You are on page 1of 20

สงครามโลกครั้งที่ 2

World War II
(ค.ศ. 1939 – 1945)
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
1. ความไม่ยุติธรรมของสนธิสัญญาหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยเฉพาะสนธิสัญญาแวร์ซายส์
(Versailles Treaty) ซึ่งได้ระบุให้เยอรมนีต้องรับผิดชอบจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมาก ถูกลดกาลังทหาร
และอาวุธ เยอรมนีต้องสูญเสียดินแดนของตนคือ อัลซาสลอเรน(Alsace Larraine)ให้แก่ฝรั่งเศส ต้องยอมยก
ดินแดนภาคตะวันออกให้โปแลนด์ไปหลายแห่ง ต้องยอมให้สันนิบาตชาติเข้าดูแลแคว้นซาร์เป็นเวลา 10 ปี
เกิดฉนวนโปแลนด์(Polish Corridor) ผ่านดินแดนภาคตะวันออกของเยอรมนี เพื่อให้โปแลนด์ มีทางออกไปสู่
ทะเลบอลติกที่เมืองดานซิก ซึ่งเยอรมนีถูกบังคับให้ยกดินแดนดังกล่าวให้โปแลนด์ เพื่อใช้ประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจ ยังผลให้ปรัสเซียตะวันออกถูกแยกออกจากส่วนอื่นของเยอรมนี ซึ่งฮิตเลอร์ถือว่าเป็นสิ่งที่เขาไม่อาจ
ยอมรับได้
เมื่อฮิตเลอร์(Adolf Hitler) ได้ก้าวขึ้นสู่อานาจในช่วงนี้ สร้างกระแสชาตินิยม ฉีกสนธิสัญญาแวร์
ซายส์ และพัฒนาอุตสาหกรรมและการทหาร จนกลายเป็นจุดเริ่มต้นของ สงครามโลกครั้งที่ 2 (World War II)
2. ความขั ดแย้ ง ทางด้า นอุ ดมการณ์ ท างการเมือ งระหว่ างระบอบประชาธิ ปไตยกั บ
ระบอบเผด็จการ ปัญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ทาให้หลายประเทศหัน
ไปใช้ระบอบเผด็จการเพื่อแก้ปัญหาภายใน เช่น เยอรมนีและอิตาลีนาไปสู่การแบ่งกลุ่มประเทศ
เพราะประเทศที่มีระบอบการปกครองเหมือนกันจะรวมกลุ่มกัน
ความแตกต่ า งทางด้ า นการปกครอง กลุ่ ม ประเทศฟาสซิ ส ต์ มี ค วามเข้ ม แข็ ง มากขึ้ น
ได้รวมกันเป็นมหาอานาจอักษะ โรม – เบอร์ลิน – โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) จุดประสงค์
แรก คือเพื่อต่อต้านรัสเซีย ซึ่งเป็นคอมมิวนิสต์ ต่อมาได้ขยายไปสู่การต่อต้านชนชาติ ยิวและนาไปสู่
ความขัดแย้งกับประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
3. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนีอิตาลีและญี่ปุ่น เนื่องจากความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญา
แวร์ซายส์ และเยอรมนีพัฒนาตนเองจนแข็งแกร่งเป็นอาณาจักรเยอรมนีที่ 3 และมีนโยบาย บุกรุกดินแดน
(นโยบายสร้างชาติภายใต้ระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ในอิตาลี นาซีในเยอรมัน และเผด็จการทหารในญี่ปุ่น
4. ลั ท ธิ นิ ย มทางทหาร ได้ แ ก่ การสะสมอาวุ ธ เพื่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพของกองทั พ ท าให้ เ กิ ด
ความเครียดระหว่างประเทศมากขึ้น และเกิดความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน
5. ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ สหรัฐอเมริกาไม่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิก การไม่มีกอง
กาลังประจาของตัวเอง การไม่สามารถจัดการกับประเทศที่ฝ่าฝืนกฎบัตรของสันนิบาตชาติได้ เช่น
- กรณีญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย ใน ค.ศ. 1931 เมื่อญี่ปุ่นส่งทหารเข้าไปในแมนจูเรียของจีน แล้วตั้ง
รัฐแมนจูกัวขึ้น ทาให้จีนร้องเรียนต่อสันนิบาติชาติ ดังนั้นสันนิบาติชาติจึงสั่งให้ญี่ปุ่นถอนกาลังทหารออกจาก
แมนจูเรีย แต่ญี่ปุ่นไม่ปฏิบัติตามและยังได้ประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกองค์การสันนิบาตชาติในเดือน
