You are on page 1of 3

มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์

ประเด็นการประเมิน ที่ 1.1 ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์


1.2. ด้านความรู้
1.3. ด้านทักษะ
1.4. ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ
ประเด็นการประเมินย่อยที่ 1 การสาเร็จการศึกษา
ตั ว ชี้ วั ด ความส าเร็ จ ที่ 1 ร้ อ ยละของผู้ ส าเร็ จ การศึ ก ษาตามเกณฑ์ ก ารส าเร็ จ การศึ ก ษาของ
แต่ละหลักสูตร
ข้อมูลประกอบการประเมินคุณภาพ ผลการดาเนินการ
สาขาวิชา จานวนผู้เรียนแรกเข้า จานวนผู้เรียนที่สาเร็จ
ร้อยละ
ของรุ่นที่สาเร็จการศึกษา การศึกษา
ระดับชั้นปวช. 3
สาขาวิชาช่างยนต์ 87 28 32.18
สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ 25 7 28.00
สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง 79 34 43.04
สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ 22 13 59.09
สาขาวิชาช่างเทคนิค
9 3 33.33
คอมพิวเตอร์
สาขาวิชาการบัญชี 36 29 80.56
สาขาวิชาการตลาด 47 34 72.34
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 31 14 45.16
สาขาวิชาการออกแบบ 5 2 40.00
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก 21 16 76.19
สาขาวิชาการโรงแรม 15 10 66.67
สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ 32 14 43.75
สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ 34 24 70.59
สาขาวิชาเทคโนโลยี
22 16 72.73
เครื่องนุ่งห่ม
รวมระดับ ปวช. 465 244 52.47

