเดนเซอร์
 คอนเดนเซอร์ ท าหน้าที่ ระบายความร้ อ นจากสารท าความเย็น ที่ ค วามดัน และ
อุณหภูมิสูงกว่าภายนอก ทาให้สารทาความเย็นเปลี่ยนสถานะเป็ นของเหลวที่ความ
ดันสู งไหลต่อไปยังเอ็กซ์แพนชัน่ วาล์ว
 เอ็กซ์ แพนชั่ นวาล์ ว ทาหน้าที่ลดความดันของสารทาความเย็นเพื่อป้ อนให้กบั อีวา
พอเรเตอร์

หน้า 9 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.1 การใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อน (Heat Pump for Process Heating) ต่อ

รูปที่ 5.2-1 แสดงวัฏจักรการทางานของปั๊มความร้อน (2)


จึงเห็นได้ว่าปั๊ มความร้อนจะทางานโดยใช้การหมุนเวียนของสารทาความเย็นเพื่อ
พาความร้อนจากแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิต่ามาให้แก่ดา้ นที่ ตอ้ งการอุณหภูมิสูงได้
โดยใช้พลังงานจากคอมเพรสเซอร์ ความร้อนที่ได้จากปั๊ มความร้อนจึงมีค่าเท่ากับความ
ร้อนจากภายนอกผ่านอีวาพอเรเตอร์รวมกับพลังงานไฟฟ้าที่ป้อนให้กบั คอมเพรสเซอร์
การประยุกต์ ใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อนในกระบวนการผลิต
จากหลัก การท างานของปั๊ ม ความร้ อ นจะเห็ น ได้ว่าปั๊ ม ความร้ อ นสามารถใช้
ประโยชน์จากความร้อนจากแหล่งความร้อนที่ มีอุณหภูมิต่ า เช่ น ความร้อนในอากาศ
หรื อแหล่งความร้อนสู ญเสี ยซึ่ งไม่สามารถนากลับมาใช้ได้ดว้ ยกระบวนการแลกเปลี่ยน
ความร้อนตามปกติ มาทาให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นจนสามารถนากลับมาใช้ได้
ในระบบปั๊ มความร้ อนทัว่ ไปซึ่ งมี ค่า COP (Heating) เท่ากับ 3 พลังงานไฟฟ้ าที่
ป้ อนเข้าไปที่ ค อมเพรสเซอร์ เพี ยง 1 ส่ ว นสามารถสร้ างความร้ อ นได้ถึ ง 3 ส่ ว น โดย
พลังงานความร้ อนอี ก 2 ส่ วนจะดึ งมาจากอากาศภายนอกหรื อความร้ อ นสู ญ เสี ยจาก
กระบวนการอื่นได้ ดังนั้นปั๊ มความร้อนจึงเป็ นเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิภาพด้านพลังงาน
สู งสาหรับการทาความร้อน ได้แก่ การผลิตน้ าร้อนสาหรับกระบวนการผลิตในโรงงาน
อุตสาหกรรมหรื อในอาคาร รวมทั้งการอบแห้งเพื่อไล่ความชื้นในผลิตภัณฑ์ต่างๆ

หน้า 10 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.1 การใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อน (Heat Pump for Process Heating) ต่ อ


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
จากผลการวิเคราะห์ ก ารใช้พ ลังงานของการใช้ปั๊ ม ความร้ อ นในการผลิ ตความร้ อ น
เปรี ย บเที ย บกับ การใช้ห ม้อ ต้ม น้ า ด้ว ยน้ า มัน เตา LPG และไฟฟ้ า (5) ปั๊ ม ความร้ อ นมี
ศักยภาพในการประหยัดพลังงานได้มากกว่า 60% โดยสามารถประเมินเปรี ยบเทียบใน
กรณี การผลิตน้ าร้อนอุณหภูมิ 55 oC จากน้ าดิ บอุณหภูมิ 27 oC ปริ มาณ 16,000 ลิตรต่อ
วัน (เทียบเท่าปริ มาณการใช้น้ าร้อนสาหรับโรงแรมขนาด 100 ห้อง) ดังนี้ 5
พลังงานความร้อนที่ตอ้ งใช้ในการผลิตน้ าร้อน 448,000 กิโลแคลอรี่

ประสิ ทธิภาพ ปริมาณการใช้ ปริมาณการใช้


ประเภทหม้ อต้ มนา้ การให้ ความ พลังงาน เชื้อเพลิง
ร้ อน (kcal)
ด้วยน้ ามันเตา 60% 746,666 79 ลิตร/วัน
ด้วยก๊าซ LPG 70% 640,000 53 กก./วัน
ด้วยขดลวดไฟฟ้า 100% 448,000 520 kWh
ด้วยปั๊มความร้อน 300% 149,333 173 kWh
ตารางที่ 5.2-1 แสดงศักยภาพการประหยัดพลังงานของปั๊มความร้อน (5)
การเพิม่ ขึน้ ของ ปริมาณ
กรณี ประสิ ทธิภาพ พลังงาน
การให้ ความร้ อน ทีป่ ระหยัดได้
เปลี่ยนจากน้ ามันเตาเป็ นปั๊ มความร้อน จาก 60% เป็ น 300% 80%
เปลี่ยนจาก LPG เป็ นปั๊ มความร้อน จาก 70% เป็ น 300% 76%
เปลี่ยนจากขดลวดไฟฟ้าเป็ นปั๊ มความร้อน จาก 100% เป็ น 300% 66%
นอกจากนี้ จากข้อ มู ล การติ ด ตั้ง ใช้ ง านปั๊ ม ความร้ อ นในกระบวนการผลิ ต ใน
อุ ต สาหกรรมยังแสดงถึ งปริ ม าณพลัง งานที่ ป ระหยัด ได้ซ่ ึ งมากกว่า 30% ในหลายๆ
กระบวนการ (2)

หน้า 11 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.1 การใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อน (Heat Pump for Process Heating) ต่ อ


4. สภาพทีเ่ หมาะสมกับการใช้ เทคโนโลยี
เทคโนโลยีปั๊มความร้อนเหมาะสาหรับการใช้ผลิตความร้อน ได้แก่ น้ าร้อน หรื ออากาศ
ร้อน สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมหรื ออาคาร ในช่วงอุณหภูมิของการทาความร้อนไม่
เกิน 60 oC ซึ่ งเป็ นช่วงที่ปั๊มความร้อนทางานที่ประสิ ทธิภาพสู ง โดยการผลิตความร้อนที่
อุณหภูมิสูงกว่านี้ จะทาให้ปั๊มความร้อนมีประสิ ทธิ ภาพลดลงมาก รวมทั้งข้อจากัดของ
5 คอมเพรสเซอร์ที่ไม่สามารถทางานได้อุณหภูมิสูงกว่าช่วง 80 – 90 oC
5. กลุ่มเป้าหมายการประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยี
กลุ่มของโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารที่สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีน้ ี ได้แก่
 โรงงานผลิตอาหารและเครื่ องดื่ม
 โรงงานเคมี
 โรงงานสิ่ งทอ
 โรงงานผลิตชิ้นส่ วนโลหะ
 โรงงานอบแห้งไม้แปรรู ป
 อาคารโรงแรม
 อาคารโรงพยาบาล
 ฯลฯ
6. ราคาของเทคโนโลยี
ราคาของระบบปั๊ ม ความร้ อ นส าหรับ การทาความร้ อน จะขึ้ น อยู่กับ ขนาดติ ดตั้งของ
ระบบและประเภทการติดตั้งใช้งาน โดยจากข้อมูลผูจ้ าหน่ ายระบบ (6) และกรณี ศึกษา
การติดตั้งในประเทศไทย (4) (5) ค่าใช้จ่ายของการติดตั้งระบบปั๊ มความร้อนแบบวงจรปิ ด
จะอยูร่ ะหว่าง 12,000 – 28,000 บาทต่อกิโลวัตต์ความร้อนหรื อ 3,500,000 – 8,200,000
บาทต่อ MMBtu

หน้า 12 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.1 การใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อน (Heat Pump for Process Heating) ต่ อ


7. ระยะเวลาคืนทุนของเทคโนโลยี
จากข้อมูลจากกรณี ศึกษาการติ ดตั้งในประเทศไทย (4) (5) (6) เทคโนโลยีการใช้ปั๊มความ
ร้อนในการทาความร้อนสามารถให้ผลประหยัดซึ่ งมีระยะเวลาคืนทุนประมาณ 2 – 5 ปี
ซึ่งในบางกรณี ปั๊มความร้อนอาจให้ระยะเวลาคืนทุนไม่ถึง 1 ปี
8. ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม
เทคโนโลยีปั๊ ม ความร้ อ นมี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ งแวดล้อ มต่ า อยู่ในระดับ เดี ย วกับ ระบบ 5
เครื่ องปรับอากาศทัว่ ไป
9. ความแพร่ หลายและศักยภาพการขยายผลในประเทศไทย
จากการตรวจสอบกับผูจ้ าหน่ายและฐานข้อมูลโรงงานอาคารควบคุมของ พพ. ประมาณ
การว่ามีการนาเทคโนโลยีการลดความชื้ นด้วยสารดูดความชื้นเหลวไปประยุกต์ใช้แล้ว
กับสถานประกอบการประมาณไม่เกิ น 4% ของจานวนสถานประกอบการที่สามารถ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีน้ ีได้ (ประมาณ 100 แห่งจาก 2,741 แห่ง)
โดยเมื่อพิจารณากลุ่มเป้ าหมายการใช้เทคโนโลยีน้ ี ในกลุ่มอุตสาหกรรมและอาคารที่มี
ศัก ยภาพแล้ว พบว่า เทคโนโลยีน้ ี สามารถขยายผลในสถานประกอบการที่ มี ก ารใช้
พลังงานรวมกันประมาณ 9,797 ktoe ตามข้อมูลการใช้พลังงานของประเทศในปี 2549
(7)
และจากการประมาณการในกรณี ที่ 20% ของสถานประกอบการที่มีศกั ยภาพเหล่านี้
นาเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้จะทาให้เกิ ดผลประหยัดพลังงานให้กบั ประเทศได้ปีละ
ประมาณ 19,594 ล้านบาท
10. ตัวอย่ างกรณีศึกษา (3)
กรณีศึกษา: โรงแรม The Royal City
ประเภทอาคาร: โรงแรมขนาดห้องพัก 400 ห้อง
การใช้เทคโนโลยี: ติดตั้งระบบปั๊ มความร้ อนเพื่อทาน้ าร้อนแทนการใช้
หม้อไอน้ าเดิมซึ่ งใช้น้ ามันเตาเป็ นเชื้อเพลิง

หน้า 13 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.1 การใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อน (Heat Pump for Process Heating) ต่ อ


เงินลงทุน: 1,120,000 บาท (ระบบปั๊ มความร้ อ นขนาดพิ กั ด
ก าลัง ไฟฟ้ า 5.25 kW ซึ่ งมี อ ัต ราการท าน้ าร้ อ นได้
861 ลิ ต รต่ อ ชั่ว โมง รองรั บ ภาระการใช้น้ าร้ อ นได้
20,000 ลิตรต่อวัน ทางานร่ วมกับถังเก็บน้ าร้อนขนาด
13,000 ลิตร จานวน 2 ถัง)
5 ผลประหยัดพลังงาน: น้ ามันเตา 70,273 ลิตร/ปี (2,795 GJ/ปี ) ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 37,405
kWh/ปี (135 GJ/ปี )
ค่าพลังงานที่ประหยัดได้: 517,412 บาท/ปี
ค่าใช้จ่ายอื่นที่ประหยัดได้: -
ระยะเวลาคืนทุน: 2.16 ปี