มีนาคม ค.ศ. 1933 อิตาลี เยอรมนีและการที่เยอรมนีไม่ยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญาแวร์ซายส์
- กรณีอิตาลีรุกรานเอธิโอเปีย เป็นการปฏิบัติในลักษณะเดียวกับที่ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย โดยใน
ปี ค.ศ. 1935 มุสโสลินี ได้ส่งกาลังทหารเข้าไปในเอธิโอเบีย โดยองค์การสันนิบาตชาติดาเนินการด้วยการให้
มาตรการบีบบังคับทางเศรษฐกิจ จึงทาให้อิตาลีลาออกจากการเป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติ อีกทั้ง
มาตรการทางเศรษฐกิจดังกล่าว ก็ล้ มเหลวเพราะไม่ไ ด้ควบคุมไปถึงผลผลิตทางน้ามันและสิ่ งอื่นๆ ที่ มี
ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ อิ ต า ลี ใ น ที่ สุ ด เ อ ธิ โ อ เ ปี ย จึ ง ต ก เ ป็ น ข อ ง อิ ต า ลี
นอกจากนี้ สันนิบาตชาติล้มเหลวในเรื่องนโยบายลดกาลังอาวุธในบรรดาชาติสมาชิกอีกด้วย
6. สภาวะเศรษฐกิจตกต่่าทั่วโลก ซึ่งเป็นผลจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ทั้งประเทศผู้แพ้และ
ชนะสงคราม ต้องประสบปัญหาเศรษฐกิจอย่างหนัก ต่างฝ่ายต่างแข่งขันกันฟื้นฟูเศรษฐกิจและใช้
มาตรการต่างๆ กีดกันประเทศอื่นๆ ทาให้เศรษฐกิจโลกทรุดต่าลงไปอีก จนเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า
ทั่วโลก ในปี ค.ศ. 1929 – 1933
คู่สงคราม
ฝ่ ายอักษะ (Axis Powers) ฝ่ ายพันธมิตร
ฝ่ ายทีก่ ่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ฝ่ ายพันธมิตร ประกอบไปด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภำพโซเวียต
ฝ่ ายอักษะ ประกอบไปด้วย แกนนำหลัก คือ เยอรมนี อิตำลี จีน และ สหรัฐอเมริ กำซึ่ งประเทศทั้ง 5 นี้ต่อมำได้เป็ นสมำชิก
และญี่ปุ่นในนำมของกลุ่มอักษะ โรม – เบอร์ ลิน – โตเกียว ถำวรของคณะมนตรี ควำมมัน่ คงแห่ งสหประชำชำติ (UN)
(Rome-Berlin-Tokyo Axis)ที่มีกำรแถลงวัตถุประสงค์หลัก
ในตอนต้นว่ำ เพื่อต่อต้ำนขบวนกำรคอมมิวนิสต์สำกล
ประเทศแกนนา แกนนาหลัก
อิตำลี (นำโดย เบนิโต มุสโซลินี) - สหรำชอำณำจักร(อังกฤษ) นำโดยวินสตัน เชอร์ชิลล์
นำซี เยอรมนี (นำโดย อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ) - สหภำพโซเวียต (รัสเซี ยในปัจจุบนั )
ญี่ปนุ่ (นำโดย สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ) - ฝรั่งเศส
- สหรัฐอเมริ กำ
- สำธำรณรัฐประชำชนจีน
ประเทศอื่นทีส่ นับสนุน ประเทศอื่นทีส่ นับสนุน
- โรมำเนีย - ออสเตรเลีย
- ฮังกำรี - แคนำดำ
- บัลแกเรี ย - สเปน
- ลิเบีย - โปรตุเกส
ประเทศอื่นทีใ่ ห้ ความร่ วมมือ - ฟิ ลิปปิ นส์
- โครเอเชีย
- ฟิ นแลนด์
- ไทย (น ำโดย จอมพล ป. พิบูลสงครำม)
- อินเดีย
วิกฤตการณส่าคัญก่อนสงคราม
1. เยอรมนียกเลิกสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ค.ศ. 1936 และสนธิสัญญาโลคาร์ โดยการเข้า
ครอบครองแคว้นไรน์ และ การเพิ่มกาลังอาวุธของเยอรมัน
2. สงครามอิตาลีรุกรานเอธิโอเปีย ค.ศ. 1936 (พิพาทระหว่างอิตาลีกับอังกฤษ ในกรณีที่
อิตาลีบุกเอธิโอเปีย)
3. สงครามกลางเมืองสเปน ค.ศ. 1936 – 1939
4. เยอรมนีรวมออสเตรีย ค.ศ. 1938
5. เยอรมนีรวมเชคโกสโลวาเกีย ค.ศ. 1938
6. อิตาลียึดครองแอลเบเนีย ค.ศ. 1939
7. ปัญหาฉนวนโปแลนด์ค.ศ. 1939
8. การขยายอานาจของญี่ปุ่นในเอเชีย ค.ศ. 1931 – 1939 (ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย แล้วตั้ง
เป็นรัฐแมนจูกัว เพื่อเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและแหล่งลงทุนใหม่สาหรับตลาดการรค้าของญี่ปุ่น)
ชนวนระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 2
