You are on page 1of 25

ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.

com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน


บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่ อ นที่ ข อง นิ วตัน
3.1 มวล
มวล (m) หมายถึงสมบัติตา้ นการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ สมบัติของมวลข้อนี้
อาจเรี ยกอีกอย่างว่า “ ความเฉื่อย ”
ตัวอย่างเช่ น หากเรามีกอ้ นหิ นขนาดใหญ่ (มีมวลมาก) การจะผลักให้กอ้ นหิ นนี้ เคลื่ อนที่
ต้องใช้แรงผลักมาก ทั้งนี้ เป็ นเพราะก้อนหิ นที่ มีมวลมากนั้นจะมีความสามารถในการต้านการ
เคลื่ อนที่ได้มากนัน่ เอง ในทางกลับกันก้อนหิ นที่มีมวลน้อยก็จะต้านการเคลื่ อนที่ได้น้อย หาก
ต้องการให้เกิดการเคลื่อนที่ก็ใช้แรงเพียงน้อยก็สามารถทาให้เคลื่อนที่ได้
มวลมาก มวลน้อย
มาก
ต้องใช้แรงผลักมาก ต้านการเคลื่อนที่มาก ใช้แรงน้อย
ต้านการเคลื่อนที่นอ้ ย
มาก มาก
ควรรู้ 1) มวลเป็ นปริ มาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg)
2) มวลเป็ นปริ มาณซึ่งคงที่
1(แนว มช) มวลขนาด 15.0 กิโลกรัม บนโลก เมื่อย้ายไปไว้บบนดวงจันทร์ ซ่ ึงมี g เป็ น
1 เท่าของโลก วัตถุน้ ีจะมีมวลเป็ นกี่กิโลกรัม
6
1. 2.5 2. 5.0 3. 15.0 4. 90.0

3.2 แรง
แรง ( F ) คืออานาจที่พยายามจะทาให้มวลเกิดการเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง
ควรรู้ 1) แรงเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะเป็ นปริ มาณที่มีท้ งั ขนาดและทิศทาง
2) แรงใช้หน่วยมาตรฐาน S.I. เป็ น นิวตัน (N)
3.2.1 การหาแรงลัพธ์
แรงลัพธ์ คือแรงซึ่ งเกิดจากแรงย่อยๆ หลายแรงเข้ามารวมกัน
วิธีการหาค่ าแรงลัพธ์ เมื่อมีแรงย่อย 2 แรง
กรณีที่ 1 หากแรงย่อยมีทิศไปทางเดียวกัน
Fลัพธ์ = F1 + F2
ทิศทางแรงลัพธ์ จะเหมือนแรงย่อยนั้น
28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กรณีที่ 2 หากแรงย่อยมีทิศตรงกันข้าม
F2 F1
Fลัพธ์ = F1 – F2
ทิศทางแรงลัพธ์ จะเหมือนแรงที่มากกว่า
กรณีที่ 3 หากแรงย่อยมีทิศเอียงทามุมต่อกัน
Fลัพธ์ = F12  F22  2F1F2 cos
F2sin
และ tan α =
F1F2 cos
เมื่อ Fลัพธ์ คือขนาดของแรงลัพธ์ ( นิวตัน )
F1 คือขนาดของแรงย่อยที่ 1 ( นิวตัน )
F2 คือขนาดของแรงย่อยที่ 2 ( นิวตัน )
 คือมุมระหว่างแรง F1 และ F2
α คือมุมระหว่างแรง Fลัพธ์ กับ F1 (ดังรู ป)

2(แนว Pat2) ออกแรงสองแรงขนาด 8 นิวตัน ดึงวัตถุชิ้นหนึ่งโดยที่มุมระหว่างแรงทั้งสอง


เป็ น 120 องศา จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุน้ ี ( cos 120o = – 1/2 )

3.2.2 การแตกแรง
หากมีแรง 1 แรง สมมุติเป็ นแรง F ดังรู ป เรา
สามารถแตกแรงนั้นออกเป็ น 2 แรงย่อย ซึ่ งตั้งฉาก
กันได้ และเมื่อแตกแรงแล้วจะได้วา่
แรงย่อยที่ติดมุม  จะมีค่า F cos 
แรงย่อยที่ไม่ติดมุม  จะมีค่า F sin  (ดังรู ป)
29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.3 กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
กฎข้ อที่ 1 กล่าวว่า “ วัตถุจะคงสภาพอยูน่ ิ่ ง หรื อสภาพเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงตัวใน
แนวเส้นตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซ่ ึ งมีค่าไม่เป็ นศูนย์มากระทาต่อวัตถุน้ นั ”
กฎข้ อที่ 2 กล่ าวว่า “ เมื่อมีแรงลัพธ์ ซ่ ึ งมีค่าไม่เป็ นศูนย์ มากระทาต่อวัตถุ จะทาให้วตั ถุ
เกิดความเร่ งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทา ขนาดของความเร่ งจะแปรผันตรงกับขนาดของ
แรงลัพธ์ และจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ ”
จากกฎข้อนี้จะได้สมการ a = mF
หรื อ F = m a
กฎข้ อที่ 3 กล่าวว่า “ ทุกแรงกริ ยา ( Action Force )
ต้องมีแรงปฏิกิริยา ( Reaction Force ) ที่มีขนาดเท่ากันและ
ทิศตรงกันข้ามเสมอ ”
เขียนเป็ นสมการจะได้ Fกริยา = –Fปฏิกริ ิยา

3.4 นา้ หนัก ( Weight )