กรณีศึกษา: โรงแรม Mike


ประเภทอาคาร: โรงแรมขนาดห้องพัก 110 ห้อง
การใช้เทคโนโลยี: ติดตั้งระบบปั๊ มความร้อนเพื่อทาน้ าร้อนแทนการใช้
หม้อทาน้ าร้อนเดิมซึ่งใช้ LPG เป็ นเชื้อเพลิง
เงินลงทุน: 557,000 บาท (ระบบปั๊มความร้อนขนาดพิกดั
กาลังไฟฟ้า 11 kW ซึ่ งมีอตั ราการทาน้ าร้อนได้ 1,200
ลิตรต่อชัว่ โมง พร้อมถังเก็บน้ าร้อนขนาด 3,000 ลิตร)
ผลประหยัดพลังงาน: LPG 17,520 kg/ปี (880 GJ/ปี ) ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 54,073 kWh/ปี
(195 GJ/ปี )
ค่าพลังงานที่ประหยัดได้: 131,351 บาท/ปี
ค่าใช้จ่ายอื่นที่ประหยัดได้: -
ระยะเวลาคืนทุน: 4.24 ปี

หน้า 14 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.1 การใช้ ปั๊มความร้ อนสาหรับการทาความร้ อน (Heat Pump for Process Heating) ต่ อ


กรณีศึกษา: จากกรายงาน Energy Audit โรงงานประกอบรถยนต์
ประเภทอาคาร: โรงงานประกอบรถยนต์
การใช้เทคโนโลยี: ติดตั้งระบบปั๊ มความร้อนเพื่อทาน้ าร้อนแทนการใช้
หม้อไอน้ าเดิมซึ่ งใช้ LPG เป็ นเชื้อเพลิง
เงินลงทุน: 420,000 บาท (ระบบปั๊มความร้อนขนาดพิกดั
กาลังไฟฟ้า 7.8 kW ซึ่ งมีอตั ราการทาน้ าร้อนได้ 700 5
ลิตรต่อชัว่ โมง)
ค่าพลังงานที่ประหยัดได้: 180,181 บาท/ปี
ค่าใช้จ่ายอื่นที่ประหยัดได้: -
ระยะเวลาคืนทุน: 2.32 ปี
11. แหล่ งข้ อมูลอ้ างอิง
(1) Energy Efficiency: A Guide to Current and Emerging Technologies, Volume 2
Part 8 Chapter 3: Heat Pump and Related Plant, Centre for Advanced
Engineering, New Zealand, 1996.
(2) Industrial Heat Pump, A Means to Mitigate Global Industrial Emissions, Heat
Pump Programme, IEA, OECD, 1995.
(3) Industrial Heat Pumps for Steam and Fuel Savings, Industrial Technologies
Program, U.S. Department of Energy, 2003.
(4) กรณี ศึกษา 017 การใช้ปั๊มความร้อน (Heat Pump), กรมพัฒนาพลังงานทดแทน
และอนุรักษ์พลังงาน, 2547
(5) รายงานโครงการส่ งเสริ มการใช้ Heat Pump ในสถานประกอบการโรงแรม, มูลนิธิ
สถาบันประสิ ทธิภาพพลังงาน (ประเทศไทย)
(6) การใช้ปั๊มพ์ความร้อนในขบวนการทางอุตสาหกรรม, นายปรเมธ ประเสริ ฐยิง่ วก.
485
(7) รายงานพลังงานของประเทศไทยปี 2549, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์
พลังงาน

หน้า 15 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.2 การปรับสมดุลการใช้ หม้ อนา้


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
ส าหรั บ โรงงานที่ มี ข นาดใหญ่ อาจจะมี ค วามจาเป็ นต้อ งใช้ห ม้อ น้ าหลายตัว ท างาน
ร่ วมกัน โดยต่อ ร่ วมกันแบบขนาน ซึ่ งในบางช่ วงเวลาที่ เครื่ องจักรในระบบการผลิ ต
ไม่ได้ทางานเต็มที่ อาจจะมีความต้องการไอน้ าไม่ สูงมากนัก หม้อน้ าเพียงตัวเดี ยวก็
สามารถผลิตไอน้ าได้มากเพียงพอ แต่โรงงานอาจจะต้องเปิ ดให้หม้อน้ าทางานพร้อมกัน
5 ทั้งหมดตลอดเวลา ซึ่ งจะส่ งผลให้หม้อน้ าทางานไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ ผลิตไอน้ าเกิ น
ความจาเป็ น และต้องสู ญเสี ยทั้งเชื้อเพลิงและไอน้ าไปโดยเปล่าประโยชน์

ระบบการปรับสมดุลการใช้หม้อน้ านั้นจะเข้าไปควบคุมการเริ่ มต้นทางานและการหยุด


การทางานของหม้อน้ า โดยพิจารณาจากปริ มาณไอน้ าที่ตอ้ งการในระบบ และวิเคราะห์
จากกาลังของหม้อน้ าแต่ละตัวในระบบ โดยเมื่อมีความต้องการใช้ไอน้ าน้อย ระบบจะ
สั่งให้หม้อน้ าทางานเฉพาะเท่าที่จาเป็ น จากนั้น เมื่อมีความต้องการมากขึ้น ก็จะสั่งให้
หม้อน้ าตัวถัดมาเริ่ มทางาน และปรับกาลังให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม จนกระทัง่ เมื่ อ
ระบบในโรงงานต้องการไอน้ ามากขึ้น ก็จะสั่งให้หม้อน้ าถัดมาทางาน เป็ นเช่ นนี้ ไป
เรื่ อย ๆ และเมื่อมีความต้องการใช้ไอน้ าลดลงจนถึงจุดที่ต่าเพียงพอ ระบบจะตัดสิ นใจ
หยุดการทางานของหม้อน้ าบางตัวลงเพื่อลดการใช้พลังงานที่สิ้นเปลืองได้เอง รวมทั้ง
สามารถปรับชัว่ โมงการทางานของหม้อน้ าที่มีในโรงงานให้เหมาะสมกันเพื่อยืดอายุการ
ใช้งานของหม้อน้ าได้เอง และหน่ วงเวลาการเริ่ มทางานระหว่างหม้อน้ าแต่ละตัวเพื่อ
ช่ วยลดเชื้ อเพลิ งและไฟฟ้ าที่ ไม่ จาเป็ นจากการเริ่ มต้นทางานของอุป กรณ์ หลายๆ ตัว
พร้อมกันได้อีกด้วย

หน้า 16 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.2 การปรับสมดุลการใช้ หม้ อนา้ (ต่อ)


• แผนผังการใช้งานเทคโนโลยี

รูปที่ 5.2-2 การใช้งานระบบปรับสมดุลช่วยกระจายภาระการทางานของหม้อน้ า


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
จาเป็ นต้องมีการติดตั้งเซ็นเซอร์ วดั ปริ มาณการใช้ไอน้ า อุปกรณ์ควบคุมส่ วนกลาง และ
อุปกรณ์ควบคุมที่หม้อน้ าแต่ละตัว
3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ลดการสิ้ นเปลืองเชื้อเพลิงและไอน้ าจากการทางานของหม้อน้ าที่ไม่จาเป็ น โดยลดกาลัง
การผลิตให้อยูใ่ นระดับที่เหมาะสม และช่ วยกระจายภาระการทางานของหม้อน้ าให้อยู่
ในระดับที่ ใกล้เคี ยงกันทุ กตัวช่ วยให้อุปกรณ์ มีอายุการใช้งานยาวนานขึ้ น แต่ระบบนี้
มักจะมีความสามารถจากัด โดยสามารถควบคุมหม้อน้ าได้เป็ นชุด ชุดละ 3-4 ตัวเท่านั้น
หากโรงงานมีหม้อน้ ามากกว่านี้ จะต้องติดตั้งระบบเพิ่มขึ้นหรื อแยกระบบท่อส่ งไอน้ า
ออกจากกัน

หน้า 17 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.3 ระบบควบคุมแรงดันไอนา้
1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
สาหรับหม้อน้ าที่มีขนาดเล็กระหว่าง 100-300 แรงม้านั้น ปริ มาณการผลิตไอน้ าจะมีผล
ต่อการทางานของหม้อน้ าเป็ นอย่างมาก ซึ่ งในช่วงที่มีความต้องการใช้ไอน้ ามาก แรงดัน
ไอน้ าจะลดต่าลง และเมื่อหยุดการใช้งานไอน้ า แรงดันไอน้ าจะเพิ่มขึ้นได้ในเวลาอันสั้น
ซึ่งเมื่อไม่มีการควบคุมการผลิตไอน้ าที่เหมาะสม ไอน้ าส่ วนเกินจะต้องถูกถ่ายทิ้งไปทาง
5 วาล์วระบาย จึงเกิดการสู ญเสี ยโดยไม่จาเป็ น จะเห็นได้วา่ โดยปกติแล้ว ความต้องการไอ
น้ าสาหรับการใช้ในการผลิตที่เกิดอย่างไม่ต่อเนื่ องจะทาให้แรงดันไอน้ าเปลี่ยนแปลงได้
เร็ วมาก การใช้วาล์วระบายเป็ นตัวควบคุมไม่ให้แรงดันเกิ นเพียงอย่างเดี ยวจึงส่ งผลให้
บางจังหวะเกิดการผลิตไอน้ าเกิ นความจาเป็ น ดังนั้น หากสามารถลดไอน้ าที่เกิ นความ
จาเป็ นและปรับปริ มาณการผลิตให้เหมาะสมได้ ไอน้ าที่สูญเสี ยไปเนื่องจากวาล์วระบาย
นั้นก็ยอ่ มลดลงและช่วยประหยัดพลังงานได้ในทางอ้อมเช่นกัน

เทคโนโลยีการควบคุมแรงดันไอน้ านั้นจะอาศัยการวัดแรงดันไอน้ าจากดรัมทางด้านบน


โดยมี การติ ดตั้งอุ ปกรณ์ วดั แรงดัน เอาไว้ พร้ อมทั้งติ ดตั้งระบบควบคุ ม แรงดัน ไอน้ า
ภายในดรั ม เมื่ อ มี แรงดัน ไอน้ าใกล้เคี ย งกับ ที่ ต้อ งการหรื อ ค่ าที่ ต้ งั เอาไว้แล้ว ระบบ
ควบคุมก็จะเข้าไปสั่งให้มีการจ่ายเชื้ อเพลิงและอากาศให้ลดลงเพื่อลดปริ มาณการเผา
ไหม้ ทาให้ระบบค่อยๆ ลดอัตราการผลิตไอน้ าลงตามไปด้วย โอกาสที่ไอน้ าที่ผลิตมาก
เกิ น ความต้อ งการและจ าเป็ นต้อ งปล่ อ ยทิ้ งไปทางวาล์ว ระบายจึ งลดลง เมื่ อ มี ค วาม
ต้อ งการใช้ไ อน้ ามากแรงดัน ไอน้ า ที่ อ่ านได้จ ากเซ็ น เซอร์ จ ะแสดงให้ เห็ น ถึ งความ
แตกต่างกับค่าที่กาหนด ระบบควบคุมก็สามารถสั่งให้หม้อน้ าทางานเต็มกาลัง หม้อน้ าก็
จะผลิตไอน้ าได้อย่างรวดเร็ ว จนกระทัง่ ใกล้ถึงค่าที่กาหนดเอาไว้กจ็ ะมีการปรับลดอัตรา
การผลิตลง

หน้า 18 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.3 ระบบควบคุมแรงดันไอนา้ (ต่อ)


• แผนผังการใช้งานเทคโนโลยี

รูปที่ 5.2-3 การใช้เทคโนโลยีการควบคุมแรงดันไอน้ า


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
จาเป็ นต้องมีการติดตั้งเซ็นเซอร์ วดั แรงดันไอน้ าที่หม้อน้ าและอุปกรณ์ควบคุมเพื่อปรับ
ปริ มาณอากาศและเชื้อเพลิงเพิ่มเติมให้กบั ระบบ
3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ลดการสิ้ น เปลื อ งเชื้ อ เพลิ งที่ ใช้ผลิ ตไอน้ าในส่ ว นที่ ไม่ จ าเป็ น เป็ นการช่ ว ยประหยัด
พลังงานได้เป็ นอย่างดี แต่ จาเป็ นต้อ งมี การติ ดตั้งอุป กรณ์ เพิ่ ม เติ ม และหากหม้อ น้ ามี
ขนาดใหญ่อาจจะไม่ได้ประโยชน์จากการควบคุมจากส่ วนนี้เพียงอย่างเดียว

