You are on page 1of 13

ความรูเ้ บืองต้นทางความสัมพันธ์

INTRODUCTION
ระหว่ างประเทศ TO
INTERNATIONAL RELATIONS

รองศาสตราจารย์จุฑาทิพ
คล้ายทับทิม
ยุคผ่อนคลายความตึงเครียด
ยุคDÉTENTE ค.ศ.1971-1980
ผ่อนคลายความตึ งเครียด คือ ยุคทีเกิด
ความสัมพันธ์ 3 เส้าขึนระหว่าง สหรัฐอเมริกา
สหภาพโซเวียต และจีน โดยพยายามลด
บรรยากาศสงครามเย็น และความตึงเครียด
ยุคผ่อนคลายความตึงเครียดก่อให้เกิด
ปรากฏการณ์ในเวที IR

1. การปรับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐเมริกากับ
จีน
2. การผ่อนคลายความตึงเครียดระหว่าง
สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียต
ยุคการขับเคียวและการแข่งขัน
CONTESTATION ค.ศ.1981-1990
CONTESTATION หมายถึง ยุคทีมหาอํานาจ
ทัง 2 ฝายคือสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซ
เวียตต่างแข่งขันกันขยายอิทธิพลและอํานาจโดย
การทําสงครามตัวแทน

สาเหตุททํ
ี าให้เกิดยุคของการขับเคียวและ
การแข่งขัน
1.การยึดครองกัมพูชาของเวียดนาม
2.การยึดครองอาฟกานิสถานของสหภาพ
โซเวียต
สภาพความสัมพันธ์ระหว่างมหาอํานาจใน
ยุค CONTESTATION
1. เกิดความตึงเครียดในความสัมพันธ์ระหว่าง
สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
2. เกิดความตึงเครียดในความสัมพันธ์ระหว่าง
สหรัฐอเมริกาและ PRC
3. ความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและ
PRC แน่นแฟนกันมากขึน

ผลกระทบของการขับเคียวและการแข่งขันต่อ
สภาพความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
1. สหรัฐสนับสนุนนโยบายต่อต้านกบฎ
คอมมิวนิสต์ในอเมริกากลาง เอเชีย และ แอฟริกา
สภาพความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ
ช่ วงปลายสงครามเย็น

. การเปลียนแปลงผู้นําของสหภาพโซเวียต : มิคคาอิล กอร์บาช


อพ (MIKHAIL GORBACHEV) ผูน ้ ําแนวปฏิรูป
และมีความปรารถนาอยูร่ ว ่ มกันโดยสันติ ประกาศ
“แนวคิดใหม่” NEW THINKING
ประกอบด้วย
1. แนวนโยบายเปเรสทรอยก้า
PERESTROIKA
การปฏิรูปเศรษฐกิจ
2. กลาสนอสต์ GLASNOST นโยบายเปด
2. การล่มสลายของค่ายคอมมิวนิสต์
ยุโรปตะวันออก และการ
เปลียนแปลงในสหภาพโซเวียต

การประกาศนโยบายกําหนดชะตาชีวิต
ตนเอง My Way Doctrine ของ มิคคาอิล
กอร์บาชอพ ส่งสัญญาณถึงประเทศ
คอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ให้
สามารถกําหนดแนวทางของตัวเอง ซึง
หมายถึง สิทธิในการเลือกระบอบการ
ปกครอง ระบอบคอมมิวนิสต์ หรือ
การเปลียนแปลงทางการเมืองในประเทศค่าย
คอมมิวนิสต์
ยุโรปตะวันออก