วัตถุมวล m ใดๆ เมื่ออยูบ่ ริ เวณผิวโลกจะถูกโลกดูดลงทาให้เกิดความเร่ งประมาณ 9.8
เมตรต่อวินาที2 ในทิศลง เรี ยก ความเร่ งเนื่องจากแรงโน้ มถ่ วงโลก ( g )
เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ได้เสมอจาก
F = ma ( แทนค่า a = g )
F = mg
แรงที่โลกดูดวัตถุน้ ี เราจะเรี ยกชื่อเฉพาะว่า น้ าหนัก
นิยมใช้สัญลักษณ์เป็ น W
ดังนั้นจาก F = m g ( แทนค่า F = W )
จะได้ W = m g
เมื่อ W คือน้ าหนัก ( นิวตัน )
m คือมวล ( กิโลกรัม )
g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ( เมตร/วินาที2 )
30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.5 การนากฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันไปใช้
การคานวณเรื่ องที่เกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิ วตันนั้น สมการที่ใช้คานวณเป็ นหลักคือ
F = ma
เมื่อ F คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ ซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( นิวตัน )
m คือมวลของวัตถุที่ถูกแรงลัพธ์น้ นั กระทา ( กิโลกรัม )
a คือความเร่ งของมวลซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( เมตร/วินาที2)
3(แนว A–net) แรง 5 นิวตัน และ 12 นิวตัน ใน
5N
ระนาบระดับมีทิศตั้งฉากกัน กระทาต่อมวล
10 กิโลกรัม บนพื้นระดับลื่น จงหาขนาด
ของความเร่ งของมวลนี้
1. 0.7 m/s2 2. 1.3 m/s2 12 N
3. 0.5 m/s2 4. 1.7 m/s2 10 kg

4(แนว Pat2) ออกแรงดึง 30 นิวตัน ทามุม 60o กับแนวราบ พร้อมกับออกแรงผลัก 10 นิวตัน


ดันอีกด้านหนึ่งของวัตถุในแนวราบ โดยพื้นมีแรงเสี ยดทานกระทาต่อวัตถุขนาด 5 นิวตัน
และวัตถุมีความเร่ ง 0.5 เมตรต่อวินาที2 มวลของวัตถุกอ้ นนี้มีค่ากี่กิโลกรัม

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
5(แนว มช) จากรู ปมวลขนาด 15 , 10 และ
15 kg 10 kg 5 kg
5 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไม่มีความฝื ด
T1 T2 120 N
ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง
สามไป จงหาว่าขนาดของแรงดึงในเส้น
เชือก T1 และ T2 มีค่ากี่นิวตัน
1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120
3. T1 = 60 , T2 = 100 4. T1 = 100 , T2 = 60

6(แนว มช) มวล 3 ชิ้น วางอยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรง


T T T
เสี ยดทาน และถูกดึงด้วยแรง T3 = 60 นิวตัน 10 kg 1 20 kg 2 30 kg 3
อยากทราบว่า T2 / T1 มีค่าเท่ากับเท่าใด

7. จากรู ปวัตถุ 20 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม


20 kg a = 2 m/s2
วางติดกันบนพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน ให้หา P Q 10 kg Q
แรง P และ Q ในรู ปภาพ
1. P = 40 N , Q = 20 N 2. P = 60 N , Q = 20 N
3. P = 60 N , Q = 40 N 4. P = 60 N , Q = 10 N

32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
8(แนว En) แท่งไม้มวล 3 , 2 และ
18 N
1 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง 3 2 kg
ถ้าออกแรงผลัก 18 นิวตัน ดังรู ป 1 kg
จงหาขนาดของแรงที่แท่งไม้ 1 กิโลกรัม กระทาต่อแท่งไม้ 2 กิโลกรัม
1. 2.0 N 2. 3.0 N 3. 8.0 N 4 . 10.0 N

9(แนว En) นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกเบาซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับแท่งวัตถุมวล 3.0 กิโลกรัม


ให้หาแรงที่เชือกดึงมือเมื่อดึงเชือกขึ้นด้วยความเร่ ง 2.0 เมตรต่อวินาที2
1. 20.0 N 2. 30.0 N 3. 33.0 N 4. 35.0 N

10(แนว En) จากรู ปวัตถุมวล M ถูกผูกติดกับวัตถุมวล 2 กิโลกรัม ด้วย


P
เชือกเส้นต่างๆ ขณะที่วตั ถุท้ งั สองถูกดึงขึ้นจากเส้นเชือกเส้นบน
ด้วยความเร่ ง a เมตร/วินาที2 ขนาดของแรงดึงของเส้นเชือกเส้น M
ล่าง ( T ) มีค่า 24 นิวตัน ถ้าในขณะนั้นขนาดของแรงดึงของเชื อก
เส้นบน ( P ) มีค่า 96 นิวตัน M มีค่าเท่าใด T
1. 4.0 กิโลกรัม 2. 5.0 กิโลกรัม 2 kg
3. 6.0 กิโลกรัม 4. 10 กิโลกรัม

33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
11(แนว En) มวล m1 , m2 และ m3 ผูกติ ดกันด้วยเส้ นเชื อกเบาและคล้องผ่านรอกเบา
มวล m1 เคลื่ อนที่ ลงด้วยความเร่ ง จงหาแรงตึงในเส้ นเชื อก T ซึ่ งอยู่ระหว่างมวล m1
กับ m2 บนโต๊ะลื่น m2
m1(m2 m3 )g m3
T
1. m  m  m
1 2 3
m2 (m1m3 )g
2. m  m  m
1 2 3
m1(m1 m 2 )g m1
3. m  m  m
1 2 3
m3(m1m2 )g
4. m  m  m
1 2 3

12. คนมวล 80 กิโลกรัม ยืนในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรง


ที่พ้นื ลิฟกระทาต่อคนคนนี้
1. 640 นิวตัน 2. 720 นิวตัน 3. 800 นิวตัน 4. 960 นิวตัน

13(แนว Pat2) ขณะที่ลิฟต์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 1.2 เมตร/วินาที2 นักเรี ยนคนหนึ่งชัง่


