You are on page 1of 9

อดีตดำรงตำแหน่งทางการเมืองของนายกรัฐมนตรีไทย (ควรจำ เพราะแนวข้อสอบออกบ่อยเช่นกัน เช่น ถามว่า

นายกรัฐมนตรีคนใดไม่เคยดำรงตำแหน่ง รมว.กระทรวงกลาโหม)

1. พระยามโนปกรณนิติธาดา : ตำแหน่งสมาชิก สส.ชุดแรก / นายกฯคนแรก(ประธานคณะกรรมการ


ราษฎร)ของเมืองไทย
2. พระยาพหลพลพยุหเสนา : รมว.กระทรวงกลาโหม การต่างประเทศ การคลัง เกษตราธิการ
3. จอมพล ป. พิบูลสงคราม : นายกฯที่ดำรงตำแหน่งรวมเวลานานมากสุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน
4. ควง อภัยวงศ์ : อธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข / รมว.กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตราธิการ
5. ทวี บุณยเกตุ : เป็นนายกรัฐมนตรีที่มีระยะเวลาดำรงตำแหน่งสั้นที่สุด
6. มรว.เสนีย์ ปราโมช : ผู้พิพากษา / เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา / หัวหน้าทีม
ทนายความในคดีปราสาทเขาพระวิหาร พ.ศ. 2505 กับกัมพูชา ในศาลโลก / เป็นพลเรือนคนแรกที่
ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
7. ปรีดี พนมยงค์ : ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 / รัฐบุรุษอาวุโส /
รมว.กระทรวงการต่างประเทศ(แก้ไขสนธิสัญญาไม่เสมอภาค คือ1.สิทธิสภาพนอกอาณาเขต กับ2.ภาษี
ร้อยชักสาม) กระทรวงการคลัง / ผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การเพียงคนเดียวของมหาวิทยาลัยวิชา
ธรรมศาสตร์และการเมือง
8. ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ : รมว. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม
9. พจน์ สารสิน : รมว.กระทรวงการต่างประเทศ / เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา
10. ถนอม กิตติขจร : ผู้บัญชาการทหารบก / รมว.กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ /
อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2503 - 2506)
11. สฤษดิ์ ธนะรัชต์ : รมว.กระทรวงกลาโหม / ผู้บัญชาการทหารบก / อธิบดีกรมตำรวจ
12. สัญญา ธรรมศักดิ์ : ประธานศาลฎีกา / คณบดีคณะนิติศาสตร์ / อธิการบดี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / รองประธานสภาร่างรัฐธรรมนู / ประธานองคมนตรี
13. มรว. คึกฤทธิ์ ปราโมช : รับบทแสดงในภาพยนตร์เรื่อง The Ugly American (2506) ประเทศ
สารขัณฑ์ + ภาพยนตร์ ผู้แทนนอกสภา (2526)
14. ธานินทร์ กรัยวิเชียร : องคมนตรี / ผู้พิพากษา
15. เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ : รมว.กระทรวงกลาโหม กระทรวงการคลัง / ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
16. เปรม ติณสูลานนท์ : ประธานองคมนตรี / รัฐบุรุษ
17. ชาติชาย ชุณหะวัณ : รมว.กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงกลาโหม
18. อานันท์ ปันยารชุน : ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ / เอกอัครราชทูตไทยประจำสหประชาชาติ
ประเทศแคนาดา ประเทศสหรัฐอเมริกา สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
19. สุจนิ ดา คราประยูร : รมว.กระทรวงกลาโหม / ผู้บัญชาการทหารบก
20. ชวน หลีกภัย : รมว.กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี /
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
21. บรรหาร ศิลปอาชา : รมว.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงอุตสาหกรรม
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง
22. ชวลิต ยงใจยุทธ : รมว.กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการ
สังคม / ผู้บัญชาการทหารบก / รักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด
23. ทักษิณ ชินวัตร : รมว.กระทรวงการต่างประเทศ
24. สุรยุทธ์ จุลานนท์ : องคมนตรี / ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด / รมว.
กระทรวงมหาดไทย
25. สมัคร สุนทรเวช : รมว.กระทรวงกลาโหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงคมนาคม / ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
26. สมชาย วงศ์สวัสดิ์ : รมว.กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงกลาโหม / ผู้พิพากษา / ปลัดกระทรวง
ยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน
27. อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ : ส.ส.กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2535
28. ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร : นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศ / รมว.กระทรวงกลาโหม / ส.ส.
พรรคเพื่อไทย
29. ประยุทธ์ จันทรโอชา : ผู้บัญชาการทหารบก
เหตุการณ์/ลักษณะสำคัญประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกาที่น่าสนใจ