ฉนวนโปแลนด์ (Polish Corridor) มีชาวเยอรมนีอาศัยอยู่มาก เยอรมนีเสียดินแดนส่วนนี้
ให้แก่โปแลนด์ตามสนธิสัญญาแวร์ซาย์ และฉนวนโปแลนด์ยังแบ่งแยกดินแดนเยอรมนี เป็นสองส่วน
คือ ส่วนปรัสเซียตะวันตกและปรัสเซียตะวันออก ฮิตเลอร์ ขอสร้างถนนผ่านฉนวนโปแลนด์ไปปรัสเซีย
ตะวันออก อังกฤษและฝรั่งเศสคัดค้าน
ฮิตเลอร์จึงยกเลิกสัญญาที่เยอรมนีจะไม่รุกรานโปแลนด์ และทาสัญญาไม่รุกรานกับสหภาพ
โซเวียต เยอรมนีเริ่มสงครามด้วยการบุกโปแลนด์ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 แบบสายฟ้าแลบ (Blitzkrieg)
กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์ เมื่อ 1 กันยายน ค.ศ.
1939 เนื่ องจากโปแลนด์ ปฏิ เสธที่ จ ะยกเมื องท่ า ดานซิ ก
และฉนวนโปแลนด์ ในเยอรมนี อั งกฤษและฝรั่งเศส ซึ่ งมี
สัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ อังกฤษและฝรั่งเศส
จึงยื่นคาขาดได้เยอรมันถอนทหารออกจากโปแลนด์ เมื่อฮิต
เลอร์ไม่ปฏิบัติตาม ทั้งสองประเทศ จึงประกาศสงครามกับ
เยอรมนี ในวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1939
เยอรมนีทาการรบแบบสายฟ้าแลบ ได้ชัยชนะอย่างรวดเร็วได้ดินแดนโปแลนด์เนเธอร์แลนด์
เบลเยี่ยม เดนมาร์ก และฝรั่งเศส โจมตีอังกฤษ รัสเซีย ทางอากาศ ซึ่งเป็นการทาสงครามทางอากาศที่
ยิ่งใหญ่ที่สุด
ในระยะแรกของสงครามฝ่ายอักษะได้เปรียบอย่างเห็นได้ชัด แต่หลังจากวัน D-Day (Decision -
Day) ซึ่งเป็นวันที่สัมพันธมิตรยกพลขึ้นบกที่มอร์มังดี (Nomandy) ประเทศฝรั่งเศสด้วยกาลังพลนับล้านคน
เครื่องบินรบ 11,000 เครื่อง เรือรบ 4,000 ลา วิถีของสงคราม จึงค่อย ๆ เปลี่ยนด้าน กลายเป็นฝ่าย
สัมพันธมิตรได้เปรียบ
ด้านมหาสมุทรแปซิฟิก
ญี่ปุ่นบุกแมนจูเรีย(จีน)ในปีค.ศ.1931 และเสนอ
แผนการที่ จ ะสถาปนา “วงไพบูลย์ แ ห่งมหาเอเชีย บูรพา”
เพื่อผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและด้านอื่นๆ ญี่ปุ่นโจมตี
ฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิ รล์ฮาร์เบอร์ เมื่อวันที่ 7
ธันวาคม ค.ศ. 1941 สหรั ฐ จึ งเข้ า สู่ ส งครามโลกครั้ งที่ 2
โดยปร ะกาศส งคร ามเข้ า ร่ ว มกั บ ฝ่ ายสั มพั น ธมิ ต ร
ขณะเดี ย วกั น ญี่ ปุ่ น เปิ ด สงครามในเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงใต้หรือที่เรียกว่า“สงครามมหาเอเชียบูรพา”
เรือรบยูเอสเอสเวสต์เวอร์จิเนียที่ถูกปกคลุมด้วยควันไฟและเปลวเพลิง
หลังถูกกองทัพญี่ปุ่นโจมตีโดยไม่ทันได้ตั้งตัว เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 1941
(AFP PHOTO / THE NATIONAL ARCHIVES)
กองทัพเรือสหรัฐที่เสียหายจากการที่ญี่ปุ่นเข้าโจมตีอ่าวเพิร์ล 7 ธันวาคม 1941 เรือพิฆาตแฮมแมนน์ (USS Hammann) ขณะเกิดระเบิดจากตอปิโดของเรือดาน้าญี่ปุ่น
https://www.silpa-mag.com/history/article_40872 ข้างกันคือเรือบรรทุกเครื่องบินยอร์กทาวน์ (USS Yorktown)
(ภาพจาก www.history.navy.mil)
การรบในแปซิฟิก
ญี่ปุ่นเป็นค่สูงครามกับสหรัฐอเมริกา สงครามก็ยุติลงอย่างเป็นรูปธรรมด้วยชัยชนะของฝ่าย
สัมพันธมิตร โดยการทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกชื่อลิตเติลบอย ที่เมืองฮิโรชิมา เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 1945
และลูกที่ 2 ชื่อแฟตแมน ที่เมืองนางาซากิ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1945
และวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ประเทศญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้ โดยเซ็นสัญญาสงบศึกที่เรือรบ
มิสซูรี