น้ าหนักตัวเองได้ 660 นิวตัน นักเรี ยนคนนี้มีมวลกี่กิโลกรัม

34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
14(มข 36) ลิฟท์ และน้ าหนักบรรทุกรวมกันมีมวล 1000 กิโลกรัม เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็ ว 6
เมตร/วินาที ถ้าทาให้ลิฟท์หยุดในระยะทาง 15 เมตร ด้วยความหน่วงคงที่ จงหาความตึง
ในสายเคเบิล ( กาหนดให้ g = 9.8 m/s2 )
1. 11000 นิวตัน 2. 8960 นิวตัน 3. 160 นิวตัน 4. 1760 นิวตัน

3.6 แรงเสี ยดทาน


แรงเสี ยดทาน คือแรงที่เกิดจากการเสี ยดสี ระหว่างผิวสัมผัส มีทิศต้านการเคลื่อนที่
ประเภทของแรงเสี ยดทาน
ประเภทที่ 1 แรงเสี ยดทานสถิตย์ ( fs ) คือ แรงเสี ยดทานที่มีตอนวัตถุอยูน่ ิ่งๆ
ควรทราบ 1. แรงเสี ยดทานสถิตจะมีค่าไม่คงที่
จะเพิ่มขึ้นและลดลงตามแรงที่กระทาต่อวัตถุ
2. fs ต่าสุ ด = 0 และ fs สู งสุ ด = s N
เมื่อ fs คือแรงเสี ยดทานสถิตย์ ( นิวตัน )
s คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานสถิตย์
N คือแรงปฏิกิริยาที่พ้นื ดันวัตถุ (นิวตัน) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา
กระทาต่อวัตถุเพิม่ เติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
ประเภทที่ 2 แรงเสี ยดทานจลน์ ( fk ) คือแรงเสี ยดทานที่มีตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่
ควรทราบ 1. fk < fs (สู งสุ ด)
2. fk = k N
เมื่อ fk คือแรงเสี ยดทานจลน์ ( นิวตัน )
k คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์
N คือแรงที่พ้นื ดันวัตถุ ( นิ วตัน ) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา กระทา
ต่อวัตถุเพิ่มเติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
หลักในการคานวณเกี่ยวกับแรงเสี ยดทาน
ขั้นที่ 1 ให้หาแรงเสี ยดทานก่อนโดย
fs = s N ใช้หาแรงเสี ยดทานสถิต (ตอนวัตถุอยูน่ ิ่ง ๆ )
และ fk = k N ใช้หาแรงเสี ยดทานจลน์ (ตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่)
เมื่อ fs คือแรงเสี ยดทานสถิต ( นิวตัน )
fk คือแรงเสี ยดทานจลน์ ( นิวตัน )
s คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานสถิต
k คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์
N คือแรงที่พ้นื ดันวัตถุ ( นิ วตัน ) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา
กระทาต่อวัตถุเพิ่มเติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
ขั้นที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูน่ ิ่งๆ , ความเร็ วคงที่ , เริ่ มจะเคลื่อนที่ )
ให้ใช้ Fซ้าย = Fขวา
หรื อ Fขึ้น = Fลง
กรณี 2 หาก a  0
ให้ใช้ Fลัพธ์ = m a
เมื่อ F คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ ซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( นิวตัน )
m คือมวลของวัตถุที่ถูกแรงลัพธ์น้ นั กระทา ( กิโลกรัม )
a คือความเร่ งของมวลซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( เมตร/วินาที2)
15. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบ่ นพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสี ยดทาน 0.2 จงหาแรงน้อยที่สุดที่จะ
ทาให้วตั ถุเริ่ มเคลื่อนที่
1. 2 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 3. 6 นิวตัน 4. 8 นิวตัน

36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
16(แนว En) F เป็ นแรงซึ่งใช้ในการดึงให้วตั ถุมวล 100
กิโลกรัม จนเกิดความเร่ ง 3 เมตร/วินาที2 อยาก  = 0.1 100 kg F
ทราบว่า F มีค่ากี่นิวตัน

17(แนว En) มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่ งทามุม 45o


กับแนวระดับ ถ้าวัดได้วา่ มวลนั้นไถลลงพื้น Vคงที่

เอียงด้วยความเร็ วคงที่ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยด


ทานจลน์ระหว่างมวลนั้นกับพื้นจะเป็ นเท่าไร 45o
1. 12 2. 1 3. 1 4. 22
3

37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
18(แนว En) วัตถุไถลลงไปตามแนวพื้นเอียงด้วยความเร่ งคงที่ 72 โดยพื้นเอียงนี้ ทามุม 45o
กับแนวราบ จงหาค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.5

19(แนว Pat2) วางกล่องบนรถกระบะ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างกล่องกับพื้นกระ


บะเท่ากับ 0.4 ถ้าต้องการเร่ งความเร็ วของรถกระบะจากหยุดนิ่งเป็ น 20 เมตรต่อวินาที โดย
ใช้เวลาให้นอ้ ยที่สุดและกล่องไม่ไถลไปบนพื้นกระบะจะต้องใช้เวลาเท่าใด ( g = 10 m/s2 )
1. 5 วินาที 2. 6 วินาที 3. 10 วินาที 4. 40 วินาที

38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

3.7 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
3.7.1 สนามโน้ มถ่ วง
เมื่อมวล 2 ก้อนอยูห่ ่างกันขนาดหนึ่ง มวลทั้งสอง
จะมีแรงดึงดูดกันเสมอ เราสามารถหาแรงนี้ได้จาก
Gm1m2
FG =
R2
เมื่อ FG คือแรงดึงดูดระหว่างมวล (นิวตัน)
m1 , m2 คือขนาดของมวลก้อนที่ 1 และ ก้อนที่ 2 ตามลาดับ (กิโลกรัม)
R คือระยะห่างระหว่างใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร)
G คือค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล คือ 6.672 x 10–11 Nm2/kg2
20. ทรงกลม A เป็ นทรงกลมกลวง ทรงกลม B เป็ นทรงกลมตัน ทรงกลมทั้งสองมีมวลและ
รัศมีเท่ากันคือ 100 กิโลกรัม และ 0.5 เมตร ตามลาดับ ผิวของทรงกลมทั้งสองอยูห่ ่ างกัน
1 เมตร แรงดึงดูดที่กระทาต่อทรงกลม A เนื่องจากทรงกลม B จะมีค่ากี่นิวตัน
1. 0.5x10–7 2. 0.8x10–7 3. 1.7x10–7 4. 2.3x10–7