หน้า 19 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.4 ระบบควบคุมการระบายนา้ ทิง้ ของหม้ อนา้ (Blowdown)


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
การระบายน้ าก้นหม้อน้ าเป็ นระยะขณะเดิ นเครื่ องเป็ นการระบายตะกอน ช่ วยป้ องกัน
ไม่ให้ตะกอนสะสมจนท่วมห้องเผาไหม้ ซึ่ งจะเป็ นสาเหตุการเกิดการบวมของห้องเผา
ไหม้ นอกจากนี้ การระบายน้ าที่ มี ส ารละลายเข้ม ข้น ในหม้อ น้ าออกในปริ ม าณที่
เหมาะสม จะทาให้เราสามารถควบคุมสารละลายในน้ าหม้อน้ าให้มีค่าคงที่อยูใ่ นระดับที่
5 ใช้งาน และไม่มีปัญหาเรื่ องการเดือดพล่านและการกัดกร่ อนเกิดขึ้นภายในหม้อน้ า การ
ปล่อยน้ าในหม้อน้ าออกมาขณะมีความดันใช้งานจะมีไอน้ าพ่นออกมารุ นแรงและเสี ยง
ดังมากซึ่ งอาจเกิดอันตรายได้ ดังนั้น การปล่อยน้ าก้นหม้อน้ าโดยผ่านถังแยกน้ าจะช่วย
ลดความรุ นแรงและเก็บเสี ยงได้อนั ตรายจะหมดไปเพราะมีการเปลี่ยนทิศทางการไหล
ของน้ าที่ปล่อยออกมา ทาให้น้ าร้อนถูกทิ้งลงทางด้านล่างในแนวดิ่ง ส่ วนไอน้ าแฟลชที่
เกิดขึ้นจะถูกปล่อยทิ้งออกทางด้านบนสู่ อากาศนอกจากการระบายน้ าในหม้อน้ าทิ้งเป็ น
ระยะแล้ว อี ก วิ ธี ห นึ่ งจะเป็ นการปล่ อ ยน้ าในหม้อ น้ าทิ้ ง แบบต่ อ เนื่ อ ง (Continuous
Blowdown) การควบคุมความเข้มข้นของสารละลายในหม้อน้ าโดยวิธีปล่อยน้ าทิ้งทาง
วาล์วใต้ห ม้อ น้ าจะเก็บ ความร้ อนจากน้ าทิ้ งกลับ มาใช้ประโยชน์ ไม่ ได้เพราะน้ าทิ้ งมี
ตะกอนมาก จะทาให้อุปกรณ์ แลกเปลี่ยนความร้อนอุดตันได้ ดังนั้น ในทางปฏิ บตั ิ จึง
ปล่ อ ยน้ าทิ้ ง ทางผิ ว น้ า (Surface Blowdown) แทน โดยธรรมชาติ ข องน้ าเวลาเดื อ ด
กลายเป็ นไอน้ า การระเหยจะเกิ ดที่ ผิวน้ า ซึ่ งชัว่ ขณะที่ น้ าระเหยกลายเป็ นไอน้ าจะทิ้ ง
สารละลายไว้ ทาให้บริ เวณผิวน้ ามีความเข้มข้นของสารละลายสู งกว่าด้านล่าง ดังนั้น ถ้า
ต้องการควบคุมสารละลาย การปล่อยน้ าทิ้งด้านผิวน้ าจะเป็ นวิธีที่ดีที่สุด น้ าทิ้งที่ปล่อย
ออกมาจะมีตะกอนน้อย สามารถนาความร้อนกลับได้ง่าย น้ าที่ปล่อยทิ้งจะควบคุมอัตรา
การไหลได้ดว้ ยการหรี่ วาล์ว ความร้อนจากน้ าทิ้งสามารถนามาให้ความร้อนแก่น้ าป้ อน
ได้โ ดยผ่ านอุ ป กรณ์ แ ลกเปลี่ ย นความร้ อ นดัง รู ป เทคโนโลยี Automatic Blowdown
Control System เป็ นระบบที่หาความเหมาะสมของการระบายน้ าทิ้งโดยการปล่อยน้ าทิ้ง
ที่เที่ยงตรง มีความสัมพันธ์กบั ค่าการนาไฟฟ้ า ปริ มาณ TDS ปริ มาณซิ ลิกา ฯลฯ โดยที่
ระบบควบคุมจะเป็ นตัวควบคุมการเปิ ดปิ ดวาล์วของน้ าโบลว์ดาวน์

หน้า 20 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.4 ระบบควบคุมการระบายนา้ ทิง้ ของหม้ อนา้ (Blowdown) (ต่ อ)

รูปที่ 5.2-4 อุปกรณ์เก็บความร้อนกลับจากน้ าระบายทิ้ง


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
การติดตั้ง Automatic Blowdown Control System จะต้องมีการติดตั้งชุดควบคุมเพิ่ม

รูปที่ 5.2-5 การติดตั้งอุปกรณ์เก็บความร้อนกลับจากการโบลว์ดาวน์

หน้า 21 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.4 ระบบควบคุมการระบายนา้ ทิง้ ของหม้ อนา้ (Blowdown) (ต่ อ)


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
จากตารางแสดงพลังงานที่นากลับมาใช้ได้จากการโบลว์ดาวน์ แสดงให้เห็นถึงค่าความ
ร้อนที่ นากลับมาใช้ได้จากการโบลว์ดาวน์ โดยนาน้ าที่ ได้จากการโบลว์ดาวน์ไปผ่าน
เครื่ องแลกเปลี่ ยนความร้ อนเพื่ อไปอุ่นน้ าที่ จะป้ อนให้กับหม้อน้ า ยิ่งอัตราการโบลว์
ดาวน์เพิ่มขึ้น ค่าความร้อนที่นากลับมาใช้ได้กจ็ ะเพิ่มขึ้นตามไปด้วยหม้อน้ าที่มีการติดตั้ง
5 เทคโนโลยี Automatic blowdown control system แล้วจะมีการลดลงของอัตราการโบลว์
ดาวน์ซ่ ึ งทุก 100,000 lb/hr หม้อน้ าจะมีการลดอัตราการโบลว์ดาวน์ลงจาก 8% เหลือ 6%
และอัตราการป้อนน้ าให้หม้อน้ าจะลดลงประมาณ 2,300 lb/hr
ตารางที่ 5.2-2 พลังงานที่นากลับมาใช้ได้จากการโบลว์ดาวน์

หน้า 22 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.5 กับดักไอนา้ แบบแจ้ งเตือนอัตโนมัติ


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
กับดักไอน้ าเป็ นอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้ในระบบไอน้ า เพราะจะช่วยแยกระหว่างไอน้ ากับน้ าที่
ควบแน่ นออกจากกัน โดยจะทาหน้าที่ปิดกั้นไม่ให้ไอน้ าผ่าน แต่จะปล่อยให้น้ าที่ ควบแน่ น
แล้วผ่านไปได้ ซึ่ งสามารถต่อท่อนาน้ าย้อนกลับเข้าสู่ ระบบใหม่ได้เช่นกัน แต่เนื่ องจากกับดัก
ไอน้ าในระบบมีเป็ นจานวนมากและบ่อยครั้งที่ขาดการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่ อง ทาให้ไม่ทราบ
ว่ากับ ดัก ไอน้ าบางตัว เกิ ด ความเสี ย หายขึ้ น ซึ่ งจะส่ งผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้พ ลัง งาน 5
โดยตรง การตรวจสอบกับดักไอน้ าจึงเป็ นสิ่ งสาคัญข้อหนึ่ งที่มกั จะถูกละเลยไป โดยอาจจะ
ต้อ งรอถึ งช่ ว งเวลาบ ารุ งรั ก ษาประจาปี จึ งจะได้มี ก ารตรวจสอบ ซึ่ งท าให้โรงงานสู ญ เสี ย
พลังงานไปโดยเปล่าประโยชน์แล้วเป็ นปริ มาณมาก
เทคโนโลยี Intelligent Autonomous Steam Trap นั้นจะช่วยให้กบั ดักไอน้ าสามารถตรวจสอบ
ตัวเองได้โดยอัตโนมัติ และสามารถแจ้งเตือนให้ผูใ้ ช้ทราบได้ทนั ที ที่เกิ ดปั ญหา โดยปั ญหา
มักจะเกิดขึ้นได้สองกรณี คือ ปิ ดสนิท ไม่สามารถเปิ ดทิ้งน้ าที่ควบแน่นได้ และรั่ว ทาให้ไอน้ า
ไหลผ่านออกมาได้ ซึ่ งในกรณี แรกจะทาให้มีน้ าควบแน่ นที่กบั ดักไอน้ าเป็ นปริ มาณมากและ
ไอน้ าไม่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ได้ ส่ วนกรณี ที่สองนั้น ไอน้ าจะถูกปล่อยทิ้งออกไป โดย IAST
นั้นจะติดตั้งเซ็นเซอร์ วดั อุณหภูมิ เซ็นเซอร์วดั เสี ยงความถี่สูง และใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
ซึ่ งสะสมเอาไว้ดว้ ยแบตเตอรี่ ภายในตัว หากเซ็นเซอร์ วดั อุณหภูมิได้ต่ากว่าปกติ เช่ น ต่ากว่า
60oC แสดงว่ามีน้ าขังอยูภ่ ายใน และหากสามารถจับเสี ยงความถี่สูงได้ แสดงว่ามีไอน้ ารั่วไหล
ซึ่ งไม่ ว่าจะเป็ นกรณี ใดก็ ต าม หากว่าเซ็ น เซอร์ อ่ านค่ า ได้ต่ า งจากค่ าปกติ ที่ ก าหนดเอาไว้
อุปกรณ์จะแจ้งเตือนให้ผใู ้ ช้ทราบโดยเป็ นไฟกระพริ บเพื่อบอกสถานะว่ากับดักไอน้ าดังกล่าว
เสี ยหายและจาเป็ นต้อ งเปลี่ ยนตัว ใหม่ ผูใ้ ช้สามารถเปลี่ ยนได้ท ัน ที จึ งลดการรั่ ว ไหลและ
สู ญเสี ยพลังงานได้

หน้า 23 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.5 กับดักไอนา้ แบบแจ้ งเตือนอัตโนมัติ (ต่อ)

รูปที่ 5.2-6 กับดักไอน้ าแบบแจ้งเตือนอัตโนมัติ


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
เปลี่ยนเข้าไปติดตั้งแทนกับดักไอน้ าเดิมได้ทนั ที

รูปที่ 5.2-7 แผนผังการใช้งานกับดักไอน้ าแบบแจ้งเตือนอัตโนมัติ


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ลดการสู ญเสี ยไอน้ าจากการรั่วไหลของไอน้ าจากกับดักไอน้ า รวมถึงเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของ
ระบบในกรณี ที่กบั ดักไอน้ าปิ ดถาวรได้จากการแจ้งเตือน ทาให้ผูป้ ฏิบตั ิงานสามารถเปลี่ยน
อุปกรณ์ได้ทนั ทีที่ทราบปั ญหา แต่จาเป็ นต้องเปลี่ยนกับดักไอน้ าใหม่เป็ นรุ่ นที่รองรับอุปกรณ์
หรื อเพื่อให้สามารถติดตั้งอุปกรณ์ได้

หน้า 24 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.6 หม้ อไอนา้ ลูกผสม