เริมจากโปแลนด์

ฮังการี

การพังทลายกําแพงเบอร์ลิน พฤศจิกายน
1989
สภาพความสัมพันธ์ระหว่างประเทศช่วงหลัง
สงครามเย็น
ค.ศ.1991-ปจจุบัน
1. ผูน
้ ําสหรัฐ ประธานาธิบดีจอร์จ เฮอร์เบิรต
์ บุ
ช (George Herbert Bush) ประกาศในระหว่าง
สงครามอ่าวเปอร์เชียทีอิรก
ั ยึดครองคูเวตว่า
สหรัฐอเมริกาจะทําหน้าทีเปนตํารวจโลก ในการ
รักษาไว้ซงเสถี
ึ ยรภาพและความมันคงระหว่าง
ประเทศโดยการประกาศ“ระเบียบโลกใหม่”
New World Order ประกอบด้วย
1. ประชาธิปไตย
2. การค้าเสรี
3. สิทธิมนุษยชน
. การล่ มสลายของสหภาพโซเวียต
การประกาศความคิดใหม่ NEW THINKING ของ
ประธานาธิบดี
มิคคาอิล กอร์บาชอพ ได้สร้างผลกระทบต่อ
สหภาพโซเวียต ทังในด้าน การเมือง และเศรษฐกิจ
ส่งผลให้บทบาทและอํานาจของพรรคคอมมิวนิสต์
โซเวียต รวมถึง สร้างผลกระทบต่อประธานาธิบดี
กอร์บาชอพ จนเกิดเหตุการณ์รฐ ั ประหาร มีการ
จับกุมตัวประธานาธิบดี แต่ในทีสุดมีผช ู้ ่วยให้
ประธานาธิบดีกอร์บาชอพกลับคืนสูอ ่ ํานาจ แต่
อย่างไรก็ตาม ได้ทําให้สหภาพโซเวียตไม่สามารถ
คงความเปนหัวหน้าค่ายคอมมิวนิสต์อก ี ต่อไป และ
ล่มสลายในทีสุด
. การสถาปนารัฐทีมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย ภายหลังการปฏิเสธ
ลัทธิคอมมิวนิสต์ รัฐในค่ ายคอมมิวนิสต์ เดิมได้ หันมาสถาปนารัฐทีใช้ รูปแบบ
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
. ความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ และปฏิสัมพันธ์ ทเกิี ดขึนระหว่ างรัฐไม่ ได้ ขนึ
อยู่กบั ลัทธิหรืออุดมการณ์ ทางการเมืองอีกต่ อไป
. รัฐในเวทีความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศต่ างหันมาใช้ แนวทางเศรษฐกิจแบบ
ทุนนิยม และสนับสนุนการค้ าเสรี
. ตัวแสดงบนเวทีความสั มพันธ์ ระหว่ างประเทศ ไม่ ได้ จาํ กัดเฉพาะตัวแสดง
ระดับรัฐเท่ านัน ตัวแสดงระดับตํากว่ ารัฐ และตัวแสดงในระดับสู งกว่ ารัฐ มี
บทบาทมากยิงขึน
ผลกระทบของระเบียบโลกใหม่ทางด้าน
การเมื อ งระหว่ างประเทศ
1. บทบาทของมหาอํานาจ สหรัฐอเมริกาดํารง
สถานะประเทศมหาอํานาจอันดับ 1 และมีบทบาท
ต่อการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
2. สงครามเย็นระหว่างมหาอํานาจต่าง
อุดมการณ์ยุติลง
3. บทบาทของอุดมการณ์ทางการเมืองลดลง
4. ศูนย์อํานาจมีลักษณะหลายขัว หรือ ลักษณะ
กระจายอํานาจ
5. ผูน
้ ําประเทศมหาอํานาจหลายชาติแสดง
จุดยืนทีจะลดอาวุธนิวเคลียร์
6. การเปลียนแปลงของรัฐคอมมิวนิสต์ไปใน
ผลกระทบของระเบียบโลกใหม่ทางด้าน
สังคม
1. ความเสือมโทรมของสภาพสิงแวดล้อม
- ผลกระทบจาการพัฒนาอุตสาหกรรม
- ผลกระทบจากการพัฒนาและการขยายตัว
ของเมือง

2. ปญหาการแพร่ระบาดของโรคติดต่อร้ายแรง
เช่น โรคเอดส์ AIDS โรคซาร์ส โรคอีโบลา และ
โรคโควิด 19

You might also like