You are on page 1of 95

สาขา : โยธา

วิชา : Soil Mechanics


เนือหาวิชา : 545 : Formation of soil, soil classification, soil exploration

ข ้อที 1 :

1 : CH
2 : CL
3 : SP
4 : MH
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 2 :
ตัวอย่างดินเม็ดละเอียดชนิดหนึงมีคณ
ุ สมบติดงั ต่อไปนี ค่าพิกด
ั เหลว (Liquid limit) LL = 48% ค่าพิกด
ั พลาสติก (Plastic limit) PL = 26% ปริมาณดินเหนียว
(Clay content) = 25% ปริมาณทรายแป้ ง (Silt content) = 36% ปริมาณทราย (Sand content) = 39% ค่าปริมาณนํ าในดิน(Moisture content) w = 29% จงหาค่า
ดัชนีความเหลว (Liquidity index, LI)

1 : 0.14
2 : 0.27
3 : 22%
4 : 19%
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 3 :
การทดสอบหาค่าพิกด ั เหลว (Liquid limit, LL) ของดินเหนียวชนิดหนึง ในห ้องปฏิบต ั กิ ารพบว่าปริมาณความชืนในดินมีคา่ เท่ากับ 38% จงหาค่าอัตราส่วนช่องว่าง
(void ratio, e) ของดินทีพิกด
ั เหลว ถ ้าค่าความถ่วงจําเพาะ (Specific gravity, Gs) มีคา่ เท่ากับ 2.7 กําหนดให ้ Degree of Saturation = 100%

1 : 0.38
2 : 1.03
3 : 0.14
4 : 0.27
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 4 :
จงพิจารณาข ้อความต่อไปนี

1 : ถูกเฉพาะ ข ้อความ a)
2 : ถูกเฉพาะ ข ้อความ b)
3 : ถูกเฉพาะ ข ้อความ c)
4 : ไม่มข
ี ้อความใดถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 5 :
การทดสอบหาค่าพิกด ั เหลว (Liquid limit, LL) ของดินเหนียวชนิดหนึง ในห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารโดยอุปกรณ์ถ ้วยของคาซาเกนดี (Casagrande cup) ดังภาพ ได ้ผลดังนี
จงประมาณค่าพิกด
ั เหลว

1 : 55
2 : 42
3 : 38
4 : 32
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 6 :
ดินประเภท loess ทีพบมากในภาคอีสาน จัดเป็ นดินทีผ่านขบวนการเคลือนย ้ายด ้วยตัวกลางใด

1 : แม่นํา
2 : ลม
3 : แรงโน ้มถ่วง
4 : ทะเล
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 7 :
ดินในข ้อใดต่อไปนีทีมีคณ
ุ สมบัตใิ กล ้เคียงดินชนิด SP-SM มากทีสุด

1 : %Fines (Fraction smaller than 0.075 mm) = 4%, Cu = 2.5


2 : %Fines = 6%, Cu = 4.5
3 : %Fines = 8%, Cu = 6.5
4 : %Fines = 10%, Cu = 8.5
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 8 :
กําหนดให ้ค่า SPT-N value จากการทดสอบด ้วยเครืองมือของบริษัทหนึงมีคา่ เท่ากับ 40 ถ ้าทราบว่าการส่งผ่านพลังงานของเครืองมือไปยังกระบอกเก็บตัวอย่าง มี
ค่าเท่ากับ 60% (N60 = 40) จงปรับแก ้ค่าดังกล่าวไปเป็ น N80

1 : N80 = 30
2 : N80 = 35
3 : N80 = 40
4 : N80 = 53
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 9 :
ดินทีอยูต
่ ามธรรมชาติเกิดจาก

1 : สารอินทรีย ์
2 : การสลายตัวของหิน
3 : การตกตะกอน
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 10 :
ส่วนประกอบของดินอิมตัว(Saturated soil) คือ

1 : ส่วนทีเป็ นเม็ดดิน (Solid)


2 : ส่วนทีเป็ นเม็ดดิน (Solid) และนํ า (Water)
3 : ส่วนทีเป็ นเม็ดดิน (Solid) และอากาศ (Air)
4 : ส่วนทีเป็ นเม็ดดิน (Solid) นํ า (Water) และอากาศ (Air)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 11 :
ดินตัวอย่างมีปริมาตร (V) = 1,000 c.c. หนัก (W) = 1,750 gm. มีปริมาตรนํ า (Vw) 250 c.c. ความถ่วงจําเพาะ (Gs) = 2.60 จงหาค่าอัตราส่วนช่องว่าง (e)
1 : 0.16
2 : 0.25
3 : 0.69
4 : 0.73
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 12 :
แร่ประกอบดินชนิดใดทีทําให ้ดินมีความบวมตัวสูง

1 : Illite
2 : Montmorillonite
3 : Quartz
4 : Kaolinite
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 13 :
เราไม่ควรนํ าตัวอย่างดินทีได ้รับการกระทบกระเทือน (Disturbed Sample) มาทําการทดสอบประเภทใด

1 : การทดสอบหาพิกด ั อัตเทอร์เบอร์ก
2 : การทดสอบการบดอัด
3 : การทดสอบหาความถ่วงจําเพาะ
4 : การทดสอบการอัดตัวคายนํ า
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 14 :
ถ ้าเราเพิมพลังงานในการบดอัด ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุด (Maximum Dry Density) และค่าความชืนบดอัดเหมาะสม (Optimum Moisture Content) จะ
เปลียนแปลงอย่างไร

1 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดเพิมขึน และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมเพิมขึน


2 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดเพิมขึน และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมลดลง
3 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดลดลง และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมลดลง
4 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดลดลง และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมเพิมขึน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 15 :
ดินชือใดต่อไปนีสามารถจัดสัญลักษณ์กลุม
่ ได ้เป็ น CL

1 : Sandy lean clay


2 : High plasticity clay
3 : Organic clay with sand
4 : Sandy fat clay
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 16 :
ี ารทดสอบในสนามข ้อใดต่อไปนีสามารถใช ้ร่วมกับกระบอกเก็บตัวอย่างแบบผ่าซีก (Split Spoon Sampler) ได ้
วิธก

1 : Standard penetration test


2 : Cone penetration test
3 : Vane shear test
4 : Down hole test
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 17 :
ตัวอย่างดินอิมตัวด ้วยนํ า มีคา่ Water content 65.1% และค่า Total unit weight 1.57 t/m3 จงหาค่า Specific gravity ของดิน

1 : 2.45
2 : 2.50
3 : 2.55
4 : 2.60
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 18 :
ตัวอย่างดินมีคา่ Liquid limit 74% Plastic limit 27% Water content 65% จงหาค่า Liquidity index และ Plastic index

1 : 0.88,45%
2 : 0.85,45%
3 : 0.83,47%
4 : 0.81,47%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 19 :
ตัวอย่างดินก่อนอบให ้แห ้งมีนําหนักเท่ากับ 168 gms ปริมาตรเท่ากับ 102 cm3 Specific gravity 2.65 ตัวอย่างดินหลังอบให ้แห ้งมีนําหนักเท่ากับ 112 gms จงหาค่า
Void ratio และ Degree of saturation

1 : 1.55,98.74%
2 : 1.51,98.74%
3 : 1.41,95.74%
4 : 1.41,93.74%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 20 :
โครงสร ้างดินเหนียวทีตกตะกอนในนํ าจืดเป็ นโครงสร ้างดินแบบใด

1 : Single grained structure


2 : Double grained structure
3 : Honeycomb structure
4 : Dispersed structure
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 21 :
โครงสร ้างดินเหนียวทีตกตะกอนในทะเลเป็ นโครงสร ้างดินแบบใด

1 : Single grained structure


2 : Flocculated structure
3 : Honeycomb
4 : Dispersed structure
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 22 :
ในงานถนนนิยมใช ้การจําแนกดินแบบใด

1 : AASHTO
2 : FAA
3 : Unified
4 : ASTM
5 : DIN
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 23 :
ในงานวิศวกรรมทัวไปนิยมใช ้การจําแนกดินแบบใด

1 : AASHTO
2 : FAA
3 : Unified
4 : ASTM
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 24 :
ี ารใดใช ้หาเส ้นโค ้งการกระจายขนาดของเม็ดดินละเอียดทีมีขนาดเล็กกว่า 0.075 มม.
วิธก

1 : Hydrometer Analysis
2 : Hygrometer Analysis
3 : Sieve Analysis
4 : Spectrum Analysis
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 25 :
สถานะของดิน ณ สถานะใดทีดินเปลียนจากของแข็งเป็ นกึงของแข็ง

1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit
3 : Liquid limit
4 : Plastic index
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 26 :
สถานะของดิน ณ สถานะใดทีดินเปลียนจากกึงของแข็งเป็ นพลาสติก

1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit
3 : Liquid limit
4 : Plastic index
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 27 :
สถานะของดิน ณ สถานะใดทีดินเปลียนจากพลาสติกเป็ นของเหลว

1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit
3 : Liquid limit
4 : Plastic index
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 28 :
ดัชนีความเหนียว (Plasticity index) เป็ นผลต่างของค่าใด

1 : LL-PL
2 : LL-SL
3 : LL-PI
4 : PL-LL
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 29 :
ดินชนิดหนึง เมือนํ าไปร่อนผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ตา่ ง ๆ ได ้ข ้อมูลดังนี
มี % ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 4 = 75 %
มี% ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 200 = 45 %
ดินชนิดนีควรมีสญั ลักษณ์ตวั แรกตามระบบจําแนกดิน Unified เป็ น

1:G
2:S
3:C
4 : ข ้อมูลไม่เพียงพอทีจะตัดสิน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 30 :
ปริมาณนํ าทีจุดใดเป็ นปริมาณนํ าทีน ้อยทีสุดทีแม ้ว่าจะมีการสูญเสียนํ าในดินก็ไม่ทําให ้ดินหดตัวหรือมีปริมาตรลดลง

1 : Shrinkage limit
2 : Plastic limit
3 : Liquid limit
4 : Plastic index
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 31 :
ดินชนิดหนึง เมือนํ าไปร่อนผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ตา่ ง ๆ ได ้ข ้อมูลดังนี
มี % ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 4 = 70 %
มี % ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 200 = 45 %
ดินชนิดนีควรมีสญั ลักษณ์ตวั แรกตามระบบจําแนกดินแบบ Unified เป็ น

1:C
2 : ข ้อมูลไม่เพียงพอทีจะตัดสิน
3:G
4:S
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 32 :
การจําแนกดินแบบใดทีแบ่งดินออกเป็ นกลุม
่ จาก A-1ถึง A-7

1 : ASTM
2 : DIN
3 : Unified
4 : AASHTO
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 33 :
ในการก่อสร ้างชนิดใดทีสมควรใช ้การบดอัดแบบ Modified Proctor มากทีสุด

1 : ถนนทัวไป
2 : สนามบิน
3 : สนามกีฬา
4 : งานอาคาร
5 : โรงงาน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 34 :
ในการบดอัดดินเหนียวให ้แน่นเครืองจักรแบบใดทีเหมาะสมทีสุด

1 : รถบดสันสะเทือน
2 : รถบดล ้อยาง
3 : รถบดล ้อเหล็ก
4 : รถบดตีนแกะ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 35 :
การทดสอบ Triaxial Test แบบใดทีใช ้ในการวิเคราะห์หน่วยแรงรวมและใช ้ในการหาค่ากําลังต ้านทานแรงเฉือนของดินในระยะสัน

1 : UU Test
2 : DCTest
3 : CD Test
4 : ได ้ทุกวิธ ี
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 36 :
การทดสอบ Triaxial Test แบบใดทีใช ้ในการวิเคราะห์หน่วยแรงประสิทธิผลและใช ้ในการหาค่ากําลังต ้านทานแรงเฉือนของดินในระยะยาว

1 : UU Test
2 : CU Test
3 : CD Test
4 : DC Test
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 37 :
การทดสอบดินแบบใดทีหน่วยแรงยึดเหนียว มีคา่ ประมาณครึงหนึงของหน่วยแรงอัด

1 : Unconfine Compression Test


2 : Triaxial Test แบบ UU
3 : Triaxial Test แบบ CU
4 : Triaxial Test แบบ CD
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 38 :
ดินชนิดหนึงมีอต
ั ราส่วนช่องว่างเท่ากับ 0.60 จะมีความพรุนเท่าไร

1 : 0.375
2 : 0.450
3 : 0.550
4 : 0.675
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 39 :
การทดสอบใดทีใช ้ทดสอบหาหน่วยแรงเฉือนในสนาม

1 : Unconfine Compression Test


2 : Triaxial Test
3 : Vane Shear Test
4 : Plate Load Test
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 40 :
ตัวอย่างดินชืนหนัก 20 กิโลกรัม นํ ามาอบแห ้งเป็ นเวลา 24 ชัวโมง นํ าหนักดินเหลือ 15 กิโลกรัม จงหาว่าตัวอย่างดินชืนมีความชืน (Water Content) กีเปอร์เซนต์

1 : 15.0%
2 : 25.0%
3 : 33.3%
4 : 66.7%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 41 :
ตัวอย่างดินชนิดหนึง เมือนํ าไปร่อนผ่านตะแกรงพบว่าผ่านตะแกรงเบอร์ 4 90% และผ่านตะแกรงเบอร์ 200 20% อยากทราบว่าดินชนิดนีเป็ นดินประเภทใด ถ ้าเรา
ใช ้ระบบการจําแนกดินของ Unified Soil Classification System

1 : Gravel
2 : Sand
3 : Silt
4 : Clay
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 42 :
ถ ้วย Casagrande ใช ้ในการทดสอบใด

1 : Liquid Limit
2 : Plastic Limit
3 : Shrinkage Limit
4 : Plastic Index
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 43 :
ดินชนิดหนึง เมือนํ าไปร่อนผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ตา่ ง ๆ ได ้ข ้อมูลดังนี
มี % ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 4 = 80 %
มี % ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 200 = 55 %
ดินชนิดนีควรมีสญั ลักษณ์ตวั แรกตามระบบจําแนกดิน Unified เป็ น

1:S
2:M
3:C
4 : ข ้อมูลไม่เพียงพอทีจะตัดสิน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 44 :
ดินชนิดใดมีความเป็ นพลาสติกสูง

1 : CH
2 : GL
3 : GH
4 : CL
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 45 :
ตัวอย่างดินคงสภาพมีปริมาตร 0.25 ลูกบาศก์เมตร ชังได ้หนัก 4.20 กิโลนิวตัน ถ ้าตัวอย่างดินคงสภาพนีมีปริมาณความชืน 22.0 % ดินก ้อนนีจะมีนําหนักดินแห ้ง
เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 3.16 kN
2 : 3.45 kN
3 : 4.03 kN
4 : 4.18 kN
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 46 :
ตัวอย่างดินคงสภาพมีปริมาตร 0.4 ลูกบาศก์เมตร ชังได ้หนัก 6.6 กิโลนิวตัน ถ ้าตัวอย่างดินคงสภาพนีมีปริมาณความชืน 20.0 % จะมีความหนาแน่นแห ้งเท่ากับ
หรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 0.31 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร
2 : 5.50 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร
3 : 13.75 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร
4 : 16.50 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 47 :
ถ ้าตัวอย่างดินชนิดหนึงมีคา่ ความถ่วงจําเพาะ 2.65 มีความพรุน (Porosity) 42 % และมีปริมาณความชืน 24 % ดินนีจะมีระดับความอิมตัวด ้วยนํ า (Degree of
saturation) เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 61.4 %
2 : 70.7 %
3 : 87.8 %
4 : 95.6 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 48 :
ดินชืนมีความถ่วงจําเพาะ, (Gs) = 2.70 ความพรุน, (n) = 0.35 จงหาความหนาแน่นของดินแห ้ง