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
หม้อน้ าที่ออกแบบห้องเผาไหม้เป็ นลูกผสมระหว่างหม้อน้ าแบบท่อน้ ากับท่อไฟรวมอยูใ่ นตัว
เดี ยวกัน เรี ยกว่า หม้อน้ าลูกผสม (Hybrid Boiler or Composite Boiler) สามารถเผาเชื้ อเพลิ ง
สองชนิดที่แตกต่างกันได้ ปกติจะใช้ของเสี ยจากกระบวนการผลิตเป็ นเชื้อเพลิงหรื อความร้อน
ที่จะต้องทิ้ง (Waste Heat)และเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์ บอนที่เป็ นปิ โตรเลียม ของเสี ยจากการผลิต
หรื อเชื้อเพลิงแข็งจะเผาไหม้ในห้องเผาไหม้แรก และความร้อนที่ได้จากการเผาไหม้จะผ่านไป 5
ยังห้องเผาไหม้ที่สอง ซึ่ งเชื้อเพลิงปกติจะเผาต่อ ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั การออกแบบเช่นกัน เช่น อาจ
ออกแบบให้ก๊าซร้อนจากห้องเผาไหม้แรกสามารถผ่านพื้นผิวถ่ายเทความร้อนไปได้บางส่ วน
ก่อนเข้าไปห้องเผาไหม้ที่สอง หรื ออีกทางหนึ่ ง ก๊าซร้อนอาจผ่านเข้าหม้อน้ าโดยตรงหลังจาก
เผาไหม้สมบูรณ์แล้ว
ปั จจุ บ ัน นิ ย มน าของเสี ย จากอุ ต สาหกรรมหรื อ พาณิ ช ยกรรมมาใช้เป็ นเชื้ อ เพลิ งเพราะได้
ประโยชน์ ม ากกว่ าการที่ จ ะต้อ งเสี ย ค่ า ใช้จ่ า ยเพื่ อ น าไปก าจัด ทิ้ ง โดยการน าเตาเผาขยะ
(Incinerator) มาต่อพ่วงกับหม้อน้ าความร้อนทิ้ง (Waste Heat Boiler) แต่ระบบนาความร้อน
กลับนั้นมี ประสิ ทธิ ภาพต่ า ดังนั้นในระยะแรก หม้อน้ าแบบลู กผสมจึ งถูกออกแบบมาเพื่ อ
แก้ไ ขปั ญ หาดังกล่ าว ในปั จ จุ บ ัน ได้มี ก ารออกแบบพัฒ นาผลิ ต หม้อ น้ าแบบลู ก ผสมให้ มี
ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง และสามารถใช้ เชื้ อ เพลิ ง ได้ ห ลายชนิ ด พร้ อ มกัน รวมทั้ง ของเสี ย จาก
อุตสาหกรรมหรื อพาณิ ชยกรรมก็นามาใช้เป็ นเชื้อเพลิงได้ดว้ ย ซึ่ งขณะนี้ในประเทศไทยได้เริ่ ม
มีการนาหม้อน้ าแบบลูกผสมมาใช้งานกันอย่างแพร่ หลายมากขึ้น

หน้า 25 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.6 หม้ อไอนา้ ลูกผสม (ต่ อ)

รูปที่ 5.2-8 การทางานของระบบหม้อน้ าแบบลูกผสม (Hybrid Boiler)


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
สามารถใช้เชื้อเพลิงได้หลากหลายชนิด โดยเฉพาะเชื้อเพลิงแข็ง ชีวะมวล รวมทั้งขยะและของ
เสี ยจากอุตสาหกรรมหรื อพาณิ ชยกรรมก็นามาใช้เป็ นเชื้อเพลิงได้ดว้ ย

หน้า 26 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.7 หม้ อไอนา้ แบบ Once-Through


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
หม้อน้ าแบบ Once-Through มักจะมีโครงสร้างง่ายๆ มีน้ าอยูใ่ นท่อ โดยมีท่อขดเป็ นคอยล์หรื อ
อาจจะเป็ นท่อตรง มีปริ มาณน้ าน้อย ทาให้การระเหยกลายเป็ นไอน้ าเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ราว
กับว่าน้ าที่ ป้ อนเข้ามาแล้วระเหยไปทันที จึ งได้ต้ งั ชื่ อเรี ยกหม้อน้ าแบบนี้ ว่า Once-Through
Boiler หม้อน้ าชนิ ดนี้ เข้าใจว่ามีถิ่นกาเนิ ดจากสหรัฐอเมริ กา แต่ปรากฏว่าได้ถูกพัฒนาและ
นิ ย มใช้ในประเทศญี่ ปุ่ น โดยในปี พ.ศ. 2498 ญี่ ปุ่ น ได้สั่งหม้อ น้ าชนิ ด Single-Tube Type 5
Steam Generators จากสหรัฐฯ และได้พฒั นาต่อ จากนั้นมา การควบคุมมาตรฐานของหม้อน้ า
ขนาดเล็ ก ในญี่ ปุ่ นไม่ ไ ด้ข้ ึ นอยู่ กับ JIS Code แต่ ข้ ึ นอยู่ กับ The Safety Rule of Boiler and
Pressure Chamber รวมทั้ง Structural Code ทั้ง นี้ เพื่ อ ความปลอดภัย ในการใช้ง าน ซึ่ งกฎ
ดังกล่ าวได้ค รอบคลุ ม ถึ ง Small-Sized and Once-Through Type Boilers ด้ว ยสาเหตุ ที่ ท าให้
หม้อน้ าแบบ Once-Through เริ่ มเป็ นที่นิยมมากขึ้นเนื่ องจากว่าไม่จาเป็ นต้องมีผคู ้ วบคุมหม้อ
น้ าที่ รับ ใบอนุ ญ าต และได้รับ การยกเว้น ไม่ ต้อ งมี ก ารตรวจสอบประจ าปี ถ้าหากหม้อ น้ า
ดังกล่าวสร้างขึ้นและใช้งานในลักษณะดังนี้
1. เป็ นแบบท่อน้ า
2. พื้นผิวรับความร้อนน้อยกว่า 10 ตารางเมตร
3. ความดันใช้งานสู งสุ ด 10 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
ตัวอย่างข้อมูลของหม้อน้ าแบบ Once-Through ขนาดเล็กมีดงั นี้
- อัตราการระเหยเทียบเท่า: 40 - 2,000 กิโลกรัมต่อชัว่ โมง
- ประสิ ทธิภาพหม้อน้ า: สู งกว่า 87%
- เชื้อเพลิงที่ใช้ได้: ก๊าซ น้ ามันก๊าด น้ ามันเตา
- ระบบควบคุม: อัตโนมัติท้งั หมด

หน้า 27 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.7 หม้ อไอนา้ แบบ Once-Through (ต่ อ)

รูปที่ 5.2-9 ระบบการทางานของหม้อน้ าแบบ Once-Through


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
เนื่ องจากประสิ ทธิ ภาพของหม้อน้ าแบบ Once-Through ได้ถูกพัฒนาให้เทียบเท่าหรื ออาจจะ
ดีกว่าหม้อน้ าขนาดที่ใหญ่กว่า (คือ 3-10 ตันต่อชัว่ โมง) จึงได้ถูกนามาใช้ในอุตสาหกรรมด้วย
ข้ อดี
- มีขนาดเล็ก ทาให้ประหยัดพื้นที่
- มีความปลอดภัยสู ง เนื่องจากมีแรงดันน้อย
- ใช้งานง่าย เพราะเป็ นการควบคุมอัตโนมัติ
ข้ อเสี ย
- มีแรงดันน้อย ทาให้ใช้งานกับอุปกรณ์ที่มีแรงดันสู งไม่ได้
3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ประสิ ทธิ ภาพของหม้อน้ าโดยทัว่ ไป ผูผ้ ลิ ตหม้อน้ ามักจะบ่ งบอกประสิ ท ธิ ภาพหม้อน้ าใน
ขณะที่ ใช้งานที่ ภาระสู งสุ ด แต่ ในการใช้งานจริ ง ภาระที่ ห ม้อ น้ าประสบมักจะไม่ ใช่ ภ าระ
สู งสุ ด วิธีการหนึ่งที่จะทาให้ประสิ ทธิภาพหม้อน้ าสู งตลอดเวลา สามารถทาได้โดยการใช้หม้อ
น้ าขนาดเล็กหลายตัว

หน้า 28 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.8 Coal Water Mixture (CWM)


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
Coal Water Mixture (CWM) เรี ยกอีกชื่ อหนึ่ งว่า Coal Water Slurry (CWS) หรื อ Coal Water
Fuel (CWF) คื อ เชื้ อเพลิ งเหลวชนิ ดหนึ่ งซึ่ งได้จากการผสมน้ ากับถ่านหิ นที่ บดจนได้ขนาด
และเติมสารเติมแต่ง (Additives) ซึ่ งมีอยู่ 2 ชนิ ด คือ สารตัวกระจาย (Dispersant) และสารคง
สภาพ (Stabilizer) เพื่ อ ให้ อ นุ ภ าคถ่ า นหิ น สามารถแขวนลอยอยู่ ใ นของเหลวได้โ ดยไม่
ตกตะกอน ซึ่ งสามารถนาไปใช้เป็ นเชื้ อเพลิงทดแทนน้ ามันเตาสาหรับหม้อน้ าอุตสาหกรรม 5
หรื อ ใช้ เป็ นเชื้ อ เพลิ ง ส าหรั บ หม้อ น้ าเพื่ อ ผลิ ต ไฟฟ้ า ซึ่ งอาจเป็ นการเผาร่ ว มกับ ถ่ านหิ น
บดละเอียด (Pulverized Coal) เพื่อควบคุมการปลดปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ให้
อยู่ในระดับ ที่ ม าตรฐานก าหนด CWM ถื อ ว่า เป็ นเทคโนโลยีถ่ านหิ น สะอาด (Clean Coal
Technology) เนื่ องจากสามารถช่ วยลดมลพิษและผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการใช้เชื้อเพลิง
ถ่านหิ นตั้งแต่ข้ นั ตอนการขนส่ งการจัดเก็บ การเผาไหม้ และการปลดปล่อยก๊าซไอเสี ยCWM
ต่ างจากเชื้ อ เพลิ งเหลวชนิ ดอื่ น เนื่ อ งจากมี อ งค์ป ระกอบที่ เผาไหม้ไม่ ได้ (Noncombustible
Content) สู งกว่า และมีค่าความร้อนต่อหน่ วยน้ าหนักต่ากว่าน้ ามันหรื อก๊าซธรรมชาติ ดังนั้น
เมื่อใช้ CWM กับระบบที่ถูกออกแบบมาสาหรับใช้เชื้อเพลิงคุณภาพสู ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ หาก
เป็ นหม้อน้ าขนาดเล็ก ก็จะต้องลดสมรรถนะของหม้อน้ าลงเพื่อไม่ให้ประสิ ทธิ ภาพในการเผา
ไหม้ลดลงมากเกินไป ทั้งนี้ สาเหตุสาคัญของการลดสมรรถนะของหม้อน้ าเกิดจากปั จจัยหลัก
คือ
1. เมื่อใช้ CMW เป็ นเชื้ อเพลิง ระยะเวลาสาหรับการเผาคาร์บอนในเตาเผา (Residence Time)
จะสั้นเกินไป จึงทาให้ตอ้ งลดสมรรถนะในการเผาไหม้ลง
2. ต้องการเพิ่มเวลาเพื่อให้อนุภาคของเถ้าและละอองต่างๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้เย็นลงก่อนที่
จะเข้าสู่ ส่วนถ่ายเทความร้อนแบบพาความร้อน (Convection Section) เพื่อป้ องกันการเกาะตัว
ของเถ้า (Fouling)
3. หากทาการเผา CWM ตามสมรรถนะของหม้อน้ า ความเร็ วของอากาศร้อนจากการเผาไหม้
ที่เข้าสู่ ส่วนถ่ายเทความร้อนแบบพาความร้อนอาจสู งมาก และเป็ นสาเหตุให้เกิดการสึ กกร่ อน
หรื อการถ่ายเทความร้อนให้กบั ท่อน้ า (Water Tube) ไม่มีประสิ ทธิภาพ จึงต้องลดอัตราการเผา
ไหม้ลง

หน้า 29 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.8 Coal Water Mixture (CWM) ต่ อ


ตารางที่ 5.1-1 คุณสมบัติของเชื้อเพลิง CWM

รูป 5.2-10 เชื้อเพลิงหม้อน้ าชนิด Coal Water Mixture (CWM)