3.7.2 ความเร่ งโน้ มถ่ วง ( g ) ณ ตาแหน่ งที่ห่างจากผิวโลก


ค่าความเร่ งเนื่ องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ณ ตาแหน่งหนึ่ งๆ นั้น จะมีค่าแปรเปลี่ยน
ขึ้นกับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของโลก ( R ) ดังสมการ
g = Gm2
R
เมื่อ g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ณ จุดใดๆ (เมตร/วินาที2)
G คือค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล = 6.672 x 10–11 นิวตันเมตร2/กิโลกรัม2
m คือมวลโลก (กิโลกรัม)
R คือระยะจากใจกลางโลกถึงจุดที่จะหาค่า g (เมตร)
สมการนี้อาจนาไปใช้คานวณหาค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( g ) ของดวงดาวอื่นๆ ได้ดว้ ย
39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
21. จงหาค่าความเร่ งเนื่ องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ณ จุดที่ห่างจากใจกลางโลก 10000 กิโล-
เมตร กาหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม
1. 4 m/s2 2. 5 m/s2 3. 6 m/s2 4. 7 m/s2

22. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกส่ งขึ้นไปโคจรห่างจากผิวโลกเป็ น 1 เท่าของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง


นี้ จะมีค่าความเร่ งเนื่ องจากสนามความโน้มถ่วงเป็ นเท่าใด ( กาหนด ความเร่ งที่ผิวโลก = g )
1. 19 g 2. 41 g 3. 13 g 4. 12 g

23(แนว En) ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็ น 3 เท่าของโลก แต่มีรัศมีเป็ นครึ่ งหนึ่งของโลก จง


หาค่าความเร่ งเนื่ องจากความโน้มถ่วงที่ผวิ ของดาวเคราะห์ดวงนั้น ( ให้ ความเร่ งที่ผิวโลก = g )
1. 41 g 2. 2 g 3. 8 g 4. 12 g

40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เฉลยบทที่ 3 แรง และกฎก ารเคลื่ อ นที่ ข องนิ วตัน
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบ 8. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบ 40.00
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบ 3. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบ 60.00 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบ 400
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 4.



41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ตะลุ ย โจท ย์ ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ย าลัย
บทที่ 3 แรง และก ฎก ารเคลื่ อ นที่ ข องนิ วตัน ชุ ดที่ 1
3.1 มวล
1(แนว มช) วัตถุอนั หนึ่งมีมวล 3.0 กิโลกรัม บนโลก เมื่อนาวัตถุน้ ีไปดาวจูปิเตอร์ ซ่ ึ งมี g เป็ น
10 เท่าของโลก วัตถุน้ ีจะมีมวลเป็ นกี่กิโลกรัม
1. 3.0 2. 9.8 3. 30.0 4. 98.0

3.2 แรง
3.2.1 การหาแรงลัพธ์
2(แนว Pat2) ออกแรงสองแรงขนาด 10 นิวตัน ดึงวัตถุชิ้นหนึ่งโดยที่มุมระหว่างแรงทั้งสอง
เป็ น 120 องศา จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุน้ ี ( cos 120o = – 1/2 )

3.2.2 การแตกแรง
3.2.3 การหาแรงลัพธ์ ของแรงมากกว่า 2 แรงซึ่งทามุมต่ อกัน
3.3 กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
3.4 นา้ หนัก
3.5 การนากฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันไปใช้
3(En 35) เด็กชายคนหนึ่ งต้องการลากรถมวล 5 กิ โลกรั ม บรรทุ กของมวล 45 กิ โลกรั ม
ด้วยแรง 100 นิวตัน ถ้าคิดว่าพื้นและรถไม่มีความฝื ด เด็กคนนี้ จะลากรถไปได้ไกลเท่าใด
จากหยุดนิ่งในเวลา 2 วินาที
1. 10 เมตร 2. 8 เมตร 3. 4 เมตร 4. 2 เมตร
4(แนว A–net) รถยนต์มวล 1500 กิโลกรัม เพิ่มความเร็ วอย่างสม่าเสมอจากหยุดนิ่ งไปเป็ น 72
กิโลเมตร/ชัว่ โมง ในเวลา 10 วินาที แรงเสี ยดทานที่ส่งให้รถเร่ งไปข้างหน้ามีค่าเท่าใด
1. 1,000 นิวตัน 2. 2,000 นิวตัน 3. 3,000 นิวตัน 4. 3,200 นิวตัน

42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
5(En 41 ต.ค.) แรงลัพธ์กระทาต่อวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ความเร็ ว (m/s)
ทาให้มวลเคลื่อนที่ โดยมีความเร็ วสัมพันธ์กบั เวลา
10
ดังกราฟที่กาหนดให้ จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ
5
นี้ ในหน่วยนิ วตัน เวลา (s)
10
6(แนว A–net) แรง 3 นิวตัน และ 4 นิวตัน ใน
3N
ระนาบระดับมีทิศตั้งฉากกัน กระทาต่อมวล
10 กิโลกรัม บนพื้นระดับลื่น จงหาขนาด
ของความเร่ งของมวลนี้
1. 0.7 m/s2 2. 1.2 m/s2 4N
3. 0.5 m/s2 4. 1.7 m/s2 10 kg