จอร์จ วอชิงตัน
1) ค.ศ.1789 ดำรงตำแหน่งPre USA คนแรก"เมื่อใดที่อิสรภาพเริ่มปรากฏ เมื่อนั้นการเติบโตจะกว้าง
ใหญ่ไพศาล"
- Pre คนแรกของ USA = บิดาแห่งประเทศชาติ
2) เกิดความขัดแย้งในรัฐบาล ระหว่าง
- อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน : รัฐมนตรีฯการคลัง ต้องการให้รัฐบาลมีแผนที่ชัดเจน มีอำนาจทาง
การเงิน >> ตั้งพรรคสหพันธรัฐนิยม
- โทมัส เจฟเฟอร์สัน : รัฐมนตรีฯต่างประเทศ ต่อต้านและคัดค้านหลายๆอย่างแนวคิดของแฮมิลตัน
- วอชิงตันในฐานะเป็นนักปฏิบัติค่อนข้างสบับสนุนไปทางแฮมิลตันมากกว่าเจฟเฟอร์สัน

โทมัส เจฟเฟอร์สัน
1) ค.ศ.1801 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่3
- ผู้เขียนคำประกาศอิสรภาพอเมริกา 4 ก.ค. 1776 ซึ่งต่อมามีผลต่อ อับราฮัม ลินคอล์น
2) ค.ศ.1803 ซื้อเขตแดนหลุยเซียน่าจากฝรั่งเศส

เจมส์ มอนโรว์
1) ค.ศ.1817 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่5
2) ค.ศ.1819 ได้รัฐฟลอริดา
3) ค.ศ.1820 ข้อตกลงมิสซูรี ซึ่งรัฐมิสซูรีประกาศตนเป็นรัฐทาส + เข้าร่วมสหพันธ์ของรัฐเมน(รัฐอิสระ)
4) ค.ศ.1823 ประกาศวาทะมอนโรว์ (Monroe Doctrin) หลักความมั่นคงUSAและกั้นการเข้ามาของพวก
ยุโรป
- หลักการสำคัญ มอนโรว์ คือ
(1) อเมริกาจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับอาณานิคมของสเปนในทวีปอเมริกา
(2) หากชาติยุโรปเข้ามาแทรกแซงประเทศในทวีปอเมริกา อเมริกาจะถือว่าการกระทำนั้นเป็นภัยคุกคาม
ต่อประเทศอเมริกาด้วย
(3) อเมริกาจะไม่ยอมให้ประเทศใดในทวีปยุโรปเข้ามาแสวงหาอาณานิคมในทวีปอเมริกาอีกต่อไป

แอนดรูว์ แจ็กสัน
1) ค.ศ.1829 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่7
- โอลด์ฮิกกอรี่ (Old Hickory)
- รัฐบุรุษอเมริกัน
2) นโยบายการพัฒนาแบบใหม่ “ประชาธิปไตยแจ็กสัน” (Jacksonian democracy)
3) เกิดความไม่พอใจระหว่างรัฐเหนือ (ไม่เห็นด้วยระบบทาส) VS รัฐใต้ (อยากมีทาส) ขัดแย้งกันเบาๆ