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
ในกรณี ของหม้อน้ าที่ ออกแบบมาสาหรับใช้เผาถ่านหิ น หรื อถ่านหิ นร่ วมกับเชื้ อเพลิ งอื่ นๆ
สามารถใช้ CWM เป็ นเชื้ อ เพลิ งได้โดยทาการปรับ ปรุ งย่อย (Minor Modification) ที่ หัวเผา
และ Atomizer ในกรณี ของหม้อน้ าที่ออกแบบมาสาหรับใช้เผาเชื้อเพลิงเหลวหรื อก๊าซจะต้อง
ทาการปรับปรุ งใหญ่ (Major Modification) เพื่อให้จดั การกับเถ้าที่เกิ ดขึ้น เช่น ถังรับเถ้า Soot
Blower เพื่อทาความสะอาดด้านในของหม้อน้ าและระบบ Bag Filter ร่ วมกับส่ วนที่ระบุก่อน
หน้านี้ ได้แก่ หัวเผาและ Atomizer ด้วย

หน้า 30 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.8 Coal Water Mixture (CWM) ต่ อ


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ประโยชน์ ข้อดี และข้อเสี ยของเทคโนโลยี
ข้ อดี
- นาไปใช้เป็ นเชื้อเพลิงทดแทนน้ ามันเตาได้
- เป็ นเทคโนโลยีถ่านหิ นสะอาด ช่วยลดมลพิษและผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมจากการใช้
เชื้อเพลิงถ่าน 5
ข้ อเสี ย
- ต้องมีการปรับปรุ งอุปกรณ์ของหม้อน้ าบางส่ วน
- ต้องลดสมรรถนะของหม้อน้ าลงเพื่อไม่ให้ประสิ ทธิภาพในการเผาไหม้ลดลงมากเกินไป
- เนื่องจาก CWM เป็ นเชื้อเพลิงที่มีอนุภาคของแข็งอยูใ่ นของเหลว ซึ่งเมื่อไหลผ่านอุปกรณ์
ต่างๆ ได้แก่ ปั๊ ม วาล์ว ระบบหัวเผาเชื้อเพลิง ก็จะทาให้เกิดการสึ กกร่ อนขึ้นอย่างรวดเร็ วหาก
ไม่ได้มีการป้องกันไว้
4. ตัวอย่ างกรณีศึกษา
(ก) ประเทศสหรัฐอเมริกา
Polk Power Station, Polk County, Florida เป็ นโครงการโรงไฟฟ้ า เชื้ อ เพลิ ง ถ่ า นหิ น ของ
Tampa Electric Co. ที่มีกาลังการผลิตทั้งหมด 316 MWe และมีกาลังการผลิตสุ ทธิ 250 MWe
ซึ่ งใช้ถ่านหิ นและ CWM จานวน 2,300 ตันต่อวันเป็ นเชื้ อเพลิง (ใช้ CWM ประมาณ 55-60%
ของค่ า ความร้ อ นของเชื้ อเพลิ ง ที่ ต้ อ งการ) โดยใช้ เ ทคโนโลยี Integrated Gasification
Combined Cycle (IGCC) ซึ่ งเป็ นการแปรสภาพเชื้อเพลิงโดยใช้ Texaco Coal Gasifier ร่ วมกับ
การใช้เทคโนโลยี Combined Cycle เพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ซึ่ ง พบว่าระบบมี อ ัต ราการเผา
คาร์ บ อนมากกว่า 95% สามารถเดิ นระบบได้อย่างมี เสถี ยรภาพ และมี ความพร้ อมจ่ายตาม
เป้ าหมายที่ กาหนดไว้ ในขณะที่ มีการปลดปล่อยมลสาร ได้แก่ SO2 NOx และฝุ่ นละอองต่า
กว่าระดับที่มาตรฐานกาหนด โดย Polk IGCC Power Plant ถือว่าเป็ นโรงไฟฟ้ าที่ใช้เชื้อเพลิง
จากถ่ า นหิ น (Coal-Based Power Generation Facilities) ที่ ส ะอาดที่ สุ ดในโลกแห่ งหนึ่ ง
โครงการดังกล่าวมีค่าลงทุนทั้งหมด 300 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (รวมค่าดาเนิ นการในขั้นตอนการ
สาธิต) หรื อเท่ากับ 303 เหรี ยญต่อกิโลวัตต์เมื่อเทียบกับกาลังการผลิตสุ ทธิ

หน้า 31 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.8 Coal Water Mixture (CWM) ต่ อ


(ข) ประเทศสวีเดน
CWM ของ Svenska Fluid Carbon ผลิตจากถ่านหิ นคุณภาพดีจากโปแลนด์ที่ผา่ นการทาความ
สะอาด (Beneficiation) เพื่ อลดปริ มาณเถ้าและซัลเฟอร์ แล้ว โรงงานผลิ ต CWM ดังกล่ าวมี
ขนาด 250,000 ตันต่อปี ตั้งอยูท่ ี่ Malmo Harbor ซึ่ งอยูท่ างภาคใต้ของสวีเดน (เริ่ มเดินระบบปี
ค.ศ. 1984 )
5 ผลจากการผลิตไปให้ ลูกค้ าใช้ งาน พบว่ า
1. Energy Utility of Lund Project: ต้อ งปรั บ แต่ งหม้อ น้ าโดยเพิ่ ม ระบบการจัด การเถ้า และ
เปลี่ยนหัวเผาเป็ นแบบRotary Cup Burner ซึ่ งทาให้ได้ประสิ ทธิภาพเท่าน้ ามันเตา
2. KF/Foodia AB Project: หลัง จากปรั บ ปรุ ง หม้ อ น้ าทั้ งแบบย่ อ ยและแบบใหญ่ พบว่ า
ประสิ ทธิภาพตกลงไปประมาณ 30%
3. SAB NIFE Factory: หม้อน้ าแบบท่ อไฟซึ่ งเมื่อใช้ CWM พบว่า ประสิ ทธิ ภาพตกลงอย่าง
มากจากปั ญ หาการจัด การเถ้า และเรื่ อ งเถ้า จับ ตัว แน่ น ในท่ อ ไฟ ต้อ งปรั บ ปรุ ง โดยเพิ่ ม
Baghouse Filter และEconomizer อุ่นน้ าเพิ่ม

หน้า 32 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.9 การใช้ อุปกรณ์ ตัวเร่ งปฏิกริ ิยาแบบ Contact Catalyst


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
อุปกรณ์ตวั เร่ งปฏิกิริยาแบบ Contact catalyst มีหลักการทางานบนพื้นฐานของโลหะ Catalyst
โดยกระบวนการไฮโดรแครกกิ ง หมายถึ ง กระบวนการที่ ท าให้ เกิ ด การแตกย่ อ ยของ
สารประกอบไฮโดรคาร์ บอนที่มีขนาดใหญ่และมีน้ าหนักโมเลกุลสู งให้มีโครงสร้างที่เล็กลง มี
ผลทาให้การเผาไหม้สมบูรณ์ข้ ึน (โมเลกุลของน้ ามันชื้อเพลิงมีพ้ืนที่ผิวสัมผัสกับออกซิ เจนได้
เพิ่มขึ้น) ตัวเร่ งปฏิกิริยาที่ใช้ในกระบวนการแครกกิงของสารไฮโดรคาร์ บอนโดยทัว่ ไปผลิต 5
จากสารซีโอไลท์ (เป็ นสารประกอบที่มีโครงสร้างประกอบด้วยอลูมิเนียมออกไซด์และซิลิการ์
ออกไซด์) โดยที่มีการเติมออกไซด์ของโลหะแรร์เอิร์ธไปบนผิวของซี โอไลท์ ซึ่งออกไซด์ของ
โลหะแรร์ เอิร์ธจะเป็ นตัวควบคุมและป้ องกันไม่ให้เกิดการสู ญเสี ยอลูมิเนี ยมในซี โอไลท์ และ
ยังทาให้การเป็ นกรดของซี โอไลท์สูงขึ้น กระบวนการแครกกิงที่เกิดจากตัวเร่ งปฏิกิริยามักจะ
เกิดควบคู่กบั กระบวนการดีไฮโดรจิเนชัน่ (หมายถึง กระบวนการที่ไฮโดรเจนอะตอมถูกดึง
ออกมาจากโมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทาให้เกิดสารประกอบอัลคีน)
2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
เป็ นอุปกรณ์ ใช้กบั น้ ามันเชื้ อเพลิ ง โดยปลายข้างหนึ่ งต่อเข้ากับท่ อน้ ามัน ส่ วนปลายอี กข้าง
หนึ่งต่อเข้ากับท่อน้ ามันที่ทางเข้าของหัวเผาของหม้อน้ า

รูป 5.2-11 อุปกรณ์เร่ งปฏิกิริยาแบบ Contact catalyst เพื่อการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ข้ ึน

หน้า 33 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.9 การใช้ อุปกรณ์ ตัวเร่ งปฏิกริ ิยาแบบ Contact Catalyst (ต่อ)


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ประโยชน์และ ข้อดี
- ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ข้ ึน
- อัตราการใช้เชื้อเพลิงโดยเฉลี่ยลดลง 5-15%
- อัตราการปล่อยก๊าซเรื อนกระจกลดลง 10-30%
5

หน้า 34 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.10 การใช้ สารลดแรงยึดเหนี่ยวโมเลกุล


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
การเติมสารลดแรงยึดเหนี่ ยวระหว่างโมเลกุลเข้าไปในน้ ามันเชื้อเพลิงช่วยให้การเผาไหม้ของ
น้ ามันมากขึ้น ทาให้การสันดาปได้พลังงานเต็มที่ เนื่ องจากน้ ามันเชื้อเพลิงจะมีการรวมตัวกัน
เป็ นโมเลกุลใหญ่ (Fuel Cluster) ดังนั้น เมื่อเติมสารเพื่อลดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลจะทา
ให้เกิ ดการแยกตัวเป็ นโมเลกุลเดี่ ยวๆ มากขึ้ น มี โอกาสเกิ ดการสัน ดาปสู งขึ้ น การเผาไหม้
สมบูรณ์มากขึ้น 5

รู ป 5.2-12 การแตกตัวและลดการรวมกลุ่มของโมเลกุล

2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
เทคโนโลยีน้ ี ไม่ตอ้ งทาการปรับปรุ งอุปกรณ์ ใดเพิ่มเติ ม สามารถที่ จะดาเนิ นการได้โดยเติ ม
สารเคมีลงในเชื้อเพลิง
3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ประโยชน์และข้อดี
- เพิม่ ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ ช่วยให้เกิดการสันดาปที่สมบูรณ์
- ลดมลพิษและลดค่าใช้จ่ายทางด้านการกาจัดมลภาวะ
- ลดค่าใช้จ่ายต้นทุนน้ ามันได้ประมาณ 10-30%

หน้า 35 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.11 หัวเผาเม็ดพลาสติก
1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
หัวเผาชนิดเชื้อเพลิงพลาสติก คือ หัวเผาที่ออกแบบมาให้สามารถใช้เชื้อเพลิงของแข็งประเภท
เม็ดพลาสติกได้ ซึ่ งเม็ดพลาสติ กเป็ นแหล่งเชื้ อเพลิ งพลังงานทดแทนที่ ได้จากขยะพลาสติ ก
เป็ นทางเลือกที่น่าสนใจในสภาวะที่น้ ามันและก๊าซเชื้ อเพลิงมีราคาสู งขึ้นอย่างมาก อีกทั้งยัง
ช่วยลดปริ มาณขยะพลาสติกที่มากขึ้นทุกวัน
5 หัวเผาทางานโดยใช้น้ ามันเชื้ อเพลิงก่อนประมาณ 15 นาที จากนั้นจึงป้ อนเม็ดพลาสติกเข้าสู่
ห้องเผาไหม้ซ่ ึ งใช้ความร้อนเปลี่ยนเม็ดพลาสติกให้เป็ นก๊าซเชื้อเพลิง (Gasification) เมื่อผสม
กับอากาศที่ป้อนเข้ามาจึงเกิดการเผาไหม้ข้ ึน เม็ดพลาสติกโดยทัว่ ไปมีค่าความร้อนใกล้เคียง
กับก๊าซหุ งต้ม (LPG) แต่ราคาเม็ดพลาสติ กที่ปริ มาณเท่ากันจะมี ราคาถูกกว่าครึ่ งหนึ่ ง ทาให้
ประหยัดค่าเชื้อเพลิงลงได้อย่างชัดเจน
ส่ วนผลกระทบจากการเผาไหม้เม็ดพลาสติก พบว่า ประสิ ทธิ ภาพของการเผาไหม้โดยใช้หัว
เผาชนิ ด นี้ สู ง ถึ ง 90% เพราะองค์ ป ระกอบของพลาสติ ก เป็ นไฮโดรคาร์ บ อนเกื อ บร้ อ ย
เปอร์เซ็นต์ ก๊าซที่เกิดจากการเผาไหม้มีปริ มาณของมลพิษเป็ นไปตามเกณฑ์ของกฎหมาย ใน
การเผาไหม้จะมีปริ มาณเถ้าประมาณ 100 กรัมต่อเม็ดพลาสติก 40 กิโลกรัม