7(En 40) ถ้ามีแรงขนาด 12.0 นิวตัน และ 16.0 นิวตัน กระทาต่อวัตถุซ่ ึ งมีมวล 4.0 กิโลกรัม
โดยแรงทั้งสองกระทาในทิศตั้งฉากซึ่ งกันและกัน วัตถุน้ นั จะเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร่ งเท่าใด
1. 3.0 m/s2 2. 4.0 m/s2 3. 5.0 m/s2 4. 6.0 m/s2
8(แนว A – net) วัตถุ 100 กิโลกรัม เดิมอยูน่ ิ่งถูกแรงในแนวระดับขนาด 50 นิวตัน ผลักให้
เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบ ถ้าแรงเสี ยดทานรถทั้งหมดเท่ากับ 30 นิวตัน ถามว่าถ้าแรงกระทา
เป็ นเวลา 12 วินาที จะทาให้วตั ถุมีความเร็ วเท่าใด
1. 2.4 m/s 2. 7.2 m/s 3. 9.6 m/s 4. 14.4 m/s
9(แนว Pat2) ออกแรงดึง 32 นิวตัน ทามุม 60o กับแนวราบ พร้อมกับออกแรงผลัก 20 นิวตัน
ดันอีกด้านหนึ่งของวัตถุในแนวราบ โดยพื้นมีแรงเสี ยดทานกระทาต่อวัตถุขนาด 5 นิวตัน
และวัตถุมีความเร่ ง 0.5 เมตรต่อวินาที2 มวลของวัตถุกอ้ นนี้มีค่ากี่กิโลกรัม
10(มช 30) นักเรี ยนคนหนึ่งใช้เชือกมวล 0.5 กิโลกรัม
ผูกติดกับถุงทรายมวล 4 กิโลกรัม ถ้านักเรี ยน
4 kg B A 9N
0.5 kg
ใช้มือดึงเชือกที่จุด A ด้วยแรง 9 นิวตัน ในแนว
ระดับ จงหาว่าถุงทรายจะดึงเชือกที่จุด B ด้วยแรงกี่นิวตัน
1. 1/2 2. 10 3. 7 4. 8

43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
11(แนว มช) มวล 3 ชิ้น วางอยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรง
เสี ยดทาน และถูกดึงด้วยแรง T3 = 30 นิวตัน 10 kg T1 20 kg T2 30 kg T3
อยากทราบว่า T2 / T1 มีค่าเท่ากับเท่าใด
12(แนว มช) จากรู ปมวลขนาด 10 , 8 และ
10 kg 8 kg 6 kg
6 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไม่มีความฝื ด
T1 T2 120 N
ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง
สามไป จงหาว่าขนาดของแรงดึงในเส้น
เชือก T1 และ T2 มีค่ากี่นิวตัน
1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120
3. T1 = 50 , T2 = 90 4. T1 = 90 , T2 = 50
13(En 38) วัตถุมวล 5.0 และ 10.0 กิโลกรัม a
ผูกติดกัน ด้วยเชือกเบาดังรู ป วัตถุท้ งั สอง
T F
วางอยูบ่ นพื้นราบที่ไม่มีความฝื ด ให้ F ซึ่ง 5 kg 10 kg
มีค่าคงที่กระทาต่อวัตถุท้ งั สอง หลังจาก kg kg

ดึง 15 วินาที วัตถุท้ งั สองมีความเร็ ว 45.0 เมตร/วินาที แรงดึงมวล 5 กิโลกรัม เป็ นกี่นิวตัน
14(En 33) ใช้แรง P ดึงรถ 3 คัน มีมวล 1 , 2
และ 3 กก. รถทั้งสามต่อกันด้วยเส้นเชื อก x y x
และ y ดังรู ป โดยคิดว่าไม่มีแรงเสี ยดทาน P
ระหว่างรถกับพื้นเลย ถ้าเส้นเชือก x มีความ
ตึง 20 นิวตัน แรงดึง P และความตึงของเชือก y จะเป็ นกี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 12 และ 4 2. 16 และ 12 3. 24 และ 4 4. 24 และ 12
15(มช 29) หั วรถจัก รคัน หนึ่ ง ลากรถพ่ วง 2 คัน ถ้าไม่ คิ ด ค่ าแรงเสี ย ดทาน จงหาว่าแรงดึ ง
ระหว่างหัวรถจักรกับรถพ่วงคันแรกจะมีค่าเป็ นกี่เท่าของแรงดึงระหว่างรถพ่วงคันที่ 1 และ
คันที่ 2
1. 1/3 2. 1/2 3. 1 4. 2

44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
16(En45 มี.ค.) จากรู ป จงหาค่าความตึง T ในเชือกเส้นขวาสุ ด
F T
M M M M

1. F 2. F2 3. F3 4. F4
17(แนว 9 สามัญ) มวลสองก้อนวางบนพื้นฝื ดที่มี
สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานเท่ากันทั้งสองก้อน T1 T2
m1 m2
ถูกดึงให้มีความเร่ งแบบดังรู ป จงหาอัตราส่ วน
T
ของ T2
1
m m m m m
1. 1  m 1 2. 1  m 1 3. 1  m2 4. 1  m2 5. m 1
2 2 1 1 2
18(แนว 9 สามัญ) มวล M , m วางอยูบ่ นพื้นลื่น ติดกันด้วยเชื อกเบามาก ถ้าออกแรง F ดึงมวล
ทั้ง 2 ก้อน ดังรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อ M
1. F mF
2. M 3. m M
M F
4. m mM F 5. MM m F
19(มช 24) ถ้า T1 = 4 นิวตัน และพื้นไม่มีความเสี ยดทาน ถ้าต้องการให้วตั ถุท้งั สามเคลื่อนที่
ด้วยความเร่ ง a เมตรต่อวินาที2 แรง P
P
ต้องมีขนาดกี่นิวตัน T1 T2
8 kg 37o
1. 7 2. 9.3 5 kg 4 kg

3. 17 4. 22.6
20(En 37) F2 = 3 N F1 = 9 N
2 kg 1 kg

จากรู ป ถ้ามวล 1 กิ โลกรั ม และ 2 กิ โลกรัม อยู่บ นพื้ นราบผิวเกลี้ ยงและไม่คิดมวลของ