อับราฮัม ลินคอล์น
- ก่อนหน้านี้ มีความเข้มข้น การเลือกตั้งดุเดือด ของ2พรรค คือ พรรครีพับลีกัน(อับบราฮัม ลิง
คอล์น) VS พรรคเดโมแครต(สตีเฟ่น ดักลาส) ต่างชูนโยบายเดียวกัน ซึ่งพรรครีพับลีกันชนะ
- รัฐฝ่ายใต้ 7 รัฐ แยกตัวออกจากUSA = ตั้งสมาพันธรัฐ
1) ค.ศ.1861 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่16
- " จงทำลายศัตรูของท่านด้วยการทำให้เขาเป็นมิตร "
- "สิ่งที่สำคัญมิใช่คุณมีชีวิตยืนยาวเพียงใด หากแต่คุณได้ใช้ชีวิตอย่างไรในเวลาที่คุณมี"
2) ค.ศ. 1861-1865 สงครามกลางเมืองอเมริกา (American Civil War)
- ค.ศ. 1861-1863 ปัญหาทาส ขัดแย้งกัน ระหว่างรัฐเหนือ ต่อต้านทาส กับ รัฐใต้ ต้องการทาส สู้รบ
จนฝ่ายใต้เกือบชนะ
- ค.ศ. 1863 ในที่สุดฝ่ายเหนือ นำทัพโดยนายพล แกรนต์ สู้จนชนะสงครามมีประกาศปลดปล่อยทาส
+ แก้ไข รธน.ครั้งที่30
- ค.ศ. 1864 เกิดการแตกภายในกันเอง
- ค.ศ. 1865 ยกเลิกทาส มอบความอิสระและเสรีภาพทั่วประเทศ
รัทเทอร์ฟอร์ด บี. เฮส์
1) ค.ศ.1877 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่19
2) นโยบาย “ทรู แรดดิคัล คอมพลีท”
3) เน้นเศรฐกิจ
- พัฒนาประเทศสู่ประเทศอุตสาหกรรม = ยุคเคลือบทอง (The Gillded Age) ตั้งแต่ ช่วงPre19-Pre26
- เกิด บรรษัท(corporation) + ทรัสต์(trust)

ทีโอดอร์ โรสเวลต์
1) ค.ศ.1901 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่26
- Teddy's Bear, Teddy House
2) ค.ศ. 1903 ผลักดันให้ขุดคลองปานามา
3) ค.ศ. 1905 ได้รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ
- ช่วยเหลือคนจน สร้างความเสมอภาคในเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เช่น ออกกฎหมายควบคุม
trust + ควบคุมแรงงานเด็ก + ควบคุมการรถไฟ + และอื่นๆ
- เน้นอนุรักษ์ธรรมชาติ (ป่าไม้) .

วูดโรว์ วิลสัน
1) ค.ศ.1913 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่28
2) ค.ศ. 1914 เกิด WW.1
3) ค.ศ. 1915 เยอรมณี ยิงเรือ Lusitania เรือขนถ่านดินระเบิด ผู้โดยสารส่วนใหญ่ชาวUSAและEng
- ลูซิทาเนีย จอดที่ท่าเรือ 54 ที่นิวยอร์กในวันที่ 1 พฤษภาคม 1915. สถานทูตเยอรมนีในกรุงวอชิงตัน
ดี.ซี.
4) ค.ศ.1917 USA ประกาศสงครามกับเยอรมณี >> WW.1
5) ค.ศ. 1919 สิ้นสุด WW.1 โดยฝ่ายสัมพันธมิตร(Triple Entente)ชนะ ทำให้ประเทศผู้แพ้ ทำสนธ
สัญญาแวร์ซายส์
- คำแถลง 14 ประการของวิลสัน
- บิดาแห่งบริหารรัฐกิจ จุดเริ่มต้นสาขานี้
- ได้รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ 1919

แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์


1) ค.ศ.1933 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่32
- เป็นPre ยาวนานที่สุด โดยได้รับเลือกตั้งถึง 4 สมัย =12ปี
- เริ่มนโยบาย New Deal ได้แก่ ประกันสังคม ประกันการว่างงาน ดูแลกิจการธนาคาร ให้สินเชื่อSMEs
และโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่
- รายการ Fire-side Chat
2) ค.ศ.1939 เกิดWW. 2
- พลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์ (Douglas MacArthur)
- เสนอองค์การ สหประชาชาติ (United Nations)

แฮร์รี เอส. ทรูแมน ***ยุคแห่งศัตรูรบกันอย่างเยือกเย็น เห็นความแตกแยกเป็น2ขั้วอำนาจ***