รูป 5.2-13 หัวเผาชนิดเชื้อเพลิงพลาสติก

หน้า 36 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.11 หัวเผาเม็ดพลาสติก (ต่อ)


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
การติ ด ตั้งหั ว เผาเชื้ อ เพลิ ง พลาสติ ก ท าได้โ ดยการเปลี่ ย นหั ว เผาเท่ านั้น โดยกลุ่ ม โรงงาน
อุตสาหกรรมที่สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีน้ ี ได้แก่
- อุตสาหกรรมอาหาร
- อุตสาหกรรมสิ่ งทอ และภาคบริ การ เช่น โรงแรม
3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน 5
หัว เผาชนิ ด เชื้ อ เพลิ งพลาสติ ก ที่ ใช้เชื้ อ เพลิ งพลังงานทดแทนที่ ไ ด้จ ากขยะพลาสติ ก เป็ น
ทางเลื อ กที่ น่ าสนใจทางหนึ่ ง เพราะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการเผาไหม้สู ง และไม่ มี ผ ลกระทบ
เนื่ องจากมลพิษ ที่สาคัญราคาเม็ดพลาสติกที่ได้จากขยะพลาสติกมีราคาถูกกว่าเชื้ อเพลิงชนิ ด
อื่นมาก
ตารางที่ 5.2-3 ค่าความร้อนและราคาของเชื้อเพลิงแต่ละประเภท

หน้า 37 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.12 การควบคุมการเผาไหม้ อตั โนมัติ


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
แนวคิดในการปรับสัดส่ วนอากาศต่อเชื้ อเพลิงให้เหมาะสมนั้น เป็ นแนวคิดพื้นฐานที่ จาเป็ น
สาหรับระบบที่มีการเผาไหม้อยูแ่ ล้ว เพราะถ้าหากสามารถควบคุมให้การเผาไหม้เกิ ดขึ้นได้
อย่างสมบูรณ์พอดีกจ็ ะส่ งผลให้เกิดการประหยัดเชื้อเพลิงได้ พร้อมทั้งสามารถนาพลังงานจาก
การเผาไหม้มาใช้ป ระโยชน์ ได้อ ย่างมี ประสิ ทธิ ภ าพสู งสุ ด โดยปกติ แล้วการเผาไหม้ที่ ไ ม่
5 เหมาะสมนั้นเกิดขึ้นได้สองกรณี คือ กรณี ที่มีอากาศน้อยเกินไป จะทาให้สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง
มากกว่าปกติ และเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เกิ ดมลภาวะตามมาเนื่ องจาก ก๊าซต่ างๆ ที่ ไหลออกสู่
อากาศ และจะมีเชื้อเพลิงบางส่ วนที่ยงั ไม่เกิดการเผาไหม้ถูกปล่อยทิ้งไป โดยเปล่าประโยชน์
เช่นกัน อีกกรณี หนึ่ ง คือ มีอากาศเข้ามาเผาไหม้มากเกินไป แม้ว่าจะเกิ ดการเผาไหม้ได้อย่าง
สมบูรณ์ ก็จริ ง แต่อากาศมี ความเร็ วในการไหลสู งกว่าปกติ จึ งไม่ มีเวลามากพอที่ จะถ่ ายเท
พลังงานความร้ อนจากการเผาไหม้ไปสู่ น้ าในระบบได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ อากาศก็จะพา
พลังงานความร้อนทั้งหมดทิ้งไปสู่ อากาศเสี ยก่อน การปรับสัดส่ วนเชื้ อเพลิงต่ออากาศจึงช่วย
ลดความสิ้ นเปลืองเชื้อเพลิงและมลภาวะไปพร้อมกัน
โดยระบบจะมีเซ็นเซอร์ สาหรับอ่านปริ มาณออกซิ เจนส่ วนเกินที่ออกมากับไอเสี ย จากนั้นจึง
นามาวิเคราะห์ แล้วชุดควบคุมจะสั่งงานให้มีการจ่ายอากาศและเชื้อเพลิงที่เข้าสู่ กระบวนการ
เผาไหม้ให้เข้าไปในสัดส่ วนที่ เหมาะสมตลอดเวลา ถ้าอากาศมากเกิ นไป ระบบจะปรับลด
อากาศเข้าจนได้ระดับที่ตอ้ งการ แต่ถา้ น้อยเกินไป ก็จะเพิ่มอากาศหรื อลดเชื้อเพลิงลงจนอยูใ่ น
ระดับที่เหมาะสมเช่นเดียวกัน
2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
จาเป็ นต้องมีการติดตั้งเซ็นเซอร์วดั แรงดันไอน้ าที่หม้อน้ าและอุปกรณ์ควบคุมเพื่อปรับปริ มาณ
อากาศและเชื้อเพลิงเพิ่มเติมให้กบั ระบบ

หน้า 38 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.12 การควบคุมการเผาไหม้ อตั โนมัติ (ต่ อ)

รูปที่ 5.2-14 การควบคุมระบบการเผาไหม้เพื่อให้ได้ประสิ ทธิภาพ


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ช่ ว ยให้ ห ม้อ น้ ามี ก ารเผาไหม้ที่ ส มบู ร ณ์ ลดการสิ้ น เปลื อ งเชื้ อ เพลิ ง ที่ ไ ม่ จ าเป็ น และช่ ว ย
ประหยัดพลังงานที่ใช้ได้เป็ นอย่างดี โดยระบบมีการใช้งานได้ง่าย เพียงแค่ติดตั้งและปรับตั้ง
ค่าที่เหมาะสมสาหรับเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ เท่านั้น
ระบบจาเป็ นต้องมี การติ ดตั้งเซ็ น เซอร์ และอุ ป กรณ์ ค วบคุ มหลายส่ วนเพิ่ มเข้าไปที่ ห ม้อน้ า
รวมทั้งการเปลี่ยนชนิดของเชื้อเพลิงในแต่ละครั้งอาจจะต้องมีการปรับตั้งค่าให้กบั ชุดควบคุม
ใหม่

หน้า 39 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.13 เครื่ องอุ่นนา้ ป้ อนแบบ Tube & Fin


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
หลักการทางานของ Economizer แบบ Tube & Fin จะประกอบด้วยท่ อดัดและเพิ่มครี บเพื่อ
เพิ่มพื้ น ที่ แลกเปลี่ ยนความร้ อ นจากปล่ องไอเสี ยสู่ น้ าป้ อนที่ จะวิ่งผ่าน Economizer เพื่ อ รับ
ความร้อนจากไอเสี ยก่อนเข้าหม้อน้ า ไอเสี ยเมื่ อวิ่งผ่านครี บท่อจะถ่ายเทความร้อนให้กบั น้ า
ป้ อ นโดยที่ น้ าป้ อ นวิ่ ง อยู่ภ ายในท่ อ Economizer แบบ Tube & Fin นี้ จะมี อ ยู่ 2 แบบ คื อ
5 แบบท่อกลม (Cylindrical Economizer) และ แบบท่อสี่ เหลี่ยม (Rectangular Economizer)
แบบท่ อกลม หมายถึง ลักษณะของการวางท่อน้ าจะวางวนรอบเป็ นวงกลมล้อมรอบปล่องไอ
เสี ย ทาให้มีขนาดเล็กและน้ าหนักเบา แบบท่ อสี่ เหลี่ยม หมายถึง ลักษณะของการวางท่อน้ าจะ
วางวนรอบปล่องไอเสี ยเป็ นแบบสี่ เหลี่ยม ทาให้มีพ้ืนที่ในการถ่ายเทความร้อนมากกว่าแบบ
ท่อกลม แต่กม็ ีขอ้ เสี ย คือ จะมีน้ าหนักมากกว่า

รูปที่ 5.2-15 Economizer แบบท่อกลม (Cylindrical Economizer)

หน้า 40 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.13 เครื่ องอุ่นนา้ ป้ อนแบบ Tube & Fin (ต่อ)


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
การติดตั้ง Economizer แบบ Tube & Fin จะต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม คือ จะต้องติดตั้ง
ปั๊ม เดินท่อน้ า และดัดแปลงปล่องเพื่อติดตั้งตัว Economizer

รูปที่ 5.2-16 การประยุกต์ใช้ Economizer แบบ Tube & Fin


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
การติดตั้ง Economizer จะทาให้ประสิ ทธิ ภาพรวมของระบบเพิ่มขึ้นประมาณ 5-7% ขึ้นอยูก่ บั
ชนิ ดเชื้อเพลิงที่ใช้ ขนาดหม้อน้ า และสภาพการใช้งานของเครื่ อง เทคโนโลยีน้ ี มีระยะเวลาใน
การคืนทุนสั้นประมาณ 6 เดือนถึง 3 ปี

รูปที่ 5.2-17 ประสิ ทธิภาพของหม้อน้ าเมื่อทาการติดตั้ง Economizer

หน้า 41 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.13 เครื่ องอุ่นนา้ ป้ อนแบบ Tube & Fin (ต่ อ)


4. ตัวอย่ างกรณีศึกษา
บริษัท Altivity Packaging, Santa Clara, CA, USA
- ได้รับความร้อนจากน้ าร้อน 1,300 GPM
- นาพลังงานกลับมาใช้ได้ 58,178,00 Btu/h
ขณะรับภาระสู งสุ ด
5 - ประหยัดต้นทุน 3,263,000 เหรี ยญต่อปี
บริษัท Goodyear Tire & Rubber Co., Ltd.
- ใช้อุปกรณ์สองตัวเพื่อต้มน้ า 180,00 lb/h
จาก 70ºF ไปเป็ น 180ºF
- นาพลังงานกลับมาใช้ได้ 20,700,000 Btu/h
- คืนทุนภายใน 1 ปี
- นาน้ ากลับมาใช้ได้ 11.4 ล้านแกลลอนต่อปี

หน้า 42 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.14 เครื่ องอุ่นนา้ ป้ อนแบบสั มผัสตรง


1. หลักการทางานของเทคโนโลยี
หลักการทางานของ Economizer แบบสัมผัสตรงนั้นเป็ นการนาเอาแก๊สที่ได้จากการเผาไหม้
เข้าไปผ่านกระบวนการแยกของแข็ง (Cyclone) ให้ออกจากแก๊ สภายในถังแรงดัน หลังจาก
ผ่านกระบวนการนี้ แล้ว จะเหลื อ แต่ แ ก๊ ส และจะน าแก๊ ส นี้ ไปแลกเปลี่ ยนความร้ อ นกับ น้ า
โดยตรง หลังจากสิ้ นสุ ดกระบวนการจะได้อากาศที่ เย็นและน้ าที่ ร้อน ซึ่ งอากาศที่เย็นจะถูก
ปล่อยทิ้งออกไป ส่ วนน้ าที่ร้อนจะถูกส่ งไปยังหม้อต้มน้ า 5

รูปที่ 5.2-18 เครื่ องอุ่นน้ าป้อนแบบสัมผัสตรง


2. การใช้ ทดแทนเทคโนโลยีเดิม
อุปกรณ์และการปรับปรุ ง
- Pressure Vessel
- Pump
- Blower

หน้า 43 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.14 เครื่ องอุ่นนา้ ป้ อนแบบสั มผัสตรง (ต่อ)