เครื่ องชัง่ สปริ งและเชือก ค่าที่อ่านได้จากเครื่ องชัง่ เป็ นเท่าไร
1. 0 N 2. 5 N 3. 6 N 4. 10 N

45
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
21(En 41 ต.ค.) แท่งไม้มวล 5 , 3 และ
10 N
2 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง 5 kg 3 kg
ถ้าออกแรงผลัก 10 นิวตัน ดังรู ป 2 kg
จงหาขนาดของแรงที่แท่งไม้ 2 กิโลกรัม กระทาต่อแท่งไม้ 3 กิโลกรัม
1. 2.0 N 2. 5.0 N 3. 8.0 N 4 . 10.0 N
22(En47 ต.ค.) m1 , m2 , m3 เป็ นมวลของก้อน A , B , C ตามลาดับ จงหาขนาดของ
แรงปฏิกิริยาระหว่างก้อน B กับ C m1
m1 m3 m 2  m3 m2
1. m  m  m F 2. m  m  m F F m3
1 2 3 1 2 3 A B
m2 m3 C
3. m m m F 4. m m m F พื้นระดับราบและลื่น
1 2 3 1 2 3
23(En 38) นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกเบาซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับแท่งวัตถุมวล 2.0 กิโลกรัม
ให้หาแรงที่เชือกดึงมือเมื่อดึงเชือกขึ้นด้วยความเร่ ง 5.0 เมตรต่อวินาที2
1. 20.0 N 2. 30.0 N 3. 35.0 N 4. 40.0 N
24(En 36) เชือกแขวนไว้กบั เพดาน มีลิงมวล 20 กิโลกรัม โหนเชื อกอยูส่ ู งจากพื้น 10 เมตร
ได้รูดตัวลงมากับเชือก ด้วยความเร่ งคงที่ถึงพื้นใช้เวลา 2 วินาที ความตึงเชือกเป็ นเท่าใด
ไม่คิดมวลของเชื อก
1. 100 N 2. 150 N 3. 200 N 4. 250 N
25(En 35) จากรู ปวัตถุมวล M ถูกผูกติดกับวัตถุมวล 2 กิโลกรัม ด้วย
P
เชือกเส้นต่างๆ ขณะที่วตั ถุท้ งั สองถูกดึงขึ้นจากเส้นเชื อกเส้นบน
ด้วยความเร่ ง a เมตร/วินาที2 ขนาดของแรงดึงของเส้นเชือกเส้น M
ล่าง ( T ) มีค่า 28 นิวตัน ถ้าในขณะนั้นขนาดของแรงดึงของเชื อก
เส้นบน ( P ) มีค่า 98 นิวตัน M มีค่าเท่าใด T
1. 4.0 กิโลกรัม 2. 5.0 กิโลกรัม 2 kg
3. 6.0 กิโลกรัม 4. 10 กิโลกรัม

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
26(En43 มี.ค.) มวล 2 ก้อนมีมวลก้อนละ 1 กิโลกรัม ผูกติดเชื อกน้ าหนักเบา และแขวนติดกับ
เพดานของลิฟต์ดงั รู ป ถ้าลิฟต์คลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง 2 เมตรต่อ(วินาที)2 จงหาแรงดึงใน
เชือก T1 และ T2
T1
1. T1 = 16 N และ T2 = 8 N 1 kg
2. T1 = 20 N และ T2 = 10 N T2
2
3. T1 = T2 = 20 N 1 kg a = 2 m/s
4. T1 = 24 N และ T2 = 12 N

27(แนว 9 สามัญ) มวล m1 , m2 ผูกกันไว้ดว้ ยเชื อก m1


และรอกเบา ปล่อยให้มวลทั้งสองเริ่ มเคลื่อนที่
บนโต๊ะลื่น ความตึงเชื อกจะมีค่าเท่ากับข้อใด m2
m m m m
1.  m 1 m2  g 2.  m 1 m2  g
 1 2  1 2
m m  m1  m 2 
3.  m 2m  g 4.  m 1m  g 5.  m m  g
 1 2  1 2  1 2 

28(En48 มี.ค.) มวล m1 , m2 และ m3 ผูกติดกันด้วยเส้นเชือกเบาและคล้องผ่านรอกเบา


มวล m1 เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง จงหาแรงตึงในเส้นเชือก T ซึ่ งอยูร่ ะหว่างมวล m2
m3 m2
กับ m3 บนโต๊ะลื่น T
mmg m (m m )g
1. m  1m 3 m 2. m 2 m1 3m
1 2 3 1 2 3
mm g m (m m )g m1
3. m  1m 2 m 4. m 3 m1 2 m
1 2 3 1 2 3