1 : 1,350 kg/m3
2 : 1,755 kg/m3
3 : 2,075 kg/m3
4 : 2,700 kg/m3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 49 :
ดินชืนมีความหนาแน่น 2.0 gm/c.c. องศาของความอิมตัว 59.4% เมือทําให ้แห ้งมีความหนาแน่น 1.8 gm/c.c. จงหาค่าของความถ่วงจําเพาะของดิน

1 : 2.55
2 : 2.68
3 : 2.71
4 : 2.82
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 50 :
การจําแนกดินด ้วยระบบเอกภาพ (Unified soil classification system) จะต ้องทราบคุณสมบัตพ
ิ นฐานของดิ
ื น คือ

1 : Sieve analysis , LL, PL


2 : Sieve analysis , Group Index.
3 : Consistency limit , % Passing sieve no. 200
4 : Consistency limit , Group Index. , Cu , Cc
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 51 :
การจําแนกดินด ้วยระบบเอกภาพ ได ้ชนิดของดินคือ SM หมายถึง

1 : Clayey silt
2 : Inorganic silt
3 : Clayey sand, Sand - clay mixture
4 : Silty sand, Sand - silt mixture
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 52 :
จากข ้อมูลการทดสอบดิน จงเลือกข ้อทีถูกต ้องทีสุด % Passing sieve no. 200 = 40% Cu = 6.4 Cc = 2.5

1 : GW or SW
2 : GM , GC , SM , SC
3 : Fine grained soil
4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถูกต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 53 :
การจําแนกดินด ้วยระบบ AASHTO Granular materials หมายถึง

1 : ดิน A-4 , A-5 , A-6 และ A-7


2 : ดินทีมีคา่ Group Index. > 16
3 : ดินทีมี % Passing sieve no. 200 < 35%
4 : ดินทีมี % Passing sieve no. 200 < 50%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 54 :
ดินชนิดหนึงได ้ข ้อมูลจากการทดสอบ คือ % Passing sieve no. 200 45% ถ ้าจําแนกดินด ้วยระบบ AASHTO จงเลือกข ้อทีถูกต ้องทีสุด

1 : A-1 , A-2 หรือ A-3


2 : A-4 , A-5 , A-6 หรือ A-7
3 : Clayey sand
4 : Silty gravel
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 55 :
Liquid limit คือ

1 : ปริมาณความชืนของดินตามธรรมชาติ
2 : เมือลดปริมาณนํ าในดินลง ปริมาตรรวมของดินจะคงที
3 : ปริมาณความชืนของดิน เมือดินเปลียนสภาพจากของแข็งเป็ นของเหลว
4 : ปริมาณความชืนของดิน เมือดินเปลียนสภาพจากปลาสติกเป็ นของเหลว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 56 :
Plasticity index คือ

1 : LL - SL
2 : ผลต่างของปริมาณความชืนระหว่างขีดแหลวและขีดปลาสติก
3 : เป็ นค่าทีชีว่าดินทีอยูต
่ ามธรรมชาติอยูใ่ นสภาพปลาสติก
4 : เป็ นค่าทีชีสภาพของดินตามธรรมชาติวา่ อยูใ่ นสภาพ ของแข็ง กึงของแข็ง ปลาสติก หรือของเหลว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 57 :
ในการเจาะสํารวจดิน การกําหนดความลึกของหลุมเจาะจะขึนอยูก
่ บ

1 : ต ้องลึกกว่า 20 เมตร
2 : งบประมาณของเจ ้าของโครงการ
3 : ความสามารถของเครืองมือการเจาะสํารวจ
4 : สภาพของชันดิน และนํ าหนักของโครงสร ้างส่วนเหนือดิน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 58 :
ถ ้าบริเวณทีเก็บตัวอย่างดินคงสภาพอยูใ่ ต ้ระดับนํ าใต ้ดิน เมือเก็บตัวอย่างดินดังกล่าวขึนมาแล ้ว หาค่าปริมาณความชืนได ้ 30 % และค่าความถ่วงจําเพาะเท่ากับ
2.67 ค่าอัตราส่วนช่องว่าง (Void ratio) จะมีคา่ เท่าหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 0.30
2 : 0.62
3 : 0.80
4 : 1.0
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 59 :
่ ในข ้อใด ทีใช ้สําหรับดินประเภทตะกอนทราย (Silt)
สัญลักษณ์กลุม

1 : SP
2 : GW
3 : MH
4 : CL
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 60 :
วิธก
ี ารทดสอบต่อไปนีข ้อใดทีไม่เกียวข ้องโดยตรงต่อกระบวนการจําแนกประเภทของดิน

1 : Sieve analysis
2 : Hydrometer analysis
3 : Consistency test
4 : Compaction test
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 61 :
เครืองมือทดสอบทีได ้แสดงไว ้นีเป็ นเครืองมือสําหรับการทดสอบใด

1 : Field vane test


2 : Cone penetration test
3 : Standard penetration test
4 : Field density test
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 62 :
ดินประเภท SW เป็ นดินทีมีคณ
ุ สมบัตใิ ดต่อไปนี

1 : ดินเหนียวทีมีพลาสติกซิตสูิ ง
2 : กรวดทีมีดน
ิ เหนียวปนอยูเ่ ล็กน ้อย
3 : ทรายทีมีคา่ สัมประสิทธิความโค ้งเท่ากับ 0.8
4 : ทรายทีมีคา่ สัมประสิทธิความสมําเสมอเท่ากับ 8
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 63 :
ดิน A ทีแสดงไว ้ในรูปจัดเป็ นดินชนิดใด

1 : SP
2 : GW
3 : SW
4 : SC
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 64 :
ดินชนิดหนึงถูกนํ ามาทดสอบในห ้องปฏิบต ั ก
ิ ารได ้ผลการทดสอบดังนี
ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 200 = 42 %
Liquid limit = 38 %
Plastic limit = 26 %
ดินชนิดนีจะมีคา่ Group index (GI) ของระบบจําแนกดิน AASHTO เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด กําหนดสูตร GI = (F-35)[0.2+0.005(u-40)]+0.01(F-15)(PI-10)

1 : -3
2:0
3:2
4:5
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 65 :
ดินชนิดหนึงถูกนํ ามาทดสอบในห ้องปฏิบต ั ก
ิ ารได ้ผลการทดสอบดังนี
ผ่านตะแกรงมาตราฐานเบอร์ 200 = 33 %
Liquid limit = 30 %
Plastic limit = 24 %
ดินชนิดนีจะมีคา่ Group index (GI) ของระบบจําแนกดิน AASHTO เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด กําหนดสูตร GI = (F-35)[0.2+0.005(u-40)]+0.01(F-15)(PI-10)

1:4
2:7
3 : -1
4:0
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 66 :
จงจําแนกประเภทดินทีได ้ให ้ไว ้ตามระบบของ AASHTO

1 : A-1-a
2 : A-1-b
3 : A-3
4 : A-2-4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 67 :
จงจําแนกตัวอย่างดินทีได ้ให ้ไว ้ตามระบบ AASHTO

1 : A-5
2 : A-6
3 : A-7-5
4 : A-7-6
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 68 :
เมือต ้องการเก็บตัวอย่างดินคุณภาพสูง (Undisturbed sample) ควรจะใช ้อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดินแบบใด

1 : Hand auger
2 : Split spoon sampler
3 : Shelby tube sampler
4 : Thickwall sampler
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 69 :
รูปทีได ้แสดงไว ้เป็ นผลการทดสอบทีได ้จากวิธก
ี ารใด

1 : Standard penetration test


2 : Cone penetration test
3 : Field vane test
4 : Down hole test
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 70 :
จงหาค่า Percent finer ของตะแกรงเบอร์ 40 ของตัวอย่างดินทีมีผลการทดสอบดังตาราง

1 : 43.00

2 : 13.96
3 : 75.04
4 : 57.00
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 71 :
จงหาค่า Percent finer ของตะแกรงเบอร์ 60 ของตัวอย่างดินทีมีผลการทดสอบดังตาราง

1 : 97.92
2 : 86.04
3 : 64.28
4 : 35.72
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 72 :
ุ โดยใช ้ลูกตุ ้มหนัก12 ปอนด์ ยกให ้สูง 15 นิวแล ้วปล่อยให ้ตกกระแทกดินใน
ถ ้าในการบดอัดตัวอย่างดินลงในกระบอกตัวอย่างทีมีปริมาตร 0.05 ลูกบาศก์ฟต
กระบอกตัวอย่างชันละ 30 ครัง จํานวน 4 ชันเต็มกระบอกตัวอย่างพอดี จงหาว่าพลังงานทีใช ้บดอัดดินในกระบอกตัวอย่างมีคา่ เท่าไร
1 : 12,000 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
2 : 24,000 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
3 : 36,000 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
4 : 42,000 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 73 :
ุ โดยใช ้ลูกตุ ้มหนัก 20 ปอนด์ ยกให ้สูง 18 นิวแล ้วปล่อยให ้ตกกระแทกดินใน
ถ ้าในการบดอัดตัวอย่างดินลงในกระบอกตัวอย่างทีมีปริมาตร 0.08 ลูกบาศก์ฟต
กระบอกตัวอย่างชันละ 30 ครัง จํานวน 6 ชันเต็มกระบอกตัวอย่างพอดี จงหาว่าพลังงานทีใช ้บดอัดดินในกระบอกตัวอย่างมีคา่ เท่าไร

1 : 67,500 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
2 : 56,250 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
3 : 36,000 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
4 : 12,375 ฟุตปอนด์/ลบ.ฟุต
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 74 :
นํ าตัวอย่างดินแห ้งมาใส่นําให ้มีความชืนพอประมาณ จากนันนํ าดินดังกล่าวมาบดอัดด ้วยวิธ ี Standard Proctor test โดยใช ้กระบอกตัวอย่างมีปริมาตร 1/30 ลูบ.ฟุต
เมือบดอัดจนเต็มแล ้ว นํ าดินออกจากกระบอกตัวอย่างแล ้วนํ าไปชังได ้หนัก 4.13 ปอนด์ นํ าเศษดินไปหาปริมาณความชืน ได ้ข ้อมูลดังนี
นน.ดินเปี ยก+กระป๋ อง = 165.3 กรัม
นน.ดินแห ้ง+กระป๋ อง = 148.6 กรัม
นน.กระป๋ อง= 40.5 กรัม
จงหาค่าความหนาแน่นแห ้งของดิน

1 : 7.55 ปอนด์/ลบ.ฟุต
2 : 87.6 ปอนด์/ลบ.ฟุต
3 : 107.4 ปอนด์/ลบ.ฟุต
4 : 123.9 ปอนด์/ลบ.ฟุต
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 75 :
ดินชนิดหนึงมีคา่ ความพรุน (porosity) เท่ากับ 40% และมีคา่ ความถ่วงจําเพาะของเม็ดดิน (Specific gravity of solids) เท่ากับ 2.7 จงคํานวณค่าหน่วยนํ าหนักของ
ดิน ในกรณีทดิ
ี นมีดก ี รีความอิมตัวด ้วยนํ าเท่ากับ 50%

1 : 15.9 kN/m3
2 : 18.2 kN/m3
3 : 18.5 kN/m3
4 : 19.5 kN/m3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 76 :

1 : 4453 m3
2 : 4776 m3
3 : 5224 m3
4 : 5557 m3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 77 :
ดินเหนียวอิมตัวก ้อนหนึงมีปริมาตร 25 cm3 ทีพิกด
ั เหลว (liquid limit) ดินเหนียวชนิดนีมีคา่ พิกด
ั เหลว และ ค่าพิกด
ั การหดตัว (shrinkage limit) เท่ากับ 42% และ
25% ตามลําดับ จงหาค่าตําสุดของปริมาตรของดินก ้อนนีทีเป็ นไปได ้ สมมติวา่ ดินมีคา่ ความถ่วงจําเพาะของเม็ดดิน (specific gravity of solids) เท่ากับ 2.72

1 : 25 cm3
2 : 22 cm3
3 : 20 cm3
4 : 18 cm3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 78 :
การทดสอบในสนามในข ้อใด ทีมีขนเพื
ึ อบอกค่าความแข็งแรงของดินเหนียวอ่อน

1 : Field vane shear test


2 : Pressuremeter test
3 : Constant head test
4 : Field density test
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 79 :
ผลการทดสอบ Standard Penetration test จะบ่งบอกค่าใดของดินในข ้อต่อไปนี

1 : Relative density
2 : Angle of internal friciton
3 : Stiffness modulus
4 : ถูกทัง 3 ข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 80 :
การทดสอบในสนามในข ้อไหนทีมีขนเพื
ึ อแสดงความต ้านทานต่อแรงเฉือนของดิน

1 : Vane shear test


2 : Pressuremeter test
3 : Constant head test
4 : Field density test
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 81 :
หากท่านต ้องการทราบพฤติกรรมของการทรุดตัวของดินเหนียว ท่านต ้องกําหนดการทดสอบแบบใดในข ้อต่อไปนี

1 : Compaction test
2 : Triaxial compresstion tet

3 : Direct shear test

4 : Consolidation test

คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 82 :
จงบอกองค์ประกอบทีมีอท
ิ ธิพลต่อความหนาแน่นของดินแห ้งในการบดอัดดินเหนียวในสนาม

1 : วิธก
ี ารในการบดอัด
2 : พลังงานทีใช ้ในการบดอัด
3 : ปริมาณนํ า
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 83 :
ข ้อใดเป็ นการบ่งบอกข ้อกําหนดสําหรับการบดอัดดิน (Compaction specification)

1 : Relative density
2 : Percentage compaction
3 : Optimum water content
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 84 :
จงบอกประเภทของดิน A ตามระบบ USCS (Unified Soil Classification System) โดยมีข ้อมูลดังนี %ผ่านตะแกรง#4 100% %ผ่านตะแกรง#10 98% %ผ่าน
ตะแกรง#40 70% %ผ่านตะแกรง#100 20% %ผ่านตะแกรง#200 8% ขนาดของเม็ดดินที60%finer 0.33 mm. ขนาดของเม็ดดินที30%finer 0.18 mm. ขนาดของ
เม็ดดินที10%finer 0.09 mm.