1) ค.ศ.1945 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่33
- เป็นคนอนุมัติให้ทิ้งระเบิดปรมาณูที่ ฮิโรชิมาและนางาซากิ ประเทศญี่ปุ่น จนในที่สุด14 สิงหาคม 1945
ญี่ปุ่นยอมแพ้
- หลักการทรูแมน (Truman Doctrine)
- ก่อตั้งสหประชาชาติ
2) ค.ศ.1947 เกิดสงครามเย็น มีแผนมาร์แชลล์ (Marshall Plan) หรือ แผนงานฟื้นฟูยุโรป (European
Recovery Programme;ERP)
3) ค.ศ.1949 ตั้งNATO
4) ค.ศ. 1950-1953 สงครามเกาหลี (สงครามตัวแทน)
5) ค.ศ. 1954 เริ่มสงครามเวียดนาม (สงครามตัวแทน)
ริชาร์ด นิกสัน
1) ค.ศ.1969 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่37
***ยุคแห่งผ่อนคลาย สบายๆพักยกกันนิสนึง Detente***
- หลักการนิกสัน (Nixon Doctrine)
- ไปเยือนจีน และ USSR
2) ค.ศ.1973 ถอนกำลังทหารUSA ออกจากอินโดจีน (เวียดนาม)
3) ค.ศ.1974 คดีวอเตอร์เกต (Watergate scandal)

โรนัลด์ เรแกน
ค.ศ.1981 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่40
- เพิ่มงบประมาณทหาร
- พัฒนาขีปนาวุธ

จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช


ค.ศ.1989 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่41
- สิ้นสุดสงครามเย็น
- USA ขาดดุลการค้า
บิล คลินตัน
ค.ศ.1993 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่42
- เน้นเศรษฐกิจดีขึ้น
- สัมพันธไมตรีกับนายกฯโทนี แบลร์ แห่งEng + ส่งทหารเข้าไปประเทศโซมาเลีย
- บุกกรุงโคโซโว
- คดีความสัมพันธ์ทางเพศกับ โมนิก้า ลูวินสกี้ จึงถูกอิมพีชเมนต์
จอร์จ ดับเบิลยู. บุช
ค.ศ.2001 ดำรงตำแหน่ง Pre.USA คนที่43
- เหตุการณ์ 11 กันยายน 2001 (9/11)
- ประกาศสงครามอัฟกานิสถาน เพื่อโจมตีรัฐบาลตาลีบัน
- ไม่ร่วมตกลง พิธีสารโตเกียว เพราะเกรงกระทบด้านเศรษฐกิจ
- "แนวทางของข้าพเจ้านั้นเห็นว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นทางออก ไม่ใช่ปัญหา"
- เน้นสัมพันธเศรษฐกิจกับต่างประเทศอื่นๆมากขึ้น เช่น ละตินอเมริกา ตะวันออกกลาง
- ค.ศ.2003 บุกอิรัก เพื่อโค่นอำนาจของซัดดัม
ประธานาธิบดี 4 คน ของสหรัฐ ที่เมานต์รัชมอร์ (Mount Rushmore) รัฐเซาท์ดาโคตา (South
Dakota) ได้แก่ จอร์จ วอชิงตัน, โทมัส เจฟเฟอร์สัน, ทีโอดอร์ รูสเวลต์, และ อับราฮัม ลิงคอล์น
อุดมการณ์ทางการเมือง (ส่วนนี้เพิ่มเติมจากคอร์สเนื้อการัฐศาสตร์ มธ. SuperPol เตรียมโดม)

1. เสรีนิยม เน้นเศรษฐกิจสังคมที่ให้เอกชนมีอิสระดำเนินการ โดยรัฐแทรกแซงให้น้อยที่สุด

2. อนุรักษ์นิยม เน้นอุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ ที่ต้านทานการเปลี่ยนแปลง โดยยึดระเบียบที่


คงเดิมไว้

3. ฟาสซิสต์ เป็นลัทธิการเมืองที่ผู้นำรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ +ชาตินิยมรุนแรง แต่ยังให้กรรมสิทธิ์ของ


เอกชน

4. ทุนนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่ทุดคนมีกรรมสิทธิ์ + มีเสรีภาพในการผลิต และการค้า

5. สังคมนิยม เป็นทฤษฎี เศรษฐกิจ และการเมืองที่ให้รัฐ หรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต

6. คอมมิวนิสต์ เป็นลัทธิทุกอย่าง รวมเป็นส่วนกลางร่วมกันทั้งหมด เอกชนไม่มีส่วนสิทธิ์นั้น

You might also like