29(En 34) จากรู ปมีวตั ถุมวล m วางอยูบ่ นโต๊ะไม่มีความเสี ยดทาน m


ผูกเชือกเบากับวัตถุมวล m แล้วคล้องผ่านรอกที่ไม่มีความฝื ด
M
แล้วนาวัตถุมวล M มาผูกติดกับปลายเชือกเบานี้ ถ้า ปล่อยให้
m และ M เคลื่อนที่ จงหาว่าวัตถุมวล M จะต้องมีค่าเป็ นกี่
เท่าของวัตถุมวล m วัตถุมวล M จึงจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 9 เมตร/วินาที2
1. 3 เท่า 2. 8 เท่า 3. 9 เท่า 4. 10 เท่า
47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
30. คนมวล 80 กิโลกรัม ยืนในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรง
ที่พ้นื ลิฟกระทาต่อคนคนนี้
1. 640 นิวตัน 2. 720 นิวตัน 3. 800 นิวตัน 4. 960 นิวตัน
31(แนว Pat2) เด็กชายคนหนึ่งยืนอยูใ่ นลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร็ วคงที่ ขนาดของแรง
ที่พ้นื ลิฟต์กระทาต่อเท้าของเด็กชายคนนี้มีค่าเป็ นอย่างไร
1. เท่ากับขนาดของน้ าหนักของเด็กชาย
2. น้อยกว่าขนาดของน้ าหนักของเด็กชาย
3. มากกว่าขนาดของน้ าหนักของเด็กชาย
4. เท่ากับขนาดของแรงที่เท้าของเด็กชายคนนี้กระทาต่อพื้นลิฟต์
32(แนว Pat2) ขณะที่ลิฟต์กาลังเคลื่ อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 1 เมตร/วินาที2 นักเรี ยนคนหนึ่ งชัง่
น้ าหนักตัวเองได้ 700 นิวตัน นักเรี ยนคนนี้มีมวลกี่กิโลกรัม
33(มข 36) ลิฟท์ และน้ าหนักบรรทุกรวมกันมีมวล 800 กิโลกรัม เคลื่อนที่ลงด้วยความเร็ ว 6
เมตร/วินาที ถ้าทาให้ลิฟท์หยุดในระยะทาง 15 เมตร ด้วยความหน่วงคงที่ จงหาความตึง
ในสายเคเบิล
1. 7040 นิวตัน 2. 8960 นิวตัน 3. 160 นิวตัน 4. 1760 นิวตัน
34(แนว Pat2) ปล่อยวัตถุมวล 2 kg จากความสู ง 100 m เมื่อมาถึงพื้นดินวัตถุมีความเร็ ว
72 km/hr แรงต้านอากาศเฉลี่ยมีค่าอยูใ่ นช่วงใด (กาหนดให้ g = 10 m/s2)
1. (6 , 12] N 2. (12 , 18] N 3. (18 , 24] N 4. (24 , 50] N
35(แนว Pat2) นักเรี ยนคนหนึ่งออกแรงผลักกล่องให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ข้อใดสรุ ปเกี่ยวกับ
ขนาดของแรงที่กล่องกระทากับนักเรี ยนได้ถูกต้อง
1. มากกว่าขนาดของแรงที่นกั เรี ยนกระทากับกล่องตลอดเวลา
2. เท่ากับขนาดของแรงที่นกั เรี ยนกระทากับกล่องตลอดเวลา
3. น้อยกว่าขนาดของแรงที่นกั เรี ยนกระทากับกล่องตลอดเวลา
4. มากกว่าขนาดของแรงที่นกั เรี ยนกระทากับกล่องเมื่อยังไม่เคลื่อนที่ แต่นอ้ ยกว่าขนาด
ของแรงที่นกั เรี ยนกระทากับกล่องเมื่อเคลื่อนที่ไปแล้ว

48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
36(En44 ต.ค.) คนสองคนชักคะเย่อกัน ต่างคนต่างออกแรง F เท่ากันดึงที่ปลายทั้งสองของ
เชือกเส้นหนึ่ง ความตึงในเชื อกเป็ นเท่าใด
1. 2F 2. F 3. F2 4. 0
3.6 แรงเสี ยดทาน
 = 0.1 100 kg F
37(แนว En) F เป็ นแรงซึ่งใช้ในการดึงให้วตั ถุมวล 100
กิโลกรัม จนเกิดความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 อยาก ทราบว่า F มีค่ากี่นิวตัน
38(มช 37) แท่งไม้ 2 อัน A และ B มีน้ าหนัก 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วย
เชือกเบาถูกลากด้วยแรง F ไปบนพื้นไม้ที่อยูใ่ นแนวระดับซึ่ งมีสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน
สถิตเป็ น 0.7 และ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์เป็ น 0.4 จงหาขนาดของแรง F ที่จะทา
ให้แท่งไม้ท้ งั สอง เคลื่อนที่ไปบนพื้นด้วยความเร็ วคงที่
B F
1. 24 นิวตัน 2. 42 นิวตัน A
3. 2.4 นิวตัน 4. 4.2 นิวตัน
39(แนว Pat2) ถุ งทรายซึ่ งวางอยู่บนพื้นฝื ดถู กดึ งด้วยเครื่ องชัง่ สปริ ง เครื่ องชัง่ ดังกล่าวถูกดึ ง
ด้วยแรง F ในขณะที่ถุงทรายมีความเร็ วคงที่ ตาชัง่ สปริ งอ่านค่าได้ 2 N ข้อใดต่อไปนี้ถูก
2N
ถุงทราย F
พื้นฝื ด
1. ถุงทรายถูกดึงด้วยแรงลัพธ์ 2 N
2. แรงเสี ยดทานจลน์เท่ากับ 2 N
3. แรงเสี ยดทานจลน์มีค่าน้อยกว่า 2 N
4. ผลต่างระหว่างแรง F และแรงเสี ยดทานจลน์เท่ากับ 2 N
40(แนว Pat2) กล่อง ก. และ ข. มีน้ าหนัก 40 นิวตัน
และ 20 นิวตันตามลาดับ กล่อง ค. ต้องมีน้ าหนัก ค
น้อยที่สุดกี่นิวตันจึงจะไม่ทาให้กล่อง ก. ไถล ถ้า ก
สัม ประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างพื้นโต๊ะกับ

กล่อง ก. เป็ น 0.2
1. 20 2. 40 3. 60 4. 80
49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
41(แนว En) มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่ งทามุม 30o
กับแนวระดับ ถ้าวัดได้วา่ มวลนั้นไถลลงพื้น Vคงที่

เอียงด้วยความเร็ วคงที่ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยด


ทานจลน์ระหว่างมวลนั้นกับพื้นจะเป็ นเท่าไร 30o
1. 12 2. 3
3. 1 4. 22
3
42(En 48 มี.ค.) วัตถุไถลลงไปตามแนวพื้นเอียงด้วยความเร่ งคงที่ a โดยพื้นเอียงนี้ทามุม 45
องศากับแนวราบ จงหาค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน
1. 1  g2a  2. 1  a2 g  3. 1  g2a  4. 1  a2 g 
       