รูปที่ 5.2-19 การใช้งาน Economizer แบบสัมผัสตรง


3. ศักยภาพการประหยัดพลังงาน
ประโยชน์ ข้อดี และข้อเสี ยของเทคโนโลยี
ข้ อดี
- ประสิ ทธิภาพในการถ่ายเทความร้อนสู งมาก และความดันสู ญเสี ยทางด้านไอเสี ยต่า
- ลดมลภาวะของอากาศ เช่น แก๊สเรื อนกระจก
- มีการคืนทุนเร็ว 1-3 ปี
ข้ อเสี ย
- น้ าที่ส่งไปยังหม้อน้ ามีคุณภาพด้อยลง
- มีการกัดกร่ อนโลหะ

การใช้เทคโนโลยี Economizer แบบสัมผัสตรงสามารถทาให้ประหยัดพลังงานได้ 15-35% มี


การคืนทุน 1-3 ปี

หน้า 44 จาก 45
บทที่ 5 กรณี ศึกษาที่ประสบผลสาเร็จและเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน

5.2.14 เครื่ องอุ่นนา้ ป้ อนแบบสั มผัสตรง (ต่ อ)


4. ตัวอย่ างกรณีศึกษา
บริษัท NRG, San Francisco, CA, USA
- ประหยัดพลัง > 13 MBtu/h
- ประหยัดน้ า > 8 ล้านแกลลอนต่อปี
- ลด CO2 ได้ > 8,000 ตันต่อปี
- ประหยัดเชื้อเพลิง > 2,000 เหรี ยญต่อวัน 5
- ระยะเวลาคืนทุน < 1.3 ปี
บริษัท Seattle Steam Company
- ประหยัดพลัง > 14 MBtu/h
- ประหยัดน้ า > 9 ล้านแกลลอนต่อปี
- ลด CO2 ได้ > 9,000 ตันต่อปี
- ประหยัดเชื้อเพลิง > 2,000 เหรี ยญต่อวัน
- ระยะเวลาคืนทุน < 2 ปี

หน้า 45 จาก 45
ภาคผนวก
ภาคผนวก

ก–จ

หน้า 1 จาก 16
ภาคผนวก-ก
ตารางแปลงหน่ วย
ภาคผนวก

หน้า 2 จาก 16
ภาคผนวก

หน้า 3 จาก 16
ภาคผนวก

หน้า 4 จาก 16
ภาคผนวก-ข
ตารางสมการวิเคราะห์ พลังงานและประสิ ทธิภาพ
1. ประสิ ทธิภาพ , 
ประสิ ทธิภาพ (%) = (พลังงานที่ได้ออกมา / พลังงานที่ป้อนเข้าไป) x 100
= (กําลังที่ได้ออกมา / กําลังที่ป้อนเข้าไป) x 100
ประสิ ทธิภาพหม้อไอนํ้า (%) = มวลของไอนํ้า x (เอนธาลปี ของไอนํ้า-เอนธาลปี ของ
นํ้าป้อน)/(ค่าความร้อนทางตํ่าของเชื้อเพลิง) x 100

ภาคผนวก
2. กําลังทางกล , PM
PW : วัตต์ (W) = T = 2TN/60
เมื่อ T = แรงบิด, นิวตัน (N)
 = ความเร็ วเชิงมุม, เรเดียน/วินาที (rad/s)
N = ความเร็ วรอบ, รอบ/นาที (rpm)
3. กําลังของไหล , P F
PF : วัตต์ (W) = P.m/
เมื่อ P = ความดัน, ปาสคาล (Pa)
.m = อัตราการไหลเชิงมวล, กิโลกรัม/วินาที(kg/s)
 = ความหนาแน่น, กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร(kg/m3)
4. กําลังไฟฟ้า , P E
PE : วัตต์ = VI cos สําหรับระบบไฟฟ้า 1 เฟส
(W) = √3 VI cos สําหรับระบบไฟฟ้า 3 เฟส
เมื่อ V = แรงดันไฟฟ้า, โวลท์ (V)
I = กระแสไฟฟ้า, แอมแปร์ (A)
cos = ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์

หน้า 5 จาก 16
5.ความร้ อนสั มผัส , Q s
QS : วัตต์ (W) = m CP (T2-T1)
เมื่อ m = อัตราการไหลเชิงมวล, กิโลกรัม/วินาที(kg/s)
CP = ความร้อนจําเพาะของสาร,
จูล/กิโลกรัม-องศาเซลเซี ยส(J/kgC)
T2-T1 = ผลต่างของอุณหภูมิ, องศาเซลเซียส(C)
6.ความร้ อนแฝง , Q l
QL: วัตต์ (W) = m.hfg
ภาคผนวก

เมื่อ m = อัตราการไหลเชิงมวล, กิโลกรัม/วินาที(kg/s)


hfg = ความร้อนแฝงของสาร, จูล/กิโลกรัม(J/kg)
7.ภาระทําความร้ อน , Q T
QT : วัตต์ (W) = m (h2-h1)
เมื่อ m = อัตราการไหลเชิงมวล, กิโลกรัม/วินาที(kg/s)
h1 , h2 = เอนธาลปี ของสาร, จูล/กิโลกรัม(J/kg)
8.อัตราการถ่ ายเทความร้ อน , Q
QCOND : วัตต์ = (k/x) A (T2-T1) สําหรับการนําความร้อน
(W) = h A (T2-T1) สําหรับการพาความร้อน
QCONV : วัตต์ =  A(T2 -T1 )
4 4
สําหรับการแผ่รังสี ความร้อน
(W) เมื่อ k = ค่าการนําความร้อน, วัตต์/เมตร-เคลวิน(W/m-K)
QRAD : วัตต์ X = ความหนาของวัสดุ, เมตร(m)
(W) A = พื้นที่ถ่ายเทความร้อน, ตารางเมตร(m2)
T = อุณหภูมิ, เคลวิน (K)
H = ค่าสัมประสิ ทธิ์การพาความร้อน,
วัตต์/ตารางเมตร-เคลวิน (W/m2-K)
 = ค่าสัมประสิ ทธิ์การแผ่รังสี
 = ค่าคงที่ = 5.67  10-8 W/m2K4

หน้า 6 จาก 16
9.พลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ , E
E: = P x UF x OF x h
kWh/ปี เมื่อ P = กําลังไฟฟ้าที่ใช้ (kW)
UF = ตัวประกอบการใช้งาน (Used Factor)
OF = ตัวประกอบการทํางาน (Operating Factor)
h = ชัว่ โมงการใช้งานต่อปี (h/y)
10.ความสามารถในการผลิตไอนํา้ สมมูลจริง , Ton/hr
SER : = ( ms(hgr-hfr)/ ms (hg-hf))*1,000

ภาคผนวก
Ton/hr เมื่อ ms = มวลของไอนํ้าจริ ง ( kg/hr)
hgr = เอนธาลปี ของไอนํ้าอิ่มตัวที่ความดันใช้งาน
hfr = เอนธาลปี ของนํ้าอิ่มตัวที่อุณหภูมิ นํ้าป้อน
hg = เอนธาลปี ของไอนํ้าอิ่มตัวที่อุณหภูมิ 100 OC
hf = เอนธาลปี ของนํ้าอิ่มตัวที่อุณหภูมิ 100 OC
11.อัตราการระเหย
อัตราการ = ms/A
ระเหย เมื่อ ms = ปริ มาณไอนํ้าที่ผลิตได้ (kg/hr) อ่านจากมิเตอร์น้ าํ
ป้อนโดยหักปริ มาณการโบลว์ดาวน์หรื อจากการ
วัดไอนํ้าโดยตรง
A = พื้นที่ผวิ แลกเปลี่ยนความร้อนของหม้อไอนํ้า
(m2) ได้จากผูผ้ ลิต
12.จํานวนเท่ าของการระเหย
จํานวน = ms/mf
เท่ าของ เมื่อ ms = ปริ มาณไอนํ้าที่ผลิตได้ (kg/hr) อ่านจากมิเตอร์น้ าํ
การ ป้อนโดยหักปริ มาณการโบลว์ดาวน์หรื อจากการ
ระเหย วัดไอนํ้าโดยตรง
mf = ปริ มาณเชื้อเพลิงที่ใช้ (L/hr , kg/hr) จากมิเตอร์
เชื้อเพลิงหรื อการชัง่

หน้า 7 จาก 16
13.ดัชนีการใช้ พลังงานของอุปกรณ์ ใช้ ไอนํา้
ดัชนี = ms(hg-hfo)/mp
การใช้ เมื่อ ms = ปริ มาณไอนํ้าที่ไหลเข้าอุปกรณ์ (kg/hr) หาได้จาก
พลังงาน มิเตอร์ไอนํ้าโดยตรงหรื อวัดจากนํ้าคอนเดนเสท
ของ หรื อจากวาล์วควบคุม
อุปกรณ์ hg = เอนธาลปี ของไอนํ้าอิ่มตัวที่ความดันไอนํ้า
ใช้ ไอนํา้ เข้าอุปกรณ์ (kJ/kg)
hfo = เอนธาลปี ของนํ้าที่ความดันคอนเดนเสทหรื อ
ภาคผนวก

ที่อุณหภูมิผลผลิต(kJ/kg)
mP = ปริ มาณของผลผลิต (kg/hr) หาจากการชัง่
นํ้าหนัก

หน้า 8 จาก 16
ภาคผนวก ค
ตารางค่ าความร้ อนทางตํ่าของเชื้อเพลิง
กิโลแคลอรี/ ตันเทียบเท่ า
เมกะจูล พันบีทยี ู
หน่ วย นํา้ มันดิบ/
ประเภท (หน่ วย) ต่ อหน่ วย ต่ อหน่ วย TYPE (UNIT)
ล้ านหน่ วย
MJ/UNIT 103Btu/UNIT
kcal/UNIT toe/106UNIT
พลังงานเชิงพาณิชย์ COMMERCIAL ENERGY
1. นํ้ ามันดิบ (ลิตร) 8680 860.00 36.33 34.44 1. CRUDE OIL (litre)
2. คอนเดนเสท (ลิตร) 7900 782.72 33.07 31.35 2. CONDENSATE (litre)
3. ก๊าซธรรมชาติ 3. NATURAL GAS

ภาคผนวก
3.1 ชื้น (ลูกบาศก์ฟตุ ) 248 24.57 1.04 0.98 3.1 WET (scf.)
3.2 แห้ง (ลูกบาศก์ฟตุ ) 244 24.18 1.02 0.97 3.2 DRY (scf.)
4. ผลิตภัณฑ์ปิโ ตรเลียม 4. PETROLEUM PRODUCTS
4.1 ก๊าซปิ โ ตรเลียมเหลว (ลิตร) 6360 630.14 26.62 25.24 4.1 LPG (litre)
4.2 นํ้ ามันเบนซิ น (ลิตร) 7520 745.07 31.48 29.84 4.2 GASOLINE (litre)
4.3 นํ้ ามันเครื่ องบิน (ลิตร) 8250 817.40 34.53 32.74 4.3 JET FUEL (litre)
4.4 นํ้ ามันก๊าด (ลิตร) 8250 817.40 34.53 32.74 4.4 KEROSENE (litre)
4.5 นํ้ ามันดีเซล (ลิตร) 8700 861.98 36.42 34.52 4.5 DIESEL (litre)
4.6 นํ้ ามันเตา (ลิตร) 9500 941.24 39.77 37.70 4.6 FUEL OIL (litre)
4.7 ยางมะตอย (ลิตร) 9840 974.93 41.19 39.05 4.7 BITUMEN (litre)
4.8 ปิ โ ตรเลียมโ ค้ก (กก.) 8400 832.26 35.16 33.33 4.8 PETROLEUM COKE (litre)
5. ไฟฟ้ า (กิโ ลวัตต์ชวั่ โ มง) 860 85.21 3.60 3.41 5. ELECTRICITY (kWh)
6. ไฟฟ้ าพลังนํ้ า (กิโ ลวัตต์ชวั่ โ มง) 2236 221.54 9.36 8.87 6. HYDROELECTRIC (kWh)
7. พลังงานความร้อนใต้พิภพ 9500 941.24 39.77 37.70 7. GEOTHERMAL (kWh)
(กิโ ลวัตต์ชวั่ โ มง)
8. ถ่านหิ นนําเข้า (กก.) 6300 624.19 26.37 25.00 8. COAL IMPORT (kg.)
9. ถ่านโ ค้ก (กก.) 6600 653.92 27.63 26.19 9. COKE (kg.)
10. แอนทราไซต์ (กก.) 7500 743.09 31.40 29.76 10. ANTHRACITE (kg.)
 