ระดับชั้นปวส. 2
สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล 37 34 91.89
สาขาวิชาเทคนิคโลหะ 0 0 0
สาขาวิชาไฟฟ้า 42 30 73.81
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ 23 23 100.00
สาขาวิชาการบัญชี 25 24 96.00
ข้อมูลประกอบการประเมินคุณภาพ ผลการดาเนินการ
สาขาวิชา จานวนผู้เรียนแรกเข้า จานวนผู้เรียนที่สาเร็จ
ร้อยละ
ของรุ่นที่สาเร็จการศึกษา การศึกษา
สาขาวิชาการตลาด 18 16 88.89
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล 17 14 82.35
สาขาวิชาการโรงแรม 4 4 100.00
สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ 8 7 87.50
สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ 13 10 76.92
สาขาวิชาเทคโนโลยี
9 8 88.89
เครื่องนุ่งห่ม
รวมระดับ ปวส. 196 171 87.24
รวมทั้งหมด 661 415 62.78
ผลการประเมินคุณภาพ
ระดับคุณภาพ ค่าคะแนน
ดี 3
จุดเด่น
ปีการศึกษา 2564 ผู้สาเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น (ปวช.) โดยภาพรวมมี
ผู้สาเร็จการศึกษาร้อยละ 52.57 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) สาขาวิชาการโรงแรม และ
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ มีผู้สาเร็จการศึกษาร้อยละ 100.00
จุดที่ควรพัฒนา
1) ครูที่ปรึกษาควรมีการกับกับติดตามนักเรียนนักศึกษาที่ยังไม่สาเร็จการศึกษา โดยให้มีการกับติดต่อ
ครู ผู้ส อนในการขอแก้ ผลการเรีย นที่เป็น 0 และ ม.ส. ตามระเบียบงานวัดและประเมินผล และนักเรียน
นักศึกษาที่มีผลการเรียนเป็น ขร. เวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด ให้ติดต่อครูประจารายวิชา
เปิดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน หรือ ลงทะเบียนเรียนใหม่ในรายวิชาที่ผลการเรียนเป็น ขร. เพื่อให้นักเรียน
นักศึกษาสามารถสาเร็จการศึกษาและศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือเข้าสู่สถานประกอบการ อีกทั้งยังเพิ่ม
ประมาณผู้สาเร็จของวิทยาลัยอีกต่อไป
2) สาขาวิชาที่ควรมีการเพิ่มปริมาณผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ได้แก่ สาขาวิชาการ
ออกแบบ สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่ งทอ สาขาวิชาเคมีสิ่ งทอ และสาขาวิช าเทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ ม ในระดับ
ประกาศนีย บัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ได้แก่ สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาการ
โรงแรม สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ และสาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ม
ข้อเสนอแนะ
1) ครูผู้สอน ครูที่ปรึกษา สาขาวิชา และวิทยาลัยฯ ควรมีมาตรการเพิ่มจานวนนักเรียนนักศึกษารักษา
ปริมาณผู้เรียน และลดจานวนผู้เรียนออกกลางคันให้มีจานวนน้อยลง โดยกาหนดเบื้องต้นดังนี้
ปีการศึกษา 2565 ให้มีจานวนผู้เรียนที่ออกกลางคัน น้อยกว่าร้อยละ 15.๐๐
ปีการศึกษา 2566 ให้มีจานวนผู้เรียนที่ออกกลางคัน น้อยกว่าร้อยละ 10.๐๐
ปีการศึกษา 2567 ให้มีจานวนผู้เรียนที่ออกกลางคัน น้อยกว่าร้อยละ 5.๐๐ เป็นต้น
2) ควรมี ก ารใช้ ม าตรการ ก ากั บ ติ ด ตาม และความร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า ง ครู ผู้ ส อน ครู ที่ ป รึ ก ษา
สาขาวิชา งานแนะแนว และผู้ปกครอง ด้วยความเป็นกัลยาณมิตร
1) ครูผู้สอน แจ้งกติกา ข้อกาหนดในการเรียนการสอนอย่างชัดเจน
ครูที่ปรึกษา แจ้งปฏิทินการพบนักเรียนนักศึกษาในที่ปรึกษา
2) ครูผู้สอน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผน และสภาพบริบทจริง
ครูที่ปรึกษา จัดกิจกรรม Home Room หรือนัดพบกลุ่ม
3) ครูผู้สอน ประเมินผลตามสภาพจริง อย่างเป็นกัลยาณมิตร
ครูที่ปรึกษา คัดกรองความเสี่ยงนักเรียนนักศึกษา รายบุคคลตามสภาพจริง
4) ครูผู้สอน ทาความร่วมมือกับผู้ปกครอง และผู้อานวยการ
ครูที่ปรึกษา แก้ปัญหานักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยง) รายบุคคล
5) ครูผู้สอน รายงานผลตามสภาพจริงให้ผู้ปกครอง ผู้อานวยการทราบ
ครูที่ปรึกษา แจ้งปฏิทินการพบนักเรียนนักศึกษาในที่ปรึกษา
ครูแนะแนว (วิเคราะห์ วิจัย แก้ปัญหา ให้คาปรึกษา)
6) ครูผู้สอน ติดตาม ช่วยเหลือ และรายงานผลการขาดเรียน
ครูที่ปรึกษา รวบรวมข้อมูลนักเรียนนักศึกษาทุกรายการ (ทุกประเด็นความเสี่ยง)
ครูแนะแนว สรุปผล รายงานวิทยาลัยฯ ทราบ ส่งต่อ กรณีศึกษา
7) ครูผู้สอน รายงานข้อมูลการจัดการเรียนการสอนทุกเดือน
ครูที่ปรึกษา รายงานข้อมูลการพบนักเรียน นักศึกษาทุกเดือน
ครูแนะแนว ติดตามการส่งต่อนักเรียนนักศึกษา (กลุ่มเสี่ยงมาก) กรณีศึกษา
8) ครูผู้สอน ประเมินผลกิจกรรมการเรียนการสอน (สิ้นภาคเรียน)
ครูที่ปรึกษา สรุปข้อมูลนักเรียนนักศึกษา (สิ้นภาคเรียน) และแจ้งผลการเรียนแก่
ผู้ปกครอง
9) ครูผู้สอน รายงานสรุปผลการจัดการเรี ยนการสอน นัก เรีย นนักศึ กษาในรายวิช า
ทีส่ อน ที่มีความเสี่ยงต่อการไม่สาเร็จการศึกษาทุกคน
ครูที่ปรึกษา รายงานการติ ด ตามและการแก้ ปั ญหานั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษาที่ ค วามเสี่ ย ง
และออกกลางคันทุกคน
ครูแนะแนว นั ก เรี ย น ครู ผู้ ส อน ครู ที่ ป รึ ก ษา สาขาวิ ช า งานแนะแนว และผู้ ป กครอง
ต้องมีการติดต่อสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนข้อมูล และต้องยอมรับแนวทาง
ปฏิ บั ติ ซึ่ ง กั น และกั น เพื่ อ ให้ ปั ญ หาการไม่ ส าเร็ จ การศึ ก ษาลดน้ อ ยลง
และไม่ ส่งผลต่อการใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ

You might also like