43(En41 ต.ค) จากรู ปมวล m1 และ m2 ผูกกันด้วยเชื อกผ่านรอกลื่นที่ยอดพื้นเอียงที่มีความฝื ด


m1 มีค่า 1.0 กิโลกรัม และ m2 มีค่า 0.4 กิโลกรัม ถ้ามวลทั้งสองกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความ
เร็ วคงที่ จงคานวณค่าสัมประสิ ทธิ์ ความ
เสี ยดทานจลน์ระหว่างพื้นเอียงกับมวล m1 m1
o o
ให้ sin 37 = 0.6 และ cos 37 = 0.8 m2
1. 0.20 2. 0.25
3. 0.40 4. 0.50 37o

44(แนว Pat2) มวล 5 กิโลกรัม ติดอยูท่ ี่ปลายสปริ ง ซึ่ งตรึ งอยูก่ บั ยอดพื้นเอียงที่ทามุม 60o
กับแนวระดับโดยสปริ งยืดออก 10 เซนติเมตรจากความยาวปกติ ถ้าระบบอยูใ่ นสภาวะ
สมดุลและสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตของพื้นเอียงเป็ น 0.3 แรงคืนตัวของสปริ งใน
ขณะนั้นเท่ากับกี่นิวตัน ( ให้ใช้ g = 9.8 เมตร/วินาที2 )
45(En44 มี.ค.) ออกแรงกดก้อนมวล 4 กิ โลกรัม ให้ติดกับฝาผนัง ด้วยแรงซึ่ งทามุม 45o กับ
แนวระดับสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่าง
ฝาผนัง กับก้อนมวลเท่ากับ 0.25 จงหาขนาดของ
45o 4 kg
แรงที่ทาให้มวลเริ่ มไถลขึ้นได้
1. 45.7 N 2. 58.8 N
3. 75.4 N 4. 91.4 N
50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
46 (แนว Pat2) วางกล่ องบนรถกระบะ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิ ตระหว่างกล่องกับพื้น
กระบะเท่ากับ 0.35 ความเร่ งสู งสุ ดของรถกระบะที่ไม่ทาให้กล่องไถลไปบนพื้นกระบะมี
ค่าเท่าใด
1. 0.046 m/s2 2. 0.45 m/s2 3. 3.43 m/s2 4. 4.43 m/s2
47(แนว Pat2) วางกล่องบนรถกระบะ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างกล่องกับพื้นกระ
บะเท่ากับ 0.5 ถ้าต้องการเร่ งความเร็ วของรถกระบะจากหยุดนิ่งเป็ น 30 เมตรต่อวินาที โดย
ใช้เวลาให้นอ้ ยที่สุดและกล่องไม่ไถลไปบนพื้นกระบะจะต้องใช้เวลาเท่าใด ( g = 10 m/s2 )
1. 2 วินาที 2. 6 วินาที 3. 10 วินาที 4. 40 วินาที
48(แนว Pat2) กล่องมวล 2 กิโลกรัม วางซ้อนอยูบ่ นกล่องมวล 8 กิโลกรัม ซึ่ งทั้งหมดวาง
อยูบ่ นพื้นไร้ความเสี ยดทาน ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตและสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยด
ทานจลน์ระหว่างกล่องทั้งสองมีค่าเท่ากับ 0.4 และ 0.2 ตามลาดับ ต้องออกแรงผลักกล่อง
8 กิโลกรัม ในทิศขนานกับพื้นอย่างน้อยกี่นิวตัน จึงจะทาให้กล่องมวล 2 กิโลกรัม เริ่ ม
ไถลไปบนกล่องมวล 8 กิโลกรัม ได้

3.7 กฎแรงดึงดูดระหว่ างมวลของนิวตัน


3.7.1 สนามโน้ มถ่ วง
3.7.2 ความเร่ งโน้ มถ่ วง ( g ) ณ ตาแหน่ งที่ห่างจากผิวโลก
49(En 30) ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็ น 2 เท่าของโลก แต่มีรัศมีเป็ นครึ่ งหนึ่งของโลก จง
หาค่าความเร่ งเนื่ องจากความโน้มถ่วงที่ผวิ ของดาวเคราะห์ดวงนั้น ( ให้ ความเร่ งที่ผิวโลก = g )
1. 41 g 2. 2 g 3. 4 g 4. 8g
50(En43 มี.ค.) นักบินอวกาศจะมีน้ าหนักกี่เท่าของน้ าหนักที่ชงั่ บนโลก ถ้าอยูบ่ นดาวเคราะห์ที่มี
รัศมีครึ่ งหนึ่งของโลกและมีมวลเป็ น 81 ของมวลโลก
1. 0.25 2. 0.50 3. 0.75 4. 1.25

51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
51(แนว 9 สามัญ) การชัง่ น้ าหนักด้วยตาชัง่ ชนิ ดเดี ยวกันกับวัตถุ เดี ยวกันบนดาว 3 ดวง การ
เรี ยงลาดับน้ าหนักที่ชงั่ ได้บนดาวแต่ละดวง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ดาว มวลเป็ นกีเ่ ท่าของโลก รัศมีเป็ นกีเ่ ท่าของโลก
โลก 1 1
ดาวพฤหัส 317 11.2
ดาวยูเรนัส 14 4
1. ดาวยูเรนัส > โลก > ดาวพฤหัส 2. ดาวพฤหัส > โลก > ดาวยูเรนัส
3. ดาวยูเรนัส > ดาวพฤหัส > โลก 4. ดาวพฤหัส > ดาวยูเรนัส > โลก
5. โลก > ดาวยูเรนัส > ดาวพฤหัส


เฉลยตะลุ ย โจท ย์ ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ย าลัย


บทที่ 3 แรง และก ฎก ารเคลื่ อ นที่ ข องนิ วตัน ชุ ดที่ 1
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบ 10. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบ 25 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบ 62.00 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบ 3 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบ 15 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 5. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบ 64.81
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบ 300 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบ 35.09
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบ 39.20
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 2.


52

You might also like