หน้า 9 จาก 16
ตารางค่ าความร้ อนทางตํ่าของเชื้อเพลิง (ต่ อ)
กิโลแคลอรี/ตันเทียบเท่ า เมกะจูล พันบีทยี ู
หน่ วย นํา้ มันดิบ/ ต่ อหน่ วย ต่อหน่ วย
ประเภท (หน่ วย) TYPE (UNIT)
ล้ านหน่ วย
kcal/UNIT toe/106UNIT MJ/UNIT 3
10 Btu/UNIT
11. อีเทน (กก.) 11203 1110.05 46.89 44.45 11.ETHANE (kg.)
12. โ ปรเพน (กก.) 11256 1115.34 47.11 44.67 12.PROPANE (kg.)
13. ลิกไนต์ 13.LIGNITE
13.1 ลี้ (กก.) 4400 435.94 18.42 17.46 13.1 LI (kg.)
13.2 กระบี่ (กก.) 2600 257.60 10.88 10.32 13.2 KRABI (kg.)
ภาคผนวก

13.3 แม่เมาะ (กก.) 2500 247.70 10.47 9.92 13.3 MAE MOH (kg.)
13.4 แจ้คอน (กก.) 3610 357.67 15.11 14.32 13.4 CHAE KHON (kg.)
พลังงานใหม่ และ NEW & RENEWABLE ENERGY
หมุนเวียน
1. ฟื น (กก.) 3820 378.48 15.99 15.16 1. FUEL WOOD (kg.)
2. ถ่าน (กก.) 6900 683.64 28.88 27.38 2. CHARCOAL (kg.)
3. แกลบ (กก.) 3440 340.83 14.40 13.65 3. PADDY HUSK (kg.)
4. กากอ้อย (กก.) 1800 178.34 7.53 7.14 4. BAGASSE (kg.)
5. ขยะ (กก.) 1160 114.93 4.86 4.60 5. GARBAGE (kg.)
6. ขี้เลื่อย (กก.) 2600 257.60 10.88 10.32 6. SAW DUST (kg.)
7. วัสดุเหลือใช้ 3030 300.21 12.68 12.02 7. AGRICULTURAL WASTE (kg.)
ทางการเกษตร (กก.)
8.ก๊าซชีวภาพ 5000 495.39 20.93 19.84 8. BIOGAS (m3)
(ลูกบาศก์เมตร)
 

หน้า 10 จาก 16
ภาคผนวก ง
ตารางค่ าการแปลงหน่ วยทัว่ ไป

1 กิโลแคลอรี (kcal) = 4186 จูล (joules)


= 3.968 บีทียู (Btu)
1 ตันเทียบเท่านํ้ามันดิบ (toe) = 10.093 จิกะแคลอรี (Gcal)
= 42.244 จิกะจูล (GJ)
= 40.047 x 10 6 บีทียู (Btu)

ภาคผนวก
1 บาร์เรล (barrel) = 158.99 ลิตร (litres)
1 ลูกบาศก์เมตรของไม้ = 600 กิโลกรัม (kg.)
(cu.m. of solid wood)
1 ลูกบาศก์เมตรของถ่าน = 250 กิโลกรัม (kg.)
(kg. of charcoal)
5 กิโลกรัมของฟื น = 1 กิโลกรัมของถ่าน
(kg. of fuel wood) (kg. of charcoal product)
1 ลิตรของก๊าซปิ โตรเลียมเหลว = 0.54 กิโลกรัม (kg.)
(litre of LPG)

ที่มา : รายงานพลังงานของประเทศไทยรายปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

หน้า 11 จาก 16
ตารางไอนํา้ อิม่ ตัว (ตามอุณหภูมิ)

ภาคผนวก

หน้า 12 จาก 16
ตารางไอนํา้ อิม่ ตัว (ตามอุณหภูมิ) ต่อ

ภาคผนวก

หน้า 13 จาก 16
ตารางไอนํา้ อิม่ ตัว (ตามความดัน)

ภาคผนวก

หน้า 14 จาก 16
ตารางไอนํา้ อิม่ ตัว (ตามความดัน) ต่อ

ภาคผนวก

หน้า 15 จาก 16
ภาคผนวก จ
ปริมาณ O 2 และ CO 2 ทีเ่ หมาะสมของไอเสี ย

Target Flue Gas


Concentrations
Fuel Excess Air Efficiency
Oxygen Carbon
Dioxide
Natural Gas 1-2 11.9-12.3% 5-10% 85.2-85.4%
ภาคผนวก

Fuel Oil 2-3% 15.4-15.8% 10-15% 89.0-89.2%


Coal (Stoker) 3.5-5% 17.2-17.4% 20-30% 81.0-82.0%
Coal 3-3.5% - 15-20% 85.0-86.5%
(Pulverized)

หน้า 16 จาก 16
บรรณานุกรม
[1] กรมพัฒ นาพลัง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์พ ลัง งาน, (2547), ตํา ราฝึ กอบรมหลัก สู ต ร
ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงาน (ผชพ.) สามัญ
[2] กรมพัฒ นาพลัง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์พ ลัง งาน, (2547), ตํา ราฝึ กอบรมหลัก สู ต ร
ผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงาน (ผชพ.) อาวุโส ด้านความร้อน
[3] กรมพัฒ นาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์พ ลังงาน, (2550), คู่ มื อประกอบการฝึ กอบรม
หลัก สู ต ร “พัฒ นา บุ ค ลากรภาคปฏิ บ ัติ ด้า นเทคโนโลยีก ารอนุ รั ก ษ์ พ ลัง งานในอุ ป กรณ์
เครื่ องจักรกลางที่ใช้ในโรงงานและอาคารธุรกิจ (ด้านหม้อไอนํ้า)”
[4] กรมพัฒ นาพลังงานทดแทนและอนุ รั ก ษ์พ ลังงาน, (2550), คู่ มื อ การอนุ รัก ษ์พ ลังงาน
อุปกรณ์เครื่ องจักรกลางในโรงงานและอาคารธุรกิจ (กับดักไอนํ้า)
[5] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์พลังงาน, (2551), มาตรการการอนุ รักษ์ พลังงาน
จากเทคโนโลยีที่ ประสบความสําเร็ จสําหรับอาคารธุรกิจ
[6] สมาคมส่ งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), (2543), เทคนิ คการประหยัดพลังงานความร้อน
ในอุตสาหกรรม
[7] กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม, (2549), Thermal Energy Efficientcy Improvement Handbook
[8] ศุ ภ ชัย ปั ญ ญาวีร์และจตุ พ ร สถากุล เจริ ญ ,การลดต้น ทุ น การผลิ ต ด้านพลังงาน,สมาคม
ส่ งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น),กรุ งเทพฯ,2549
[9] กรมพัฒ นาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์พ ลังงาน, (2554), ตําราฝึ กอบรมหลักสู ตรการ
ตรวจวิเคราะห์การอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ
[10] กรมโรงงานอุตสาหกรรม,(2553), คู่มือฝึ กอบรมทบทวนความรู ้ให้แก่ผูค้ วบคุ มประจํา
หม้อนํ้าและหม้อต้มนํ้ามันร้อน
[11] http://www.energo-spaw.pl/en/kotlownie.php
[12] http://proficienttechnologies.com/serv_utilizationsurvey.html
[13]http://www.power-technology.com/contractors/boilers/loosinternational/
loosinternational3.html
[14] http://www.cesare-bonetti.it/Products/Valves/blowdown.htm

หน้า 1 จาก 2
[15] กรมพัฒ นาพลัง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลัง งาน “คู่ มื อ หลัก สู ต รการบริ ห ารจัด
การพลังงานความร้อน”
[16] กลุ่มวิจยั เพื่อการอนุ รักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี “คู่มือการทําความ
ร้อนทิ้งกลับมาใช้”
[17] กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2547) “คู่มือการปรับแต่งหัวเผา”
[18] ศูนย์วิศวกรรมอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี และกรมพัฒนาพลังงาน
ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน “คู่มือปรับแต่งหัวเผา”
[19] กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2553) “คู่มือฝึ กอบรมทบทวนความรู ้ให้แก่ผูค้ วบคุมประจํา
หม้อไอนํ้า และหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็ นสื่ อนําความร้อน”
[20] กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ์พลังงาน “คู่มือผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส
ด้านปฏิบตั ิ (ด้านความร้อน)”
[21] กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2553) “คู่มือการใช้งานและการดูแลรักษาหม้อไอนํ้า”
[22] สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2540) “มาตรฐานระบบ
ไอนํ้า”

หน้า 2 จาก 2
คณะทำงำนพัฒนำหลักสู ตร
ทีป่ รึกษำโครงกำรด้ ำนพลังงำน
นายพงค์พฒั น์ มัง่ คัง่ ผูอ้ านวยการสานักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน (สพบ.)

คณะกรรมกำร
สานักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้นพลังงาน (สพบ.)
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
1.นายอมรศักดิ์ รังสาคร วิศวกรเครื่ องกลชานาญการพิเศษ
2.นายชวลิต บุญแสง นักทรัพยากรบุคคลชานาญการพิเศษ
3.นายณรงค์ ภู่อยู่ วิศวกรชานาญการพิเศษ
4.นายเอกวัฒน์ หวังสันติธรรม นักทรัพยากรบุคคลชานาญการ
5.นางสาวพรพิมล สุ วรรณนิมิต นักวิชาการพลังงานชานาญการ
6.นางสาวอภิญญา คงสิ นรัตนชัย นักวิชาการพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

ผู้ทรงคุณวุฒิพฒ
ั นำหลักสู ตร
1.นายปัญจะ ทัง่ หิรัญ ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นระบบหม้อไอน้ า
2.นายมานิตย์ กูธ้ นพัฒน์ ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นระบบหม้อไอน้ า

ทีมงำนพัฒนำหลักสู ตร
1. ดร.ศุภชัย ปัญญาวีร์ ผูจ้ ดั การโครงการ
2. นายธิปพล ช้างแย้ม ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์พลังงาน
3. นางวรี รัตน์ ลายทอง เจ้าหน้าที่ดา้ นพัฒนาหลักสู ตร
4. รองศาสตราจารย์ ทวีวฒั น์ สุ ภารส เจ้าหน้าที่ดา้ นสื่ อการสอน
5. นาวาอากาศเอก ชอบ ลายทอง เจ้าหน้าที่ดา้ นการประเมินผล
6.นายกิตติพงษ์ กุลมาตย์ เจ้าหน้าที่ดา้ นการอนุรักษ์พลังงาน
คณะทำงำนพัฒนำหลักสู ตร
ทีมงำนพัฒนำหลักสู ตร (ต่ อ)
7.นายปฏิญญา จีระพรมงคล เจ้าหน้าที่เฉพาะสาขาวิชาชีพ
8.นายมนูญ รุ่ งเรื อง วิศวกรเครื่ องกล
9.นายภิญโญ ตัณฑุมาศ วิทยากร
10.นายกฤษณะ อาสน์สุวรรณ์ วิทยากร
11.นายชนธกานต์ ใสยิง่ เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม
12.นางสาวผ่องอาไพ ตระการรุ จิรัตน์ เจ้าหน้าที่ประสานงานและฝึ กอบรม

คณะทางานพัฒนาหลักสู ตร ประจาปี พ.ศ.2559


คู่มือ “การปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการใช้พลังงานในระบบหม้อไอน้ า”
โครงการพัฒนาบุคลากรเพือ่ การปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการใช้พลังงานในระบบหม้อไอน้ า

You might also like