นายมาโมรุ ชิเกมิตสึ รมว.ต่างประเทศของญี่ปุ่น ลงนามในตราสารแห่งการ


ยอมจานน (Japanese Instrument of Surrender) ในนามของรัฐบาล
ญี่ปุ่น บนเรือรบยูเอสเอส มิสซูรี ของสหรัฐฯ
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2

1. มีกำรจัดตั้งองค์กำรสหประชำชำติ(UN : United Nations)เพื่อด ำเนินงำนแทนองค์กำร


สันนิบำตชำติ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อรักษำสันติภำพของโลกและให้กลุ่มสมำชิกร่ วมมือช่วยเหลือกัน
และสนับสนุนสันติภำพของโลก รวมทั้งกำรพัฒนำประเทศในด้ำนต่ำง ๆ ซึ่ งนับว่ำมีควำมเข้มแข็ง
กว่ำเดิม เพรำะสหรัฐอเมริ กำเข้ำร่ วมเป็ นสมำชิกผูก้ ่อตั้งและมีกองทหำรของสหประชำชำติ (UN)
2. สภำพเศรษฐกิจตกต่ำทัว่ โลก (Great Depression)
3. ควำมสู ญเสี ยทำงด้ำนสังคมและทำงจิตวิทยำ อย่ำงกว้ำงขวำง
4. กำรเกิดประเทศเอกรำชใหม่ๆ (ประเทศที่เคยตกเป็ นอำณำนิคมของชำติตะวันตกต่ำง
ประกำศเอกรำชของตนเอง ทัว่ โลก โดยเฉพำะในเอเชีย และ แอฟริ กำ และบำงประเทศถูกแบ่ง
ออกเป็ น 2 ส่ วน เช่น เยอรมนี เกำหลี เวียดนำม
5. มีการนาอาวุธที่ทันสมัยและระเบิดปรมาณูมาใช้ทาให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและ
ทรัพย์สินมากกว่าสงครามโลกครั้งที่ 1
6. เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต (USSR)
7. ทาให้เกิดสงครามเย็น(Cold War) ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยที่ประเทศสหภาพ
โซเวียต (USSR) ในสมัยสตาร์ลินมีนโยบายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ไปสู่ ยุโรปตะวันออก และเยอรมนี
ตะวันออก ซึ่งมีทหารรัสเซีย เข้าปลดปล่อยดินแดนเหล่านี้ จากอานาจฮิตเลอร์ในสงครามโลกครั้งที่สอง
ขณะที่สหรัฐอเมริกาต้องการสกัดกั้นการขยายตัวดังกล่าว และเผยแผ่การปกครองแบบเสรี
ประชาธิปไตยในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะดินแดนอาณานิคมที่ประกาศเอกราช เป็นประเทศใหม่หลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2 จนเกิดสภาวการณ์ที่เรียกว่า สงครามเย็น (Cold War)
THANKS!

CREDITS: This presentation template was created


by Slidesgo, including icons by Flaticon,
infographics & images by Freepik

You might also like