1 : SW
2 : SP
3 : SW-SM หรือ SW-SC
4 : SP-SM หรือ SP-SC
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 85 :
จงบอกประเภทของดิน B ตามระบบ USCS (Unified Soil Classification System) โดยมีข ้อมูลดินดังนี
%ผ่านตะแกรง#4 100% %ผ่านตะแกรง#40 100%
%ผ่านตะแกรง#100 93% %ผ่านตะแกรง#200 90%
Liquid Limit 40% Plastic Limit 20%

1 : CL
2 : OL
3 : ML
4 : CL-ML
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 86 :
ความหนาแน่นของมวลดิน คือนํ าหนักของมวลดินต่อหน่วยปริมาตรของมวลดินนันซึงจะมีคา่ มากน ้อยแตกต่างกันไปตามสภาพของมวลดิน ได ้แก่ มวลดินชืน มวล
ดินแห ้ง มวลดินอิมตัว และมวลดินจมอยูใ่ นนํ า ความหนาแน่นของมวลดินจะมีคา่ มากทีสุดเมือมวลดินอยูใ่ นสภาพใด

1 : มวลดินชืน
2 : มวลดินแห ้ง
3 : มวลดินอิมตัว
4 : มวลดินจมอยูใ่ นนํ า
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 87 :
Transported Soil เป็ นดินทีเกิดจากการสลายตัวของหิน แล ้วถูกพัดพาไปตกตะกอนทีอืนด ้วยกลไกธรรมชาติ เช่น การพัดพาไปด ้วยนํ า นํ าแข็ง ลมและแรงโน ้มถ่วง
ดินชนิดใดทีไม่ได ้เกิด จากการพัดพาของนํ า

1 : Lacustine
2 : Alluvial clay
3 : Marine
4 : Loess
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 88 :
นํ าดินเหนียวชนิดหนึงมาทําการทดลอง Sieve Analysis แล ้วเขียน Grain Size Distribution เพือหาปริมาณ Percent Finer ของเม็ดดินทีลอดผ่านตระแกรง ร่อน
เบอร์ตา่ งๆ และจากการทดลองหา Atterberg’s Limits ได ้ค่า LL เท่า กับ 52 และค่า Plasticity Index PI = 37 โดยการใช ้ AASHTO SoilClassification
systemจําแนกได ้ว่าดินนีอยูใ่ น Group A-7 จงหาค่า PL และชนิดของดิน

1 : 25, A-7-6
2 : 15, A-7-5
3 : 15 , A-7-6
4 : 25 , A-7-5
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 89 :
จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณนํ าทีใช ้ผสมกับมวลดินกับจํานวนครังทีใช ้ในการกระแทกถ ้วยทองเหลือง ค่า Liquid Limit ทีได ้จากการทดลองวิธ ี
Percussion นี คือค่าของปริมาณนํ าทีใช ้ผสมซึงจะทําให ้รอยบากของมวลดินเคลือนเข ้ามาบรจบกันเป็ นระยะ 1 ซม.พอดีทการกระทบกี
ี ครัง

1 : 15 ครัง
2 : 20 ครัง
3 : 25 ครัง
4 : 30 ครัง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 90 :
ข ้อใดไม่ใช่ลก
ั ษณะการเคลือนตัวของดินใต ้ฐานรากทีทําให ้เกิดการพิบต

1 : General Shear
2 : Local Shear
3 : Punching Shear
4 : Beam Shear
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 91 :
องค์ประกอบใดทีไม่มผ
ี ลต่อค่า Ultimate Bearing Capaciy ของดินใต ้ฐานราก

1 : นํ าหนักดินเหนือฐานราก
2 : ความกว ้างของฐานราก
3 : ความลึกของฐานรากจากผิวดิน
4 : คุณภาพของคอนกรีตทีใช ้ทําฐานราก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 92 :
ในการทดลองหาค่า CBR ค่าแรงกดมาตรฐาน (Standard Unit Load ) ในการกดให ้ Piston ทีมีพนที ื หน ้าตัด 3 ตร.นิว จมลงในเนือดินลึก 0.1 in มีคา่ เท่ากับ 1000
psi สําหรับดินชนิดหนึงเมือบดอัดด ้วยวิธ ี Modified Proctor แล ้วเมือกดให ้ Piston จมลงไปลึก 0.1 in เท่ากัน วัดค่าแรงได ้ 750 lb ดินนีมีคา่ CBR เท่ากับเท่าไร

1 : 25
2 : 55
3 : 75
4 : 85
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 93 :
ในการวิเคราะห์ขนาดของเม็ดดินชนิดเม็ดละเอียดมาก ด ้วยวิธ ี Hydrometer Analysis นัน สามารถหาขนาดของเม็ดดินได ้จากกฎทีเกียวข ้องกับความเร็วในการตก
ตะกอนของอนุภาคทรงกลมเล็กๆ ในของเหลว กฏนันมีชอว่ ื าอะไร

1 : Darcy ’s Law
2 : Stoke ‘ s Law
3 : Allen Hazen ‘ s Law
4 : Coulomb ‘ s Law
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 94 :
สัมประสิทธิแรงดันดินด ้านข ้าง( Coefficient of Lateral Earth Pressure) มีคา่ อยู่ 3 ค่า คือ At rest Lateral Earth Pressure Ko Active Lateral Earth Pressure Ka และ
Passive Lateral Earth Pressure Kp ถ ้าเรียงลําดับค่าสัมประสิทธิจากน ้อยไปหามากจะได ้ดังนี

1 : Ko , Ka , Kp
2 : Ko , Kp , Ka
3 : Ka , Ko , Kp
4 : Kp ,Ko ,Ka
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 95 :
Atterberg ได ้กําหนดปริมาณนํ าในดิน เพือแบ่งขอบเขตทีดินอยูใ่ นสภาวะต่างๆ ได ้แก่ สภาวะแข็ง สภาวะกึงแข็ง สภาวะพลาสติกและสภาวะของเหลว ซึงปริมาณ
นํ าทีเป็ นตัวแบ่งขอบเขตนี เรียกว่า Limit ถ ้าเรียงลําดับของขีดแบ่งตามปริมาณนํ าทีมีอยูใ่ นดินจากน ้อยไปหามากจะได ้ดังนี

1 : ขีดพลาสติก , ขีดเหลว , ขีดหดตัว


2 : ขีดเหลว, ขีดหดตัว, ขีดพลาสติก
3 : ขีดเหลว , ขีดพลาสติก , ขีดหดตัว
4 : ขีดหดตัว, ขีดพลาสติก , ขีดเหลว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 96 :
ค่าสัมประสิทธิแรงดันดินเชิงรุก ( Active Lateral Pressure ) Ka ของดินทรายชนิดหนึงเมือคํานวณโดยใช ้ทฤษฎีของ Rankine มีคา่ เท่ากับ 0.327 ดินทรายนีมีคา่ มุม
เสียดทานภายใน (Angle of Internal Friction ) เท่ากับเท่าใด

1 : 20 องศา
2 : 25 องศา
3 : 30 องศา
4 : 35 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 97 :
ดินลูกรังมีความหนาแน่นเท่ากับ 2.1 T/m^3 , Angle of Internal Friction = 30 องศา และ c = 0.61 T/m^2 จงหาความลึก ของ Tension Crack ทีจะเกิดขึน เมือนํ า
ดินลูกรังไปเป็ นดินถมหลังกําแพงกันดิน

1 : 0.75 m.
2 : 1.00 m.
3 : 1.25 m.
4 : 1.50 m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 98 :
จาก Mohr’s Circle ดังแสดงในรูป จงหาค่าของ Normal Stress และ Shear Stress บนระนาบซึงทํามุม Angle of Internal Friction = 30 กับแนวระดับ โดยมี Hajor
Principal Stress(1) = 15 ksc และ Hajor Principal Stress(3) = 65 ksc
1 : 50.0 ksc,25.5 ksc
2 : 50.0 ksc, 27.5 ksc
3 : 52.5 ksc , 21.7 ksc
4 : 52.5 ksc , 25.5 ksc
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 99 :
จากข ้อมูลของชันดินเหนียว มีระดับนํ าอยูท่ ผิ
ี วดิน เก็บตัวอย่างหาค่าความชืน (Water content, w%)ได ้ 50% และความถ่วงจําเพาะของเม็ดดิน 2.65 ให ้คํานวณหา
อัตราส่วนช่องว่าง (Void ratio, e) ของดิน

1 : 1.3
2 : 1.0
3 : 0.5
4 : ข ้อมูลไม่เพียงพอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 100 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1 : ค่า Degree of Saturation คืออัตราส่วนระหว่างปริมาตรของนํ าในช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (Vw) กับปริมาตรของช่องว่างทังหมดระหว่างเม็ดดิน (Vv) ซึงจะมีคา่ ไม่เกิน 1
2 : ค่าความพรุน Porosity, n คืออัตราส่วนระหว่างปริมาตรของช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (Vv) กับปริมาตรของมวลดิน (V) ซึงจะมีคา่ ไม่เกิน 1
3 : ความชืนของมวลดิน (Water Content) คืออัตราส่วนระหว่างนํ าหนักของนํ าในมวลดิน (Ww) เทียบกับนํ าหนักของมวลดินแห ้ง (Ws)
4 : ค่าอัตราส่วนช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (Void ratio, e) คืออัตราส่วนระหว่างปริมาตรของช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (Vv) กับปริมาตรของเนือดิน (Vs) ในมวลดินนัน ซึงจะมีคา่ ไม่เกิน 1
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 101 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง ในการจําแนกชนิดของดินด ้วยระบบ Unified Soil Classification

1 : การจําแนกชนิดดินว่าเป็ นแบบเม็ดหยาบ (Coarse grained soil) หรือเม็ดละเอียด (Fine grained soil) ต ้องใช ้ตะแกรงเบอร์ 200
2 : การทดสอบ Atterberg Limit ใช ้เพือจําแนกดินประเภท Fine grained soil เท่านัน
3 : กรณี Peat หรือดินทีมีสารอินทรียป์ นอยูม
่ าก จะทําการบ่งชีชนิดได ้ด ้วยการสังเกตและพิจารณาลักษณะของเนือดิน
4 : ดินทีมีคา่ Liquid Limit (LL) มากกว่า 50 % จัดเป็ นดินชนิด High plasticity soil
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 102 :
ข ้อใดกล่าวได ้ไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับการจําแนกประเภทของดิน

1 : ดินชนิด A-1 คือดินทีถูกจําแนกด ้วยมาตรฐาน AASHTO


2 : ดินชนิด A-1, A-2 และ A-3 จัดเป็ นดินชนิด Granular Soil
3 : ค่าสัมประสิทธิความสมําเสมอ Cu และค่าสัมประสิทธิความโค ้ง Cc ใช ้ประกอบในการคํานวณ Group Index
4 : การวิเคราะห์คา่ D10, D30 และ D60 นันได ้จากกราฟการกระจายตัวของขนาดเม็ดดินหรือความสัมพันธ์ระหว่าง Percent Finer by Weight กับขนาดของเม็ดดิน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 103 :
ข ้อใดกล่าวได ้ไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับการสํารวจดิน

1 : การเจาะเก็บตัวอย่างดินด ้วยกระบอกบาง ตัวอย่างดินทีเก็บมาได ้จัดเป็ นดินประเภทไม่ถก


ู รบกวน
2 : การทดสอบ Standard Penetration Test (SPT) จะได ้ตัวอย่างดินแบบถูกรบกวน
3 : การทดสอบ Vane Shear Test (VST) เป็ นการเก็บตัวอย่างดินวิธหี นึง
4 : การทดสอบ Vane Shear Test เพือหาค่า Undrained Shear Strength ของดินทีทดสอบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 104 :
ในการทดสอบ Standard Penetration Test (SPT)ได ้ผลดังนี
ช่วง 6” แรก = 6 ครัง
ช่วง 6” ครังที 2 = 7 ครัง
ช่วง 6” ครังที 3 = 8 ครัง
ดังนันค่า SPT, N เป็ นเท่าใด
1 : 13 ครังต่อฟุต
2 : 14 ครังต่อฟุต
3 : 15 ครังต่อฟุต
4 : 21 ครังต่อฟุต
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 105 :
ข ้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของการเจาะสํารวจดิน

1 : เพือเลือกหาแหล่งวัสดุ
2 : เพือใช ้เป็ นข ้อมูลด ้านออกแบบ
3 : เพือประเมินการทรุดตัวของชันดิน
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 106 :
ให ้อธิบายความหมายของ D60 จากกราฟกระจายตัวของเม็ดดิน

1 : ขนาดเม็ดดินทีมีเปอร์เซ็นต์ผา่ น (Percent finer) 60 % ของมวลดินทังหมด


2 : ขนาดเม็ดดินทีมีเปอร์เซ็นต์ผา่ น (Percent finer) 40 % ของมวลดินทังหมด
3 : เม็ดดินทีมีขนาด 60 มิลลิเมตร
4 : เปอร์เซ็นต์ผา่ นของมวลดินทีมีขนาด 60 มิลลิเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 107 :
มีตวั อย่างดิน 1000 กรัม มีความชืน (Water Content) 3% ถ ้าต ้องการให ้ตัวอย่างดินนีมีความชืนที 10% จะต ้องเติมนํ าผสมเพิมประมาณเท่าใด

1 : 10 กรัม
2 : 37 กรัม
3 : 68 กรัม
4 : 100 กรัม
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 108 :
ิ เหนียวทีมีคา่ Activity สูง ใช ้ในการทําเข็มเจาะระบบเปี ยก เพือป้ องกันการพังทลายของหลุมเจาะในดินทรายคือ
แร่ดน

1 : Kaolinite
2 : Illite
3 : Montmorillonite
4 : Attapulgite
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 109 :
ตัวอย่างดินเหนียวมีคา่ Void ratio เท่ากับ 1 จะมีคา่ Porosity เท่ากับเท่าไร

1 : 0.5
2 : 1.0
3 : 1.5
4 : 2.0
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 110 :
มาตรฐานการจําแนกประเภทดินชนิดใดทีใช ้ในการทํางานเกียวกับถนน

1 : ก. Unified Soil Classification System (USCS)


2 : ข. The American Association of State Highway and Transportation Offices (AASHTO)
3 : ค. U.S. Department of Agricultura Texture Classification (USDA)
4 : ง. The Federal Aviation Agency Classification System (FAA)
5 : จ. ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 111 :
รูปร่างเส ้นโค ้งสะสมของดิบแบบใดทีแสดงเส ้นโค ้งการสะสมแบบ Well graded

1:

2:
3:

4:
5 : จ. ไม่มข
ี ้อถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 112 :
แร่ดน
ิ เหนียวชนิดใดทีเมือเป็ นองค์ประกอบหลักของดินเหนียวแล ้วจะทําให ้ดินเหนียวนันมีการบวมตัวได ้สูง

1 : Montmorillonite
2 : Illite
3 : Kaolinite
4 : Lignite
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 113 :
จากชันดินลุม
่ เจ ้าพระยาดังรูป ถ ้าจัดดินตามลักษณะการเกิดของดิน จะจัดอยูใ่ นประเภทใด

1 : Sedimented soil
2 : Residual soil
3 : Dispersive soil
4 : Collapsible soil
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 114 :

ดินเหนียวทีถูกกัดเซาะได ้โดยง่ายเมือมีนําไหลผ่านมีชอเฉพาะว่
าอะไร

1 : Dispersive clay
2 : Fissured clay
3 : Soft clay
4 : Expansive clay
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 115 :
คุณสมบัตข
ิ องดินทีเมือดินถูกแรงกระทําแล ้วจะเสียรูปแต่เมือปล่อยแรงกระทําจะไม่มรี ป
ู ร่างเหมือนเดิมโดยดินมีปริมาตรไม่เปลียนแปลงเรียกว่าอะไร

1 : Plastic limit
2 : Liquid limit
3 : Elasticity
4 : Plasticity
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 116 :
ดินชนิดหนึงเมือนํ ามารบกวนโดยการปั นหรือเขย่าจะมีกําลังรับแรงเฉือนลดลง แต่เมือตังทิงไว ้โดยไม่รบกวนซักครูจ
่ ะมีกําลังรับแรงเฉือนเพิมขึนดังแสดงในรูป เรา
เรียกคุณสมบัตชิ นิดนีว่าอะไร
1 : Barotropy
2 : Anisotropy
3 : Thixotropy
4 : Plasticity
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 117 :
ดินชนิดหนึง Plastic limit = 30%, Liquid limit = 60% และมี Natural water content = 20% ข ้อใดถูกต ้อง

1 : ดินอยูใ่ นสภาพแข็งปั นแล ้วดินแตก มีคา่ Plasticity index = 20 %


2 : ดินอยูใ่ นสภาพแข็งปั นแล ้วดินแตก มีคา่ Plasticity index = 30 %
3 : ดินอยูใ่ นสภาพอ่อนปั นได ้โดยไม่แตก มีคา่ Plasticity index = 20 %
4 : ดินอยูใ่ นสภาพอ่อนปั นได ้โดยไม่แตก มีคา่ Plasticity index = 30 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 118 :
จากการทดสอบร่อนดินผ่านตะแกรงได ้ผลการทดสอบว่ามีปริมาณดินผ่านตะแกรงเบอร์ 200 = 94% จะจัดดินชนิดนีเป็ นดินชนิดใด

1 : หิน
2 : ทราย
3 : กรวด
4 : ดินเหนียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 119 :
จากรูปกราฟทีกําหนดให ้ มีปริมาณดินทีมีขนาดเล็กกว่า 0.075 มิลลิเมตร ประมาณเท่าใด

1 : 35 เปอร์เซ็นต์
2 : 45 เปอร์เซ็นต์


3 : 55 เปอร์เซ็นต์
4 : 60 เปอร์เซ็นต์
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 120 :
ในการทดสอบดินชนิดหนึงได ้ผลการจําแนกดินตามระบบ Unified Soil Classification System เป็ น CH ดินชนิดนีอาจจะเป็ นดินชนิดใด

1 : Clayey soil
2 : Sandy soil
3 : Gravelly soil
4 : Silty soil
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 121 :
จากกราฟทีกําหนดให ้ ดินชนิดใดจัดเป็ นดินทีมีขนาดคละกันดีทสุ
ี ด

1 : ดิน A
2 : ดิน B
3 : ดิน C
4 : ดิน D
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 122 :
ต ้องการทดสอบกําลังรับแรงเฉือนของดินเหนียวอ่อนมากในที(in-situ test) โดยไม่ต ้องเก็บตัวอย่าง ควรใช ้การทดสอบแบบใด

1 : Standard penetration test


2 : Unconsolidated Undrained triaxial test
3 : Field vane shear test
4 : Consolidation test
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 123 :
ถ ้าต ้องการเก็บตัวอย่างดินเหนียวอ่อนมากทีระดับลึก 12 เมตรมาทดสอบกําลังรับแรงเฉือนของดินด ้วยวิธ ี Triaxial test ควรจะใช ้อุปกรณ์ใดในการเก็บตัวอย่าง

1 : Cone Penetrometer
2 : Split spoon sampler
3 : Pocket penetrometer
4 : Thin wall sampler
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 124 :
ดินชนิดหนึงมี ความหนาแน่นทังหมด (Bulk density) 1760 kg/m3 ความถ่วงจําเพาะ 2.7 และ มีปริมาณความชืน 10% จงหาอัตราส่วนช่องว่าง (Void ratio) และ
ความหนาแน่นดินอิมตัว (saturated density)

1 : 0.59 และ 1.91 kg/m3


2 : 0.59 และ 2.01 kg/m3
3 : 0.69 และ 1.91 kg/m3
4 : 0.69 และ 2.01 kg/m3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 125 :
คันดินถมถูกบดอัดทีปริมาณความชืนเท่ากับ 17%และมี ค่าความพรุนเท่ากับ 0.386 ถ ้าความถ่วงจําเพาะของเม็ดดินเท่ากับ 2.65 จงคํานวณหาระดับความอิมตัว
ของคันดินนี

1 : 54.5%
2 : 63.2%
3 : 71.7%
4 : 87.3%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 126 :
ดินเหนียวมีอต
ั ราส่วนช่องว่างเท่ากับ 0.73 ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 2.71 ระดับความอิมตัวเท่ากับ 92 % จงหาความหนาแน่นแห ้งและความหนาแน่นทังหมดตาม
ลําดับ

1 : 1,566 kg/m3 และ 1,955 kg/m3


2 : 1,566 kg/m3 และ 1,965 kg/m3
3 : 1,555 kg/m3 และ 1,955 kg/m3
4 : 1,555 kg/m3 และ 1,965 kg/m3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 127 :
ดินเหนียวชนิดหนึงมีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั ต่อไปนี LL = 50, PI = 25, wn = 54% ตัวอย่างดินเหนียวชนิดเดียวกันนีแบบ Undisturbed ควรจะมี Undrained shear strength
ประมาณเท่าไร

1 : 0.03 t/m2
2 : 3 t/m2
3 : 30 t/m2
4 : ไม่มขี ้อใดถูกต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 128 :
การทดสอบความหนาแน่นดินในสนามของงานก่อสร ้างถนนโดยวิธก ี รวยทรายได ้ผลการทดสอบดังนี นน.มวลดินเปี ยกทีขุดออกจากหลุม = 1,942 g, นน.มวล
ทรายทีใช ้เติมเต็มหลุมและกรวยทดสอบ = 2,744 g, ความหนาแน่นของทรายทีใช ้ = 1.60 g/cm3, นน.มวลของทรายทีใช ้เติม = 1,289.7 g, นน.อบแห ้งของมวลดิน
ทีขุดออกมา = 1,708.7 g, เมือดินมีความหนาแน่นแห ้งสูงสุด(ในห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร) = 1,950 kg/m3. จงหาความหนาแน่นแห ้ง และ การบดอัดสัมพัทธ์

1 : 1.88 g/cm3 และ 93.4%


2 : 1.98 g/cm3 และ 93.4%
3 : 1.88 g/cm3 และ 96.4%
4 : 1.98 g/cm3 และ 96.4%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 129 :
ตะแกรงเบอร์ใดใช ้ในการจําแนกกรวด (gravel) และทราย (sand)

1 : #4
2 : #10
3 : #40
4 : #200
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 130 :
ดินชนิดใดมีสว่ นคละดีทสุ
ี ด

1 : GW
2 : GP
3 : SP
4 : CH
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 131 :
ดินทีมีขนาดคละกันดีจะมีคา่ Coefficient of curvature (Cc) อยูใ่ นช่วงใด

1 : 1-2
2 : 1-3
3 : 2-3
4 : 2-4
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 132 :
การเก็บตัวอย่างทรายละเอียดควรใช ้อุปกรณ์ชนิดใดในการเก็บตัวอย่าง

1 : Sherby Tube
2 : Vane shear

3 : Thin wall Tube


4 : Split-Spoon Sampler
5 : ได ้ทุกชนิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 133 :
ข ้อใด ถูกต ้องทีสุด เกียวกับค่าอัตราส่วนช่องว่างของมวลดิน ?

1 : หมายถึง อัตราส่วนระหว่างปริมาตรของช่องว่างมวลอากาศในดิน ต่อปริมาตรมวลเม็ดดิน


2 : แทนด ้วย e และสามารถวัดได ้ด ้วยเครืองมือในห ้องปฐพีกลศาสตร์โดยตรง
3 : เมือมวลดินอิมตัวด ้วยนํ า อัตราส่วนช่องว่าง=ปริมาณนํ าในมวลดินx specific gravity
4 : เป็ นคุณสมบัตพ
ิ นฐานของดิ
ื นประเภทเม็ดละเอียด เช่น ดินเหนียว และดินทรายแป้ ง เท่านัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 134 :
ข ้อใด มิได ้บ่งบอกตัวพา(tranportation agent) ทีแสดงถึงลักษณะของการกําเนิดดิน ?

1 : Alluvial Soils
2 : Sand Dunes
3 : Expansive Clay
4 : Peat
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 135 :
ดินชนิดหนึง ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 มากกว่า 50% มีคา่ LL = 40 % PI =20 % ดินชนิดนีเป็ นดินประเภทใด

1 : Gravel
2 : Sand
3 : Silt
4 : Clay
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 136 :
ดินมีคา่ ความหนาแน่นอิมตัว 2 ตัน/ลบ.ม จงหาค่าหน่วยแรงประสิทธิผล(Effective stress) ทีความลึก 5 เมตร เมือระดับนํ าอยูท
่ ผิ
ี วดิน

1 : 10 ตัน/ลบ.ม
2 : 5 ตัน/ลบ.ม
3 : 2.5 ตัน/ลบ.ม
4 : 0.4 ตัน/ลบ.ม
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 137 :
ตะแกรงเบอร์ใดใช ้ในการจําแนกกรวด(gravel)และทราย (sand)

1 : #4
2 : #10
3 : #40
4 : #100
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 138 :
ี ราย Ottawa จะใช ้ทรายขนาดใดแทนได ้
ในการทดสอบ Field density ถ ้าไม่มท

1 : ทรายแม่นําเม็ดหยาบ
2 : ทรายบกเม็ดหยาบ
3 : ทรายถมเม็ดละเอียด
4 : ทรายทีมีขนาดเม็ดสมําเสมอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 139 :
ดินชนิดใดมีสว่ นคละดีทสุ
ี ด

1 : GW
2 : GP
3 : CL
4 : CH
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 140 :
ดินทีมีขนาดคละกันดีจะมีคา่ Coefficient of curvature (Cc) อยูใ่ นช่วงใด

1 : 1-3
2 : 1-4
3 : 2-3
4 : 2-4
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 141 :
การเก็บตัวอย่างทรายควรใช ้อุปกรณ์ชนิดใดในการเก็บตัวอย่าง

1 : Sherby Tube
2 : Thick wall Tube
3 : Thin wall Tube
4 : Split-Spoon
5 : ได ้ทุกชนิด
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 142 :
จงหาความหนาแน่นอิมตัวของดินทราย

1 : ก. 1.5 Mg/m3
2 : ข. 1.62 Mg/m3
3 : ค. 1.78 Mg/m3
4 : ง. 1.85 Mg/m3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 143 :
จงประมาณหาพลังงานต่อปริมาตรในการบดอัดแบบ Standard Proctor Test โดยมี mold ขนาดเส ้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิว สูง 4.58 นิว ใช ้ตุ ้มหนัก 5.5 ปอนด์ ยกสูง 12
นิว บดอัด 3 ชัน ชันละ 25 ครัง

1 : 12,375 (ft. Ibf)/ft3


2 : 592.7 (ft. Ibf)/ft3
3 : 24,750 (ft. Ibf)/ft3
4 : 1,085.4 (ft. Ibf)/ft3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 144 :
จากผลการทดสอบจําแนกดินด ้วยระบบ Unified soil classification ดินชนิดใดเหมาะสมทีจะนํ าไปทําแกนเขือนทึบนํ าทีสุด

1 : GW
2 : SP
3 : CL
4 : SW
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 145 :
ตัวอย่ างดินทีอิมตัวด้ วยนําตัวอย่ างหนึงมีค่าหน่ วยนําหนักเท่ ากับ 20 kN/m3 ถ้ าตัวอย่ างดินถูกทําให้ แห้ งโดยคงปริ มาตรตัวอย่ างไว้ เท่ าเดิม จงหาหน่ วยนําหนักแห้ ง
ของดินตัวอย่ างเมือสมมุติว่าค่ าความถ่ วงจําเพาะของดินนีเท่ ากับ 2.7

1 : 14.5 kN/m3
2 : 15.8 kN/m
3
3 : 16.7 kN/m
3
4 : 17.7 kN/m
3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 146 :
ตัวอย่ างดินทีอิมตัวด้ วยนําตัวอย่ างหนึงมีค่าหน่ วยนําหนักเท่ ากับ 21 kN/m3 ถ้ าตัวอย่ างดินถูกทําให้ แห้ งโดยคงปริ มาตรตัวอย่ างไว้ เท่ าเดิม จงหาหน่ วยนําหนักแห้ ง
ของดินตัวอย่ างเมือสมมุติว่าค่ าความถ่ วงจําเพาะของดินนีเท่ ากับ 2.7

1 : 14.8 kN/m3
2 : 16.2 kN/m
3
3 : 17.8 kN/m
3
4 : 18.0 kN/m
3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 147 :
ตัวอย่ างดินทีอิมตัวด้ วยนําตัวอย่ างหนึงมีค่าหน่ วยนําหนักเท่ ากับ 21 kN/m3 ถ้ าตัวอย่ างดินถูกทําให้ แห้ งโดยคงปริ มาตรตัวอย่ างไว้ เท่ าเดิม จงหาหน่ วยนําหนักแห้ ง
ของดินตัวอย่ างเมือสมมุติว่าค่ าความถ่ วงจําเพาะของดินนีเท่ ากับ 2.65

1 : 14.5 kN/m3
2 : 15.8 kN/m
3
3 : 16.7 kN/m
3
4 : 18.7 kN/m
3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 148 :
ตัวอย่ างดินทีอิมตัวด้ วยนําตัวอย่ างหนึงมีค่าหน่ วยนําหนักเท่ ากับ 19 kN/m3 ถ้ าตัวอย่ างดินถูกทําให้ แห้ งโดยคงปริ มาตรตัวอย่ างไว้ เท่ าเดิม จงหาหน่ วยนําหนักแห้ ง
ของดินตัวอย่ างเมือสมมุติว่าค่ าความถ่ วงจําเพาะของดินนีเท่ ากับ 2.65

1 : 14.5 kN/m3
2 : 15.8 kN/m
3
3 : 16.7 kN/m
3
4 : 17.7 kN/m
3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 149 :
จงจําแนกชนิดของดินตามคุณสมบัติทีกําหนดให้

1 : SM
2 : CH
3 : ML
4 : SC
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 150 :
จงจําแนกชนิดของดินตามคุณสมบัติทีกําหนดให้
1 : SM
2 : CH
3 : ML
4 : SC
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 151 :
จากรู ป Phase diagram กําหนด W = 346 gm Ws = 284 gm ถพ. = 2.70 ความหนาแน่ น = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาค่ า degree of saturation และ porosity

1 : 29%, 35%
2 : 74%, 43%
3 : 62%, 40%
4 : 77%, 43%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 152 :
จากรู ป Phase diagram กําหนด W = 300 gm Ws = 284 gm ถพ. = 2.70 ความหนาแน่ น = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาค่ า degree of saturation และ porosity

1 : 29%, 35%
2 : 74%, 43%
3 : 62%, 40%
4 : 77%, 43%
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 153 :
จากรู ป Phase diagram กําหนด W = 300 gm Ws = 260 gm ถพ. = 2.70 ความหนาแน่ น = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาค่ า degree of saturation และ porosity
1 : 29%, 35%
2 : 74%, 43%
3 : 62%, 40%
4 : 77%, 43%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 154 :
จากรู ป Phase diagram กําหนด W = 320 gm Ws = 265 gm ถพ. = 2.70 ความหนาแน่ น = 1.86 gm/cc จงคํานวณหาค่ า degree of saturation และ porosity

1 : 74%, 43%

2 : 62%, 40%

3 : 77%, 43%

4 : 29%, 35%

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 155 :
ดินแห้ งมี Gs = 2.70 ผสมนําทําให้ มปี ริ มาณความชื น 16 % ถูกบดอัดลงในแบบรู ปทรงกระบอกขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 38 มม. ยาว 76 มม. ปริ มาณอากาศ 6 % จง
คํานวณหาค่ า มวลของดินทีอยุ่ในแท่ งดินรู ปทรงกระบอก

1 : 163 gm.
2 : 177 gm.
3 : 158 gm.
4 : 183 gm.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 156 :
ดินแห้ งมี Gs = 2.70 ผสมนําทําให้ มปี ริ มาณความชื น 25 % ถูกบดอัดลงในแบบรู ปทรงกระบอกขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 38 มม. ยาว 76 มม. ปริ มาณอากาศ 6 % จง
คํานวณหาค่ า มวลของดินทีอยุ่ในแท่ งดินรู ปทรงกระบอก

1 : 163 gm.
2 : 177 gm.
3 : 158 gm.
4 : 183 gm.
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 157 :
ดินแห้ งมี Gs = 2.65 ผสมนําทําให้ มปี ริ มาณความชื น 10 % ถูกบดอัดลงในแบบรู ปทรงกระบอกขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 38 มม. ยาว 76 มม. ปริ มาณอากาศ 8 % จง
คํานวณหาค่ า มวลของดินทีอยุ่ในแท่ งดินรู ปทรงกระบอก

1 : 163 gm.
2 : 177 gm.
3 : 158 gm.
4 : 183 gm.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 158 :
ตัวอย่ างดินชื นหนัก 2.0 กรั ม เมืออบจนแห้ งดินหนัก 1.8 กรั ม จงหาปริ มาณความชื นของดิน

1 : 16%
2 : 17%
3 : 11%
4 : 22%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 159 :
ตัวอย่ างดินชื นหนัก 2.2 กรั ม เมืออบจนแห้ งดินหนัก 1.8 กรั ม จงหาปริ มาณความชื นของดิน

1 : 16%
2 : 17%
3 : 11%
4 : 22%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 160 :
ตัวอย่ างดินชื นหนัก 2.1 กรั ม เมืออบจนแห้ งดินหนัก 1.8 กรั ม จงหาปริ มาณความชื นของดิน

1 : 15.5%
2 : 16.7%
3 : 17.5%
4 : 18.7%
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 161 :
ตัวอย่ างดินชื นหนัก 2.2 กรั ม เมืออบจนแห้ งดินหนัก 1.9 กรั ม จงหาปริ มาณความชื นของดิน

1 : 16%
2 : 17%
3 : 11%
4 : 22%
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 162 :
ดินตัวอย่ างมีขนาดเม็ดโตสุด 2 มม. และมีขนาดเล็กสุด 0.075 มม. ดินตัวอย่ าง เป็ นดินประเภทใด

1:G
2:S
3:M
4:C
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 546 : Permeability, stresses in a soil mass, stress-strain and shear strength properties of cohesive and cohesionless soils

ข ้อที 163 :
จงใช ้กฏของดาร์ซห
ี าค่าความเร็วของนํ าผ่านท่อทีมีทรายอยูเ่ ต็ม ดังแสดงในรูป กําหนดให ้ทรายในท่อมีคา่ สัมประสิทธิการซีมผ่านของนํ าเท่ากับ 10 ไมโครเมตร
ต่อวินาที

1 : 2.5 mm/s
2 : 5.0 mm/s
3 : 7.5 mm/s
4 : 10.0 mm/s
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 164 :
การทดสอบหาค่าสัมประสิทธิการซึม (coefficient of permeability, k) ของดินทรายแหล่งหนึง ในห ้องปฏิบต ั ก
ิ าร โดยวิธเี ฮดคงที (Constant head) ซึงมีข ้อมูลดังนี
ตัวอย่างดินมีขนาด ความสูง 6 cm พืนทีหน ้าตัด 50 cm2 วัดปริมาณนํ าทีไหลซึมตัวอย่างใน 10 นาที ได ้ปริมาตรนํ า 430 cm3 การไหลอยูส ่ ภาวะความสูง (Head)
คงทีเท่ากับ 40 cm จงคํานวณหาค่าสัมประสิทธิการซึม ในหน่วย cm/sec

1 : 1.15 x 10-2
2 : 2.15 x 10-2
3 : 1.15 x 10-3
4 : 2.15 x 10-3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 165 :
จงพิจารณาข ้อความต่อไปนี

1 : ข ้อ a ถูกต ้อง
2 : ข ้อ b ถูกต ้อง
3 : ข ้อ c ถูกต ้อง
4 : ข ้อ d ถูกต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 166 :
มวลดินก ้อนหนึง อยูใ่ นชันดินเหนียวล ้วนในตําแหน่งทีลึกจากผิวดิน 5 เมตร หน่วยนํ าหนักรวมของดินมีคา่ เท่ากับ 18 kN/m3 และ หน่วยนํ าหนักของนํ ามีคา่ เท่ากับ
10 kN/m3 ระดับนํ าใต ้ดินอยูต ่ ํากว่าผิวดิน 1.5 m จงคํานวณค่าหน่วยแรงรวมในแนวราบ (horizontal total stress) ของมวลดินก ้อนนี ถ ้าสัมประสิทธิแรงดันดินด ้าน
ข ้าง (coefficient of lateral earth pressure) มีคา่ เท่ากับ 0.6

1 : 35 kN/m2
2 : 68 kN/m2
3 : 89kN/m2
4 : 90 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 167 :
มวลดินก ้อนหนึง อยูใ่ นชันดินเหนียวล ้วนในตําแหน่งทีลึกจากผิวดิน 5 เมตร หน่วยนํ าหนักของดินมีคา่ เท่ากับ 18 kN/m3 และ หน่วยนํ าหนักของนํ ามีคา่ เท่ากับ 9.8
kN/m3 ระดับนํ าใต ้ดินอยูต
่ ํากว่าผิวดิน 1.5 m จงคํานวณค่าหน่วยแรงประสิทธิผลแนวดิงสูงสุดในอดีต (maximum past stress) ของมวลดินก ้อนนี ถ ้าอัตราส่วนการ
อัดตัวคายนํ า (overconsolidation ratio, OCR) มีคา่ เท่ากับ 1.5

1 : 124.3 kN/m2
2 : 90.0 kN/m2
3 : 83.6 kN/m2
4 : 55.7 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 168 :
จงคํานณค่าหน่วยแรงทีเพิมมากขึนในมวลดินเฉพาะในแนวดิง ณ ตําแหน่งทีอยูล
่ ก
ึ ลงไปจากผิวดิน 4 เมตร เมือมีนําหนักแบบจุด (point load) ทีมีคา่ เท่ากับ 200
ตัน กระทําห่างจากจุด A ในแนวราบ 3 เมตร โดยที
1 : 25.15 ตัน/ตร.ม
2 : 5.97 ตัน/ตร.ม
3 : 1.96 ตัน/ตร.ม
4 : ข ้อมูลไม่เพียงพอ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 169 :
มวลดินอิมตัวด ้วยนํ า อยูใ่ นชันดินเหนียวล ้วนในตําแหน่งทีลึกจากผิวดิน 5 เมตร ต่อมามีหน่วยแรงภายนอกมากระทําแบบรวดเร็ว เป็ นผลทําให ้หน่วยแรงรวมใน
แนวดิงและราบของดินมีคา่ เพิมขึนเท่ากับ 15 kN/m2 และ 10 kN/m2 ตามลําดับและก่อให ้เกิดแรงดันนํ าเพิมขึนอย่างกระทันหันเป็ นความสูง 2 เมตร จงหาค่า
พารามิเตอร์ A (Skempton’s pore pressure parameter) ถ ้าหน่วยนํ าหนักของนํ ามีคา่ เท่ากับ 9.8 kN/m3

1 : 1.96
2 : 0.78
3 : 1.31
4 : 1.92
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 170 :
จากผลการทดสอบทะลุทะลวงมาตรฐาน (Standard Penetration Test, SPT) ด ้วยการตอกให ้จมครังละ 6 นิว ได ้ผลการนับครังในการตอกดังตารางข ้างล่าง จง
คํานวณหาค่า N

1 : 15
2 : 22
3 : 25
4 : 27
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 171 :
ข ้อใดเป็ นผลทีได ้จากการทดสอบ Cone Penetration Test (CPT)

1 : แรงแบกทานของดิน (end bearing resistance)


2 : แรงเสียดทาน (friction resistance)
3 : แรงดันนํ าใต ้ดิน (water pressure)
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 172 :
ี ารทดสอบในข ้อใด ทีไม่สามารถใช ้หาค่ากําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ า (undrained shear strength)ของดินได ้
อุปกรณ์การทดสอบหรือวิธก
1 : การทดสอบแบบเฉือนโดยตรง (direct shear test)
2 : การทดสอบการยุบตัวหนึงมิต ิ (oedometer หรือ consolidation test)
3 : การทดสอบแบบมีแรงอัดสามแกน (triaxial test)
4 : การทดสอบโดยใช ้ใบมีดมาตรฐาน (vane shear test)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 173 :
การทดสอบหากําลังรับแรงเฉือนของดินทรายอัดแน่น (Direct Shear) โดยใช ้กล่องทดสอบขนาด 10 x 10 cm เมือใส่แรงกระทําแนวดิง (normal load) 200 กก.
กระทําคงทีตลอดการทดสอบ พบว่าวัดค่าแรงเฉือนสูงสุด (peak shear load) มีคา่ เท่ากับ 183 กก. จงหาค่ามุมของแรงเสียดทานภายใน (Angle of Internal
Friction)

1 : 28 องศา
2 : 35 องศา
3 : 42.5 องศา
4 : 47.5 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 174 :
จากผลการทดสอบแบบไม่มแ ี รงอัดรอบข ้าง (unconfined compression test) ของดินจากแหล่งดินแห่งหนึง ได ้ค่า qu = 10 t/m2 ถ ้านํ าตัวอย่างดินจากแหล่งนีไป
ทดสอบแบบแรงอัดสามแกนชนิดไม่ระบายนํ า (consolidated undrained triaxial compression test, CU-Test) จะได ้ผลของค่ากําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ า
(undrained shear strength) เท่าใด

1 : มากกว่า 10 t/m2
2 : 10 t/m2
3 : 5 t/m2 หรือมากกว่า 5 t/m2
4 : น ้อยกว่า 5 t/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 175 :
จากผลการทดสอบแบบแรงอัดสามแกนชนิดไม่ระบายนํ า (unconsolidated undrained triaxial compression test, UU-Test) จงหาค่ากําลังรับแรงเฉือนแบบไม่
ระบายนํ า (undrained shear strength) เมือความสูงและเส ้นผ่าศูนย์กลางของตัวอย่างก่อนการทดสอบคือ 76mm และ 38mm ตามลําดับ โดยผลการทดสอบทีจุด
วิบตั ม
ิ ค
ี า่ ตามตารางข ้างล่างนี

1 : 292 kN/m2
2 : 248 kN/m2
3 : 146 kN/m2
4 : 124 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 176 :
จากสมการทีกําหนดให ้สําหรับการหาค่าหน่วยแรงทีระดับความลึก z ภายใต ้จุดศูนย์กลางของแรงกระทําบนพืนทีวงกลมทีมีรัศมี R ดังแสดงในรูป ก) จงหาค่า
หน่วยแรงทีระดับความลึก 2.5 ม. ภายใต ้เงือนไขในรูป ข)

1 : 1.52 t/sq.m.
2 : 4.55 t/sq.m.
3 : 6.83 t/sq.m.
4 : 9.11 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 177 :
จงพิจารณาข ้อความต่อไปนี

1 : ถูกทุกข ้อ
2 : ถูกสามข ้อ
3 : ถูกสองข ้อ
4 : ถูกหนึงข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 178 :
มวลดินก ้อนหนึง อยูใ่ นชันดินเหนียวล ้วนลึกจากผิวดิน 5 เมตร หน่วยนํ าหนักของดินมีคา่ เท่ากับ 18 kN/m3 และ หน่วยนํ าหนักของนํ ามีคา่ เท่ากับ 9.8 kN/m3 ระดับ
่ ํากว่าผิวดิน 1.5 m ถ ้าพารามิเตอร์สําหรับกําลังแรงเฉือนของมอร์-คูลอมป์ (Mohr-Coulomb shear strength parameters) มีคา่ คือ c = 5 kN/m2 และ phi
นํ าใต ้ดินอยูต
= 28 องศา ให ้ประมาณค่ากําลังรับแรงเฉือนแบบระบายนํ า (drained shear strength) ของมวลดินก ้อนนี

1 : 51 kN/m2
2 : 48 kN/m2
3 : 35 kN/m2
4 : 32 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 179 :
ในการวิเคราะห์เสถียรภาพงานขุดในชันดินเหนียว เราควรใช ้ Parameters จากการทดสอบประเภทใด

1 : Unconfined Compression Test


2 : Triaxial Test - Unconsolidated Undrained
3 : Vane Shear Test
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 180 :
ระดับนํ าเหนือเขือนทีเพิมขึนมีผลต่อ Flow Net อย่างไร

1 : Flow Line ยาวขึน


2 : Flow Net ไม่เปลียนแปลง
3 : จํานวน Equipotential Line เพิมขึน
4 : จํานวน Equipotential Line ไม่เปลียนแปลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 181 :
ในกรณีทมีี นําหนักแผ่สมําเสมอกระทําลงบนผิวดินภายในพืนทีทีได ้แสดงไว ้ จงหาว่าทีระดับลึกลงใต ้ผิวดิน 4 เมตร หน่วยแรงจะมีคา่ ลดลงเหลือประมาณร ้อยละ
เท่าใดเทียบกับขนาดของนํ าหนักแผ่ทผิี วดิน

1 : ประมาณร ้อยละ 20
2 : ประมาณร ้อยละ 40
3 : ประมาณร ้อยละ 60
4 : ประมาณร ้อยละ 80
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 182 :
ดินชนิดหนึงมีคา่ ความถ่วงจําเพาะ 2.68 และอัตราส่วนช่องว่าง 0.65 อยากทราบว่ามีคา่ ความลาดวิกฤตเชิงชลศาสตร์ Critical Hydrualic Gradient) เท่าไร

1 : 1.02
2 : 4.12
3 : 5.66
4 : 0.24
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 183 :
ี นถมหลังกําแพงกันดินเป็ นแบบเอียงจะใช ้ทฤษฎีใดในการวิเคราะห์
ในกรณีทดิ

1 : Columb
2 : Rankine
3 : Terzaghi
4 : Mohr
5 : ได ้ทุกวิธ ี
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 184 :
วิธกี ารใดใช ้ในการวิเคราะห์หาแรงดันด ้านข ้างของดินโดยวิธก
ี ราฟฟิ ค โดยสามเหลียมแทนแรง

1 : Columb
2 : Rankine
3 : Terzaghi
4 : Mohr
5 : Culmann
คําตอบทีถูกต ้อง : 5

ข ้อที 185 :
แรงดันดินด ้านข ้างทีกระทําต่อโครงสร ้างกําแพงกันดินเมือให ้กําแพงกันดินเกิดการเคลือนทีหนีจากดินทีกันไว ้เรียกว่า

1 : Earth pressure at rest


2 : Active Earth pressure
3 : Passive Earth pressure
4 : Overturning Moment
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 186 :
Newmark’s Chart ใช ้ในการคํานวณหาสิงใด

1 : การกระจายหน่วยแรงในดิน
2 : ตาข่ายการไหลของนํ าในดิน
3 : ความสามารถในการซึมนํ า
4 : การทรุดตัว
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 187 :
จากรูป ค่าความเค ้นประสิทธิผล (Effective Stress) ทีจุด A มีคา่ เท่าไร

1 : -50 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
2 : 0 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
3 : 10 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
4 : 20 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 188 :
การไหลของนํ าผ่านชันดินจะเร็วหรือช ้า ขึนอยูก
่ บ
ั องค์ประกอบหลักข ้อใด

1 : แนวทีแสดงการไหลของนํ า (Flow line)


2 : ผลต่างของพลังงานระหว่างจุด 2 จุดทีนํ าไหล
3 : ทิศทางการไหลของนํ า
4 : ผิดทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 189 :
จากรูปการทดสอบการไหลของนํ าผ่านชันดินแบบ Constant head จงหาความเร็วของนํ า (Seepage velocity) ทีไหลผ่านชันดิน

1 : 0.360 cm/sec.
2 : 0.054 cm/sec.
3 : 0.090 cm/sec.
4 : 0.216 cm/sec.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 190 :
จากรูปจงหา Seepage pressure ทีจุด A, กําหนดให ้หน่วยนํ าหนักของนํ า = 9.81 kN/m3

1 : 2.94 kN/m2
2 : 3.92 kN/m2
3 : 6.87 kN/m2
4 : 9.81 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 191 :
จากรูปจงหา Effective stress ทีจุด A เมือมีการไหลของนํ า, กําหนดให ้หน่วยนํ าหนักของนํ า = 9.81 kN/m3

1 : 0.82 kN/m2
2 : 2.94 kN/m2
3 : 3.76 kN/m2
4 : 7.68 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 192 :
จากรูปเป็ นหน่วยแรงทีกระทํากับดิน จงหาหน่วยแรงในระนาบทีเอียง 35 deg. กับแนวราบ

1 : Normal stress = 22.5 MPa Shear stress = 5.5 MPa


2 : Normal stress = 35.5 MPa Shear stress = 5.0 MPa
3 : Normal stress = 40.5 MPa Shear stress = 4.5 MPa
4 : Normal stress = 44.5 MPa Shear stress = 4.0 MPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 193 :

1 : C = 10 kN/m2 Phi = 10 deg.


2 : C = 25 kN/m2 Phi = 10 deg.
3 : C = 40 kN/m2 Phi = 20 deg.
4 : C = 55 kN/m2 Phi = 20 deg.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 194 :
การทดสอบหาค่าคุณสมบัตใิ นการรับแรงเฉือนของดินในสนามคือ

1 : Vane shear test


2 : Direct shear test
3 : Triaxial test
4 : Unconfined Compression test
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 195 :
จงหาปริมาณการไหลผ่านชันทรายทีได ้แสดงไว ้ กําหนดให ้นํ าไหลตามแนวเอียงของชันทราย

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 196 :
จงหาค่าสัมประสิทธิการไหลของนํ าในชันดินทีได ้แสดงไว ้ หากปริมาณการสูบออกทีสภาพสมดุลย์มค
ี า่ เท่ากับ 200 ลบ.ม.ต่อวัน
1 : 0.14 m/day
2 : 0.24 m/day
3 : 0.29 m/day
4 : 0.35 m/day
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 197 :
จากผลการทดสอบหาสปส.ความซึมได ้แบบ Variable head พบว่าระดับนํ าลดจาก H1 = 20 ซม.ไปเป็ น H2 = 10 ซม. ในเวลา 3 วัน โดยความสูงของชันดิน L มีคา่
เท่ากับ 10 ซม. จงหาค่าสปส.ความซึมได ้ของตัวอย่างดินชนิดนี

1 : 0.69 cm/days
2 : 1.44 cm/days
3 : 2.31 cm/days
4 : 3.32 cm/days
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 198 :
ในการทดลอง Unconfined compression test กับตัวอย่างดินเส ้นผ่านศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร สูง 8 เซนติเมตร ค่าแรงกดในขณะทีตัวอย่างดินวิบต
ั เิ ท่ากับ 145 นิว
ตัน โดยทําให ้แท่งตัวอย่างยุบตัว 1.2 เซนติเมตร ค่า Undrained shear strength ของดินนีมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 49 kN/sq.m
2 : 57.5 kN/sq.m
3 : 98 kN/sq.m
4 : 115 kN/sq.m
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 199 :
ในการทดลอง Unconfined compression test กับตัวอย่างดินเส ้นผ่านศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร สูง 8 เซนติเมตร ค่าแรงกดในขณะทีตัวอย่างดินวิบต
ั เิ ท่ากับ 150 นิว
ตัน โดยทําให ้แท่งตัวอย่างยุบตัว 1.2 เซนติเมตร ค่า Unconfined compressive strength ของดินนีมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 50.6 kN/sq.m
2 : 59.5 kN/sq.m
3 : 101.3 kN/sq.m
4 : 119 kN/sq.m
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 200 :
ถ ้านํ าดินเหนียวทีมีคา่ กําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ าเท่ากับ 10 t/sq.m. ไปทดสอบด ้วยเครืองอัดสามแกนวิธ ี Unconsolidated-Undrained test โดยใช ้แรงดัน
เซลล์เท่ากับ 10 t/sq.m. ตัวอย่างดินจะวิบต ั เมือมีหน่วยแรงตามแนวแกนเท่ากับเท่าใด

1 : 10 t/sq.m.
2 : 20 t/sq.m.
3 : 30 t/sq.m.
4 : 40 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 201 :
ถ ้านํ าดินเหนียวไปทดสอบด ้วยเครืองอัดสามแกนวิธ ี Unconsolidated-Undrained test โดยใช ้แรงดันเซลล์เท่ากับ 7.5 t/sq.m. พบว่าหน่วยแรงวิบต
ั ใิ นแนวดิงเท่ากับ
27.5 t/sq.m. ดินเหนียวนีจะมีกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ าเท่าใด

1 : 10 t/sq.m.
2 : 17.5 t/sq.m.
3 : 20 t/sq.m.
4 : 27.5 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 202 :
ถ ้านํ าดินเหนียวทีมีคา่ กําลังรับแรงอัดแกนเดียวเท่ากับ 10 t/sq.m. ไปทดสอบด ้วยเครืองอัดสามแกนวิธ ี Unconsolidated-Undrained test โดยใช ้แรงดันเซลล์
เท่ากับ 20 t/sq.m. ตัวอย่างดินจะวิบต ั เมือมีหน่วยแรงตามแนวแกนเท่ากับเท่าใด

1 : 25 t/sq.m.
2 : 30 t/sq.m.
3 : 35 t/sq.m.
4 : 40 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 203 :
ถ ้านํ าตัวอย่างทรายทีไม่มค
ี า่ Cohesion ไปทดสอบในเครืองอัดสามแกนแล ้วพบว่า ตัวอย่างดินวิบต
ั เิ มือหน่วยแรงตามแนวแกนมีคา่ เท่ากับ 20 t/sq.m. ภายใต ้แรง
ดันเซลล์ 10 t/sq.m. จงหาค่าองศาแห่งความเสียดทานของตัวอย่างดินนี

1 : 14.5 องศา
2 : 21.2 องศา
3 : 19.47 องศา
4 : 26.56 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 204 :
ถ ้านํ าตัวอย่างทรายทีมีคา่ Cohesion เท่ากับ 1 t/sq.m. ไปทดสอบในเครืองอัดสามแกนแล ้วพบว่า ตัวอย่างดินวิบต
ั เิ มือหน่วยแรงตามแนวแกนมีคา่ เท่ากับ 15
t/sq.m. ภายใต ้แรงดันเซลล์ 5 t/sq.m. จงหาค่าองศาแห่งความเสียดทานของตัวอย่างดินนี

1 : 12.5 degree
2 : 24.5 degree
3 : 36.5 degree
4 : 42.5 degree
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 205 :
ชันดินบริเวณหนึงแสดงดังรูป ถ ้าค่าหน่วยนํ าหนักของนํ าเท่ากับ 9.81 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความเค ้นประสิทธิผล (Effective stress) ทีจุด A

1 : 58.94 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
2 : 63.84 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
3 : 68.75 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
4 : 78.56 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 206 :
ชันดินบริเวณหนึงแสดงดังรูป ถ ้าค่าหน่วยนํ าหนักของนํ าเท่ากับ 9.81 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความเค ้นประสิทธิผล (Effective stress) ทีจุด A

1 : 0 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
2 : 76.38 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
3 : 105.81 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
4 : 135.42 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 207 :
ชันดินบริเวณหนึงแสดงดังรูป ถ ้าค่าหน่วยนํ าหนักของนํ าเท่ากับ 9.81 กิโลนิวตันต่อลูกบาศก์เมตร จงหาค่าความเค ้นประสิทธิผล (Effective stress) ทีจุด A

1 : 107.82 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
2 : 137.25 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
3 : 176.49 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
4 : 215.73 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 208 :

1 : 145.5 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
2 : 152.8 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
3 : 280 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
4 : 295 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 209 :

1 : 26.4 องศา
2 : 32.8 องศา
3 : 45 องศา
4 : 51.7 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 210 :

1 : 26.4 องศา
2 : 32.8 องศา
3 : 45 องศา
4 : 58.2 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 211 :
จงใช ้กฏของดาร์ซห
ี าค่าความเร็วของนํ าผ่านท่อทีมีทรายอยูเ่ ต็ม ดังแสดงในรูป กําหนดให ้ทรายในท่ออยูม
่ ส ิ
ั ประสิทธิการซีมผ่านของนํ าเท่ากับ 1มิลลิเมตรต่อ
ี ม
วินาที

1 : 35.4 mm/s
2 : 70.7 mm/s
3 : 141.4 mm/s
4 : 200 mm/s
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 212 :
ในกรณีทมี
ี นําหนักแผ่สมําเสมอกระทําลงบนผิวดินภายในพืนทีทีได ้แสดงไว ้ จงหาว่าทีระดับลึกลงใต ้ผิวดิน 4 เมตร หน่วยแรง ณ ตําแหน่งทีมีลก
ู ศรชีจะมีคา่ ลดลง
เหลือประมาณร ้อยละเท่าใดเทียบกับขนาดของนํ าหนักแผ่ทผิ
ี วดิน

1 : ประมาณร ้อยละ 12.5


2 : ประมาณร ้อยละ 25
3 : ประมาณร ้อยละ 37.5
4 : ประมาณร ้อยละ 50
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 213 :
ชันดินทรายหนา 1 เมตร ซึงตรวจสอบให ้ละเอียดพบว่ามีชนดิั นเหนียวบางหนา 1 เซนติเมตร แทรกอยูท ่ กึ
ี งกลาง จงคํานวณค่าสัมประสิทธิการไหลซึมผ่านของนํ า
ในแนวดิง สมมติวา่ ค่าสัมประสิทธิการไหลซึมผ่านของนํ าในดินทรายและดินเหนียวเท่ากับ 1x10-3 และ 1x10-7 cm/sec ตามลําดับ

1 : 10-3 เซนติเมตรต่อวินาที
2 : 10-4 เซนติเมตรต่อวินาที
3 : 10-5 เซนติเมตรต่อวินาที
4 : 10-6 เซนติเมตรต่อวินาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 214 :
1 : 15 องศา
2 : 30 องศา
3 : 45 องศา
4 : 60 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 215 :

1 : 63 N
2 : 65 N
3 : 126 N
4 : 128 N
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 216 :
จาก Flow net ของเขือนดังรูป ค่า Total head ทีจุด A จะมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 4.05 เมตร
2 : 6.5 เมตร
3 : 12.95 เมตร
4 : 17.0 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 217 :
จาก Flow net ของเขือนดังรูป ค่า Total head ทีจุด A จะมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 3.64 เมตร
2 : 7.04 เมตร
3 : 10.5 เมตร
4 : 13.4 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 218 :
จาก Flow net ดังรูป ค่าPressure head ทีจุด A จะมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด ถ ้าระยะจากจุด A ถึง Datum เท่ากับ 7 เมตร

1 : 5.95 เมตร
2 : 10.5 เมตร
3 : 12.95 เมตร
4 : 15.02 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 219 :
จาก Flow net ดังรูป ค่าPressure head ทีจุด A จะมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด ถ ้าระยะจากจุด A ถึง Datum เท่ากับ 3 เมตร
1 : 2.84 เมตร
2 : 3.65 เมตร
3 : 10.40 เมตร
4 : 13.75 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 220 :
ดินก ้อนหนึงมีความพรุน ( Porosity ) เท่ากับ 35% จงหาค่าอัตราส่วนช่องว่าง ( Void Ratio )

1 : 0.65
2 : 0.54
3 : 0.43
4 : 0.32
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 221 :
นํ าไหลซึมผ่านในแนวตังฉากกับการเรียงตัวของชันดิน (Stratification ) ชันดินเรียงซ ้อนกันอยู่ 3 ชัน แต่ละชันมีความหนาและค่าสัมประสิทธิความซึมได ้ k ดัง
แสดงในรูป ค่าสัมประสิทธิความซึมได ้รวม k T มีคา่ เท่าไร

1 : 0.0001 cm/sec
2 : 0.0036 cm/sec
3 : 0.0136 cm/sec
4 : 0.1360 cm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 222 :
ในการทดลอง Direct Shear Test ของดินชนิดหนึง เมือใช ้ Normal Stress เท่ากับ 20 ksc ดินเกิดการพิบต ั เิ มือ Shear Stress เท่ากับ 13.888 ksc ถ ้าใช ้ Normal
Stress เท่ากับ 40 ksc ดินจะเกิดการพิบต
ั เิ มือ Shear Stress เท่ากับ 24.444 ksc จงหา Mohr-Coumb Equation ของดินนี

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 223 :
องค์ประกอบใดทีไม่มผ
ี ลต่อค่าสัมประสิทธิของการซึมได ้ (Coefficient of Permeability ) k

1 : Fluid Viscosity
2 : Fluid Density
3 : Shape of Particle
4 : Poisson ‘ s Ratio
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 224 :
ในการทดลองหาค่า Shear Stress ของดินตัวอย่างหนึงโดยวิธ ี Unconfined Compression Test ถ ้าดินนีเป็ นดินเหนียวล ้วน มี Angle of Internal Friction = 0 มุม
เอียง ของ Faillure Plane ทีวัดได ้จากตัวอย่างดินเมือเกิดการพิบต
ั ิ จะทํามุมเท่าใดกับแนวระดับ

1 : 35 องศา
2 : 40 องศา
3 : 45 องศา
4 : 60 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 225 :
ทรายในสถานทีแห่งหนึงถูกทําให ้แน่นโดยมีความพรุน ( Porosity ) เท่ากับ 38.5% และมีคา่ ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 2.62 จงหาค่าระดับวิกฤต ( Critical Hydraulic
Gradient )ทีจะทําให ้ทรายเกิดสภาวะทรายดูด

1 : 0.875
2 : 0.925
3 : 0.996
4 : 1.025
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 226 :
จงหาความสูงของระดับนํ าทีจะถูกดึงขึนไปในช่องว่างระหว่างเม็ดดินได ้สูงทีสุด ( Hightest Capillary Rise ) มวลดินทีพิจารณามีคา่ แรงตึงผิวเท่ากับ 0.074 g/cm.
ช่องว่างระหว่างเม็ดดินมีลก
ั ษณะเหมือนท่อมีรัศมีเท่ากับ 0.00592 mm.

1 : 150 mm.
2 : 200 cm.
3 : 250 cm.
4 : 300 cm.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 227 :
นํ าไหลมาอย่างอิสระในการไหลแบบ Laminar Steady State Flow ด ้วย Approach Velocity เท่ากับ 2 cm/min เมือไหลผ่านเข ้าไปในมวลดินทีมีคา่ ความพรุน
เท่ากับ 33% ความเร็วทีนํ าไหลผ่านมวลดินจะมีคา่ เท่าใด

1 : 1 cm/min
2 : 3 cm/min
3 : 6 cm/min
4 : 9 cm/min
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 228 :
เมือตอกเข็มพืดลงในดินซึงมีคา่ k = 10^-3 cm/sec สามารถเก็บกักนํ าไว ้ภายในโดยมีระดับนํ าภายในและภายนอกแตกต่างกัน 10 m. เมือเขียน Flow Net แสดง
ทิศทางการไหลซึมของนํ าผ่านดินจากภายในออกสูภ ่ ายนอกแล ้ว นับจํานวนช่องของการไหลได ้เท่ากับ 4 และจํานวนช่องของความดันทีลดลงเท่ากับ 10 จงหา
ปริมาณนํ าทีไหลซึมออกไป ต่อหน ้ากว ้าง 1 m.ของเข็มพืด

1 : 2 x 10 ^-6 (m^3/ sec)


2 : 2 x 10 ^-5 (m^3/ sec)
3 : 4 x 10 ^-4 (m^3/ sec)
4 : 4 x 10 ^-5 (m^3/ sec)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 229 :
ดินเหนียวในสถานทีก่อสร ้างแห่งหนึงมีคา่ Unconfined Compressive ตามสภาพธรรมชาติเท่ากับ 10.0 T/m^2 ภายหลังการตอกเสาเข็มแล ้ว จากการตรวจสอบพบ
ว่า Unconfined Compressive Strength ลดลงเหลือ 2.5 T/m^2 จงหาค่าความไวตัวของ ดินเหนียวนี

1:1
2:2
3:3
4:4
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 230 :
จากการเจาะสํารวจดิน ได ้ Soil Profile และคุณสมบัตข
ิ องดินในแต่ละชันดังแสดงในรูป จงหา Effective Stress ทีตําแหน่งล่างสุดของชันดินเหนียว

1 : 18.72 T/m^2
2 : 15.72 T/m^2
3 : 12.72 T/m^2
4 : 21.72 T/m^2
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 231 :
จากชันดินทีกําหนดให ้ ให ้คํานวณค่าความดันประสิทธิผล (Effective stress) ทีระดับกึงกลางของดิน Layer ที 3 เมือกําหนดให ้ความหนาแน่นของนํ าประมาณ 10
kN/m3
1 : 186.5 kN/m2
2 : 179.0 kN/m2
3 : 111.5 kN/m2
4 : 91.5 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 232 :
จากรูปถ ้าระดับนํ าเริมต ้นอยูท
่ ความลึ
ี กจากผิวดิน 2 เมตร ต่อมาระดับนํ าขึนสูงมาอยูท
่ ระดั
ี บพืนดินทําให ้ดินมีสภาพเป็ น Over Consolidated Condition จงหาค่า
OCR ทีระดับกึงกลางของดิน Layer ที 3 ว่ามีคา่ เป็ นเท่าใด เมือกําหนดให ้ความหนาแน่นของนํ าประมาณ 10 kN/m3

1 : 0.8
2 : 1.0
3 : 1.21
4 : 1.71
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 233 :
ข ้อใดกล่าวได ้ไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับ ค่าสัมประสิทธิการไหลซึมนํ าในดิน (Coefficient of Permeability, k)

1 : ขนาดคละ อุณหภูมแ ิ ละชนิดของดิน มีผลต่อค่าสัมประสิทธิการไหลซึมของนํ าในดิน


2 : อัตราการไหลของนํ าในดินแปรผันตรงกับค่าสัมประสิทธิการไหลซึมของนํ า
3 : อุณหภูมข
ิ องนํ ายิงสูงค่าสัมประสิทธิการไหลของนํ ายิงตํา
4 : การบดอัดดินมีผลทําให ้ค่าสัมประสิทธิการไหลซึมของนํ าในมวลดินตําลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 234 :
จากรูปให ้คํานวณหาค่า Total Head Loss

1 : 4.0 เมตร
2 : 6.5 เมตร
3 : 8.0 เมตร
4 : 15 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 235 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1 : การทดสอบแรงอัดสามแกน (Triaxial Test) และการทดสอบแบบเฉือนตรง (Direct Shear Test) เป็ นการทดสอบหาค่ากําลังของดินทีให ้ผลทดสอบเหมือนกัน
2 : การทดสอบแรงอัดสามแกนทําได ้ทังกับดินเหนียวและดินทราย
3 : การทดสอบ Vane Shear test เพือหาค่ากําลังของดินในสนามจะไม่นํามาทดสอบกับชันดินทราย
4 : การทดสอบ Direct Shear test สามารถทดสอบได ้กับดินเหนียวและดินทราย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 236 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1 : การทดสอบแรงอัดสามแกนแบบ Consolidated Drained Test, CD test จัดว่าเป็ นการทดสอบเพือวิเคราะห์ข ้อมูลแบบ Effective Stress analysis
2 : ดินเหนียวจะมีคา่ Cohesion, c สูงและมุมเสียดทานของดิน (Friction angle) ตําในขณะทีดินทรายจะมีคา่ มุมเสียดทานของดินสูงกว่า
3 : เมือทดสอบ Direct Shear Test กับตัวอย่างทรายจะได ้ค่ามุมเสียดทานมากกว่าการทดสอบดินเหนียว
4 : ค่ามุมเสียดทานของดินเมือวิเคราะห์แบบ Total stress analysis จะมีคา่ สูงกว่าค่ามุมเสียดทานทีวิเคราะห์แบบ Effective stress analysis
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 237 :
ข ้อใดคือพฤติกรรมในการรับแรงของ Dense sand หรือ Stiff clay

1 : เส ้น A
2 : เส ้น B
3 : เส ้น C
4 : เส ้น A และ เส ้น C
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 238 :
ข ้อใดคือพฤติกรรมในการรับแรงของ Loose sand หรือ Soft clay

1 : เส ้น A
2 : เส ้น B
3 : เส ้น C
4 : เส ้น A และ เส ้น B
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 239 :
คุณสมบัตใิ นข ้อใดมีผลกระทบน ้อยทีสุดต่อความสามารถในการรับแรงของดินเม็ดหยาบเช่น ทรายหรือกรวด

1 : Relative density
2 : รูปร่างของเม็ดดิน (Shape of soil particle)
3 : Water content
4 : ความดันรอบข ้าง (Confining pressure)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 240 :
ถ ้าต ้องการหาความสามารถในการรับแรงอัดของดินควรตรวจสอบโดยใช ้การทดลองใด

1 : Tri-axial Test
2 : Atterberg’s Limit Test
3 : การทดสอบการทรุดตัว (Consolidation Test)
4 : การทดสอบหาความสามารถในการซึมนํ า (Permeability Test)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 241 :
จงหา Hydraulic gradient ของการไหลของนํ าผ่านแท่งดินเอียง 30 องศากับแนวราบดังแสดงในรูป เมือ hA = 2.5 m. ZA= 1.1 m. hB= 2 m. ZB= 1 m. L = 1.5 m.

1 : 0.5/1.5
2 : 0.5/ (1.5*cos (30))
3 : (1.4-1)/1.5
4 : (1.4-1)/ (1.5*cos (30))
5 : ไม่มขี ้อถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 242 :
ความสามารถในการรับแรงประเภทใดของดินทีไม่ต ้องตรวจสอบ

1 : ความสามารถในการรับแรงอัด
2 : ความสามารถในการรับแรงดึง
3 : ความสามารถในการรับแรงเฉือน
4 : ความสามารถในการรับแรงอัดและความสามารถในการรับแรงเฉือน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 243 :
จงหา Vertical Effective stress บริเวณจุด A

1 : 55 kN/m2
2 : 59 kN/m2
3 : 69 kN/m2
4 : 124 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 244 :
จงหา effective stress ทีจุด A

1 : ก. 50 kPa
2 : ข. 55 kPa
3 : ค. 92.5 kPa
4 : ง. 110.5 kPa
5 : จ. ไม่มข
ี ้อใดถูกต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 245 :
ถ ้านํ าไหลขึนด ้านบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 ft^3/min/ft^2 ของพืนที จงหาความสูงของนํ าทีสูญเสียในดิน C , ดิน B และ ดิน A ตามลําดับ

1 : 4.7 ฟุต, 7 ฟุต, และ 12 ฟุต ตามลําดับ


2 : 10.6 ฟุต, 18 ฟุต, และ 20 ฟุต ตามลําดับ
3 : 9.5 ฟุต, 10 ฟุต, และ 16 ฟุต ตามลําดับ
4 : 6.4 ฟุต, 7 ฟุต, 12 ฟุต ตามลําดับ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 246 :
พบการไหลของนํ าขึนด ้านบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 cfm/ft2 ของพืนที จงหา Total head ทีจุด C

1 : 50 ฟุต
2 : 60 ฟุต
3 : 65 ฟุต
4 : 70 ฟุต
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 247 :
พบการไหลของนํ าขึนด ้านบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 cfm/ft2 ของพืนที Total head ทีจุด A

1 : 40 ฟุต
2 : 41 ฟุต
3 : 42 ฟุต
4 : 43 ฟุต
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 248 :
พบการไหลของนํ าขึนด ้านบน(upward flow) ในอัตรา 1.0 cfm/ft2 ของพืนที จงหา Effective stress ทีความลึก 35 ฟุต ทีกึงกลางชัน C

1 : ก. 3880 Ib/ft2
2 : ข. 1820.8 Ib/ft2
3 : ค. 635.2 Ib/ft2
4 : ง. 926.4 Ib/ft2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 249 :
จาก Flow net ของการไหลของนํ าผ่าน sheet piles จงหาอัตราการไหลของนํ าในช่อง II ต่อหนึงหน่วยความยาว
เมือค่า kx = kz = k = 5*10^-3 ft/sec
1 : 5.0x10^-3 ft./sec
2 : 8.3x10^-5 ft./sec
3 : 1.38x10^-6 ft./sec
4 : 6.94x10^-7 ft./sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 250 :
แรงดันนํ าใต ้ฝายคอนกรีตทีจุด A มีคา่ เป็ นเท่าใด (กําหนดให ้หน่วยนํ าหนักของนํ า = 10 kN/m^3)

1 : 61.5 kPa (kN/m2)


2 : 89.7 kPa (kN/m2)
3 : 30.4 kPa (kN/m2)
4 : 70.2 kPa (kN/m2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 251 :
จากรูปทีกําหนดให ้ อัตราการไหลของนํ าผ่านกําแพงกันดิน ต่อความกว ้าง 1 เมตรเป็ นเท่าใด

1 : 0.00162 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
2 : 0.0005 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
3 : 0.02 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
4 : 1.88e-8 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 252 :
จากรูปตัดชันดินทีกําหนดให ้ หน่วยแรงกดทับประสิทธิผลในแนวดิง (vertical effective srress) ทีความลึก 10 เมตรจากผิวดิน (จุด A) เป็ นเท่าใด

1 : 80 kPa (kN/m2)
2 : 140 kPa (kN/m2)
3 : 160 kPa (kN/m2)
4 : 200 kPa (kN/m2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 253 :
จากรูปตัดชันดินทีกําหนดให ้ แรงดันดินด ้านข ้างประสิทธิผลในสภาพนิง (Horizontal effective stress – at rest) ทีความลึก 10 เมตรจากผิวดิน เป็ นเท่าใด

1 : 48 kPa (kN/m2)
2 : 80 kPa (kN/m2)
3 : 52 kPa (kN/m2)
4 : 64 kPa (kN/m2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 254 :
ถ ้าผลการทดสอบ CBR ได ้ดังรูปกราฟทีกําหนดให ้ ค่า CBR จะเท่ากับเท่าใด (ถ ้าหน่วยแรงกดมาตรฐานทีระยะจม 0.1 นิวเท่ากับ 1000 ปอนด์ตอ
่ ตารางนิว)

1:5%
2 : 7.5 %
3 : 10 %
4 : 17.5 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 255 :
นํ าดินเหนียวเหนียวอิมตัวด ้วยนํ าไปทดสอบ Unconsolidated Undrained ด ้วยแรงดันนํ า 100 kN/m^2 ได ้ค่าหน่วยแรงกดในแนวดิงทีเพิมขึนทีจุดวิบต
ั เิ ท่ากับ 80
kN/m^2
กําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ า (Undrained shear strength) ของดินตัวอย่างนีจะเป็ นเท่าใด

1 : 30 kPa
2 : 40 kPa
3 : 50 kPa
4 : 60 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 256 :
จากผลการทดสอบ consolidated undrained triaxial กับดิน Normally consolidated clay ชุดหนึงได ้ค่า friction angle = 27 องศา และค่า Cohesion = 0
ถ ้าทดสอบดินชนิดนีแต่ใช ้ cell pressure = 300 kPa จะต ้องใช ้หน่วยแรงกดเพิมขึนเท่าใดดินจึงจะวิบต
ั ิ

1 : 388.9 kPa
2 : 498.9 kPa
3 : 598.9 kPa
4 : 698.9 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 257 :
ในการทดสอบการเฉือนแบบ Direct shear ข ้อใดไม่ใช่ข ้อมูลทีได ้จากการทดสอบ

1 : Friction angle
2 : Cohesion
3 : Horizontal displacement
4 : Confining stress
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 258 :
เราจะใช ้วิธใี ดในห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารในการทดสอบกําลังรับแรงเฉือนของดิน

1 : Triaxial test
2 : Consolidation test
3 : Compaction test
4 : Permeability test
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 259 :
การทดสอบ Unconfined compression (UC) test โดยใช ้ตัวอย่างดินเหนียวชนิดหนึง พบว่าค่า Unconfined compressive strength ของดินเหนียวนีมีคา่ เท่ากับ 10
ตัน/เมตร2 ถ ้านํ าตัวอย่างดินชนิดนีมาทดสอบ Triaxial test แบบ Unconsolidated Undrained (UU) test โดยใช ้ความดันใน Triaxial cell เท่ากับ 10 ตัน/เมตร2
Maximum Deviator stress ทีวัดได ้จากการทดสอบนี`จะมีคา่ เท่ากับเท่าไร

1 : 15 ตัน/เมตร2
2 : 20 ตัน/เมตร2
3 : 5 ตัน/เมตร2
4 : 10 ตัน/เมตร2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
ข ้อที 260 :
การทดสอบ Direct shear test โดยใช ้ Normal stress เท่ากับ 65 kPa บนตัวอย่างทรายทีมีสว่ นคละไม่ด ี (Poorly graded sand) และไม่มแ
ี รงยึดเหนียว พบว่าหน่วย
แรงเฉือนทีวิบต
ั เิ ท่ากับ 41 kPa จงหามุมเสียดทานภายใน (Internal friction angle)

1 : 28 องศา
2 : 32 องศา
3 : 57 องศา
4 : 61 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 261 :
ในการทดสอบหาค่าสัมประสิทธิการไหลซึมแบบ Head คงที ของตัวอย่างทรายหยาบขนาดเส ้นผ่านศูนย์กลาง 5.5 ซม. สูง 15.0 ซม. ใช ้ Head สูง 40.0 ซม. เป็ น
เวลา 6 วินาที วัดปริมาณการไหลได ้ 400 ลบ.ซม. จงหาค่าสัมประสิทธิการไหลซึมของทราย

1 : 1.05 cm/sec
2 : 2.05 cm/sec
3 : 3.05 cm/sec
4 : 4.05 cm/sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 262 :
ชันดิน 3 ชัน มีความหนาเท่ากัน ชันบนและชันล่างมีคา่ สัมประสิทธิการไหลซึมเท่ากับ 1x10-4 cm/s ชันกลางมีคา่ สัมประสิทธิการไหลซึม 1x10-2 cm/s จงหา
อัตราส่วนของสัมประสิทธิการไหลซึมเฉลียในแนวนอน ต่อแนวดิง

1 : 12.8:1
2 : 22.8:1
3 : 32.8:1
4 : 42.8:1
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 263 :
ในชันดินเหนียวมีหน่วยนํ าหนักรวมของดินเท่ากับ 20 kN/m3 หน่วยนํ าหนักของนํ าเท่ากับ 10 kN/m3 โดยระดับนํ าอยูต ่ ํากว่าผิวดิน 2 เมตร จงหาหน่วยแรง
ประสิทธิผลในแนวราบทีความลึก 8 เมตร ถ ้าสัมประสิทธิแรงดันด ้านข ้าง (Coefficient of Lateral Earth Pressure, Ko) = 0.6

1 : 160 kN/m2
2 : 100 kN/m2
3 : 80 kN/m2
4 : 60 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 264 :
ในการทดสอบ Field Density ทําไมจึงต ้องใช ้ Ottawa Sand

1 : เพราะเป็ นทรายสะอาด
2 : เพราะเป็ นทรายสีขาว
3 : เพราะเป็ นทรายทีมีขนาดเม็ดสมําเสมอ
4 : เพราะเป็ นทรายมาตรฐานบังคับเท่านัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 265 :
ข ้อใด คํานวณไม่ถก
ู เกียวกับ total head, elevation head และ pressure head ของนํ าในต ้วอย่างทราย เมือเกิดการไหลของนํ าจาก point A ไป point B ดังรูป ?

1 : Total head เปลียนจาก +2.4m มาเป็ น +0.9m


2 : Elevation head ของจุด A และ B มีคา่ เท่ากับ +0.6m และ +1.5m ตามลําดับ
3 : Pressure head เปลียนจาก +1.8m ทีจุด A มาเป็ น -1.6m ทีจุด B
4 : Hydraulic gradient ระหว่างจุด A และ B เท่ากับ 0.94
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 266 :
ฐานรากแผ่คอนกรีต ขนาด 4 x 8 m2 มีนําหนักจากโครงสร ้าง รวมนํ าหนักฐานราก 504 ตัน วางบนชันดินเหนียวแข็งปานกลาง หนา 10m รองรับด ้วยชันหินดินดาน
จงประมาณการกระจายนํ าหนักบรรทุกของฐานรากแผ่ ลงบนชันหินดินดาน ?

1 : 4.3 ตัน/ตร.ม.
2 : 2.0 ตัน/ตร.ม.
3 : 0.5 ตัน/ตร.ม.
4 : 0.25 ตัน/ตร.ม.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2
ข ้อที 267 :
ดินชนิดใดทีมีคา่ Coefficient of Permeability ตําทีสุด

1 : Gravel
2 : Sand
3 : Silt
4 : Clay
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 268 :
กรณีทเกิ
ี ด Critical Hydraulic gradient ค่าใดมีคา่ เท่ากับ ศูนย์

1 : Total stress
2 : Effective stress
3 : Pore water pressure
4 : Seepage pressure
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 269 :
ค่า Cohesion, C ทีได ้จาก Vane Shear Test คือ

1 : Drained cohesion
2 : Undrained cohesion
3 : Remolded state cohesion
4 : Disturbed state cohesion
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 270 :

1 : 60 kPa
2 : 69 kPa
3 : 72 kPa
4 : 172 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 271 :
จาก Flow net ของการไหลของนํ าผ่าน sheet piles จงหาระดับนํ าใน piezometer เมือนํ าไปวัดทีจุด a, b และ c ตามลําดับ

1 : 9 ft., 7 ft., และ 6 ft.


2 : 10 ft., 9 ft., และ 6 ft.
3 : 10 ft., 8 ft., และ 6 ft.
4 : 9 ft., 8 ft., และ 6 ft.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 272 :
จาก Flow net ของการไหลของนํ าผ่าน sheet piles จงหาอัตราการไหลของนํ าในช่อง II ต่อหนึงหน่วยความยาว เมือค่า kx = kz = k = 5*10^-3

1 : 1.20*10^-4 ft./sec
2 : 1.64*10^-4 ft./sec
3 : 2.10*10^-4 ft./sec
4 : 2.54*10^-4 ft./sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 273 :
รู ปด้ านล่ างแสดงตาข่ ายการไหลของนําใต้ เขือนและการกระจายแรงดันนําใต้ เขือน จงหาค่ าความสูงของนําทีหน้ าเขือน (H)
1 : 2.7 m
2 : 2.8 m
3 : 3.0 m
4 : 3.6 m
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 274 :
สภาพของหน่ วยแรงทีกระทําต่ อดินทีบริ เวณหนึงเป็ นไปดังรู ปด้ านล่ าง ถ้ าหน่ วยแรงเฉื อน (t) เพิมขึนเป็ น 30.5 kPa จงหาว่ ามุมของ s1 เปลียนแปลงไปกีองศา

1 : 2.4 องศา
2 : 4.2 องศา
3 : 5.3 องศา
4 : 3.5 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 275 :
ชันดินทีสมําเสมอกันชันหนึงมีความหนา 6 m มีค่าหน่ วยนําหนักเมืออิมตัวด้ วยนําเท่ ากับ 20 kN/m3 และมีค่าหน่ วยนําหนักแห้ งเท่ ากับ 16 kN/m3 ในตอนแรกระดับ
ผิวนําอยู่ทีเดียวกับระดับผิวดิน ต่ อมาได้ มกี ารสูบนําทําให้ ระดับผิวนําลดตําลงไป 3 m จงหาว่ าค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผลในแนวดิงทีความลึกเท่ ากับ 3 m มีค่าเปลียน
ไปเท่ าใด โดยสมมุติให้ ชันดินทีอยู่เหนือกว่ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะแห้ ง และชันดินทีอยู่ตากว่
ํ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะอิมตัวด้ วยนําเสมอ

1 : เพิมขึน 14.4 kPa


2 : ลดลง 17.4 kPa
3 : ลดลง 14.4 kPa
4 : เพิมขึน 17.4 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 276 :
ชันดินทีสมําเสมอกันชันหนึงมีความหนา 6 m มีค่าหน่ วยนําหนักเมืออิมตัวด้ วยนําเท่ ากับ 21 kN/m3 และมีค่าหน่ วยนําหนักแห้ งเท่ ากับ 16 kN/m3 ในตอนแรกระดับ
ผิวนําอยู่ทีเดียวกับระดับผิวดิน ต่ อมาได้ มกี ารสูบนําทําให้ ระดับผิวนําลดตําลงไป 3 m จงหาว่ าค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผลในแนวดิงทีความลึกเท่ ากับ 3 m มีค่าเปลียน
ไปเท่ าใด โดยสมมุติให้ ชันดินทีอยู่เหนือกว่ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะแห้ ง และชันดินทีอยู่ตากว่
ํ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะอิมตัวด้ วยนําเสมอ

1 : ลดลง 17.4 kPa


2 : ลดลง 14.4 kPa
3 : เพิมขึน 17.4 kPa
4 : เพิมขึน 14.4 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 277 :
ชันดินทีสมําเสมอกันชันหนึงมีความหนา 6 m มีค่าหน่ วยนําหนักเมืออิมตัวด้ วยนําเท่ ากับ 20 kN/m3 และมีค่าหน่ วยนําหนักแห้ งเท่ ากับ 18 kN/m3 ในตอนแรกระดับ
ผิวนําอยู่ทีเดียวกับระดับผิวดิน ต่ อมาได้ มกี ารสูบนําทําให้ ระดับผิวนําลดตําลงไป 3 m จงหาว่ าค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผลในแนวดิงทีความลึกเท่ ากับ 3 m มีค่าเปลียน
ไปเท่ าใด โดยสมมุติให้ ชันดินทีอยู่เหนือกว่ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะแห้ ง และชันดินทีอยู่ตากว่
ํ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะอิมตัวด้ วยนําเสมอ

1 : ลดลง 20.4 kPa


2 : ลดลง 14.4 kPa
3 : เพิมขึน 17.4 kPa
4 : เพิมขึน 23.4 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 278 :
ชันดินทีสมําเสมอกันชันหนึงมีความหนา 6 m มีค่าหน่ วยนําหนักเมืออิมตัวด้ วยนําเท่ ากับ 21 kN/m3 และมีค่าหน่ วยนําหนักแห้ งเท่ ากับ 18 kN/m3 ในตอนแรกระดับ
ผิวนําอยู่ทีเดียวกับระดับผิวดิน ต่ อมาได้ มกี ารสูบนําทําให้ ระดับผิวนําลดตําลงไป 3 m จงหาว่ าค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผลในแนวดิงทีความลึกเท่ ากับ 3 m มีค่าเปลียน
ไปเท่ าใด โดยสมมุติให้ ชันดินทีอยู่เหนือกว่ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะแห้ ง และชันดินทีอยู่ตากว่
ํ าระดับนําใต้ ดินอยู่ในสถานะอิมตัวด้ วยนําเสมอ

1 : ลดลง 17.4 kPa


2 : ลดลง 23.4 kPa
3 : เพิมขึน 23.4 kPa
4 : เพิมขึน 20.4 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 279 :
ดินเหนียวอิมตัวอยู่เหนือชันทราย ระดับนําในหลอด Piezometer = 8 m ดังแสดง จงหาความลึกทีสามารถขุดได้ ลึกทีสุด H ทีจะไม่ ทาํ ให้ เกิด Quick condition ทีจุด
A
กําหนด rsat. clay = 2,000 kg/m3 rsat. sand = 1,600 kg/m3

1:4m
2 : 4.5 m
3:5m
4:6m
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 280 :
ํ ก 1.8 กรั ม เมือมีปริ มาตร 1 cm3 จงหาค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผล (Eftective
ดินตัวอย่ างอยู่ลึกจากผิวดิน 5 m. ระดับนําใต้ ดินอยู่ทีระดับผิวดิน ตัวอย่ างดินมีนาหนั
Stress)

1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 281 :
ํ ก 1.8 กรั ม เมือมีปริ มาตร 1 cm3 จงหาค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผล (Eftective
ดินตัวอย่ างอยู่ลึกจากผิวดิน 6 m. ระดับนําใต้ ดินอยู่ทีระดับผิวดิน ตัวอย่ างดินมีนาหนั
Stress)

1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 282 :
ํ ก 1.9 กรั ม เมือมีปริ มาตร 1 cm3 จงหาค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผล (Eftective
ดินตัวอย่ างอยู่ลึกจากผิวดิน 6 m. ระดับนําใต้ ดินอยู่ทีระดับผิวดิน ตัวอย่ างดินมีนาหนั
Stress)

1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 283 :
ํ ก 1.9 กรั ม เมือมีปริ มาตร 1 cm3 จงหาค่ าหน่ วยแรงประสิ ทธิ ผล (Eftective
ดินตัวอย่ างอยู่ลึกจากผิวดิน 5 m. ระดับนําใต้ ดินอยู่ทีระดับผิวดิน ตัวอย่ างดินมีนาหนั
Stress)

1 : 4500 kg/m2
2 : 4800 kg/m2
3 : 4000 kg/m2
4 : 5400 kg/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 284 :
Piezometer เป็ นเครื องมือวัดค่ าใด

1 : ระดับนํ า
2 : ปริมาณนํ า
3 : ความหนาแน่นนํ า
4 : ความเป็ นกรดของนํ า
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 285 :
กําหนด P1 = 80 t , P2 = 40 t จงหาหน่ วยแรงทีเพิมขึน sZA เนืองจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผิวดิน ณ จุด A ทีความลึก 1.50 เมตร

1 : 2.6 t/sq.m.
2 : 1.7 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.3 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 286 :
กําหนด P1 = 80 t , P2 = 20 t จงหาหน่ วยแรงทีเพิมขึน sZA เนืองจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผิวดิน ณ จุด A ทีความลึก 1.50 เมตร
1 : 2.3 t/sq.m.
2 : 1.7 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.6 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 287 :
กําหนด P1 = 80 t , P2 = 60 t จงหาหน่ วยแรงทีเพิมขึน sZA เนืองจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผิวดิน ณ จุด A ทีความลึก 1.50 เมตร

1 : 1.7 t/sq.m.
2 : 2.3 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.6 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 288 :
กําหนด P1 = 80 t , P2 = 80 t จงหาหน่ วยแรงทีเพิมขึน sZA เนืองจากแรงกระทําเป็ นจุด Point load ทีผิวดิน ณ จุด A ทีความลึก 1.50 เมตร
1 : 1.5 t/sq.m.
2 : 2.3 t/sq.m.
3 : 2.0 t/sq.m.
4 : 2.6 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 289 :
จากการทดสอบ Triaxial หน่ วยแรงทีทําให้ ดินพัง(deviator stress) = 80 kN/m2 ขณะทดสอบมี Confining Pressure, s3= 60 kN/m2 จงหาค่ า Maximum
principal stress

1 : 100 kN/m2
2 : 70 kN/m
2
3 : 120 kN/m
2
4 : 140 kN/m
2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 290 :
จากการทดสอบ Triaxial หน่ วยแรงทีทําให้ ดินพัง(deviator stress) = 10 kN/m2 ขณะทดสอบมี Confining Pressure, s3= 60 kN/m2 จงหาค่ า Maximum
principal stress

1 : 100 kN/m2
2 : 70 kN/m
2
3 : 120 kN/m
2
4 : 140 kN/m
2
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 291 :
จากการทดสอบ Triaxial หน่ วยแรงทีทําให้ ดินพัง(deviator stress) = 40 kN/m2 ขณะทดสอบมี Confining Pressure, s3= 60 kN/m2 จงหาค่ า Maximum
principal stress

1 : 100 kN/m2
2 : 70 kN/m
2
3 : 120 kN/m
2
4 : 140 kN/m
2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 292 :
จากการทดสอบ Triaxial หน่ วยแรงทีทําให้ ดินพัง(deviator stress) = 60 kN/m2 ขณะทดสอบมี Confining Pressure, s3= 60 kN/m2 จงหาค่ า Maximum
principal stress

1 : 140 kN/m2
2 : 100 kN/m2
3 : 70 kN/m2
4 : 120 kN/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 4
เนือหาวิชา : 547 : Soil settlement, consolidation theory

ข ้อที 293 :
การบดอัดดินจะมีผลทําให ้

1 : Vs ลดลง ทําให ้ความหนาแน่นแห ้งของดินเพิมขึน


2 : Ws เพิมขึน ทําให ้ความหนาแน่นแห ้งของดินเพิมขึน
3 : ปริมาณช่องว่างของอากาศในดินลดลง
4 : ปริมาณนํ าในดินลดลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 294 :

1 : 160 mm
2 : 80 mm
3 : 73 mm
4 : 36 mm
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 295 :
ชันดินเหนียวอิมตัวด ้วยนํ าหนา 5 เมตร อยูร่ ะหว่างชันทรายพรุนนํ า เมือเก็บตัวอย่างดินเหนียวไปทดสอบการอัดตัวคายนํ าหนึงมิต ิ โดยใช ้ตัวอย่างหนา 1 นิว (2.5
cm) และมีการระบายนํ าทังด ้านบนและด ้านล่าง การวิเคราะห์ผลข ้อมูลโดยใช ้วิธข ี องเทย์เลอร์ (Taylor’s method) ซึงอ่านค่าเวลาการอัดตัวคายนํ าที 50% เท่ากับ
12.5 นาที ถ ้าต ้องการก่อสร ้างอาคารเหนือชันดินเหนียวนี จงคาดคะเนเวลาการทรุดตัวที 90%

1 : 1 ปี
2 : 2 ปี
3 : 3 ปี
4 : 4 ปี
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 296 :

1 : 178 mm
2 : 89 mm
3 : 16 cm
4 : 32 cm
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 297 :
จงพิจารณาข ้อความต่อไปนี

1 : ถูกเฉพาะข ้อ a)
2 : ถูกเฉพาะข ้อ b)
3 : ถูกเฉพาะข ้อ c)
4 : ถูกมากกว่า 1 ข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 298 :
ข ้อใดไม่ถก
ู ต ้อง เกียวกับปรากฏการณ์ หรือ ผลอันเกิดจากขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) ?

1 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) จะทําให ้มวลดินมีชอ ่ งว่างในดินลดลง.


2 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) จะทําให ้กําลังรับแรงเฉือนของดินลดลง.
3 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) จะทําให ้มวลดินมีสม ั ประสิทธิการระบายนํ าลดลง.
4 : ขบวนการยุบอัดตัวของดิน (consolidation) สามารถจําลองแบบจาก ลักษณะ Piston-spring analogy.
5:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 299 :
ั นทรายประกบทังข ้างบนและข ้างล่าง อยากทราบว่าบริเวณใดทีมี
ถ ้ามีนําหนักมากระทําทีผิวดินแล ้วทําให ้เกิดความเค ้นเพิมขึนเท่ากันทัวทังชันดินเหนียวทีมีชนดิ
อัตราส่วนการอัดตัวคายนํ าตําทีสุด

1 : ทีขอบชันดินเหนียวติดกับชันดินทราย
2 : ทีระยะ 1/4 ของความหนาของชันดินเหนียวถัดมาจากขอบด ้านบนของชันดินเหนียว
3 : ทีระยะ 1/3 ของความหนาของชันดินเหนียวถัดมาจากขอบด ้านบนของชันดินเหนียว
4 : ทีกึงกลางชันดินเหนียว
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 300 :
ดินทีในช่วงเวลาในอดีตได ้รับแรงดันมากกว่าทีรับในปั จจุบน
ั และมีผลต่อการทรุดตัวคายนํ า คือดินตามความหมายใด

1 : Normally consolidated Clay


2 : Overconsolidated sand
3 : Overconsolidated Clay
4 : Normally consolidated Sand
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 301 :
ดินทีในอดีตไม่เคยรับแรงใดๆมากกว่าแรงดันของดินในปั จจุบน
ั และมีผลต่อการทรุดตัวคายนํ า คือดินตามความหมายใด

1 : Normally consolidated Clay


2 : Overconsolidated Clay
3 : Normally consolidated Sand
4 : Overconsolidated sand
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 302 :
วิธกี ารใดใช ้ในการเร่งการทรุดตัวของดินเหนียว

1 : Static compaction
2 : Deep Mixing Pile
3 : Vibroflot
4 : Preloading
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 303 :
Consolidation settlement เกิดจาก

1 : ปริมาตรของเนือดินลดลง ทําให ้เกิดการทรุดตัว


2 : ระดับนํ าใต ้ดินสูงขึน ทําให ้ค่าหน่วยแรงประสิทธิผลเพิมขึน
3 : นํ าหนีออกจากช่องว่างระหว่างเม็ดดินเนืองจากแรงดันนํ าส่วนเกิน
4 : มีนําหนักกระทําทีผิวดิน ทําให ้ช่องว่างของอากาศในดินลดลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 304 :
อัตราเร็วของการทรุดตัวแบบ Consolidation settlement ขึนอยูก
่ บ

1 : Compression index
2 : Over consolidation ratio
3 : Pre-consolidation pressure
4 : Coefficient of permeability
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 305 :
จากข ้อมูลทีได ้ให ้ไว ้ในรูปประกอบ จงหาว่าจะต ้องใช ้เวลาเท่าใดในการระบายแรงดันนํ าส่วนเกิน (ทีเกิดขึนจากแรงกระทําขนาด 10 t/sq.m. ทีผิวดิน) ให ้หมดสิน

1 : 1.5 ปี
2 : 3 ปี
3 : 4.5 ปี
4 : 6 ปี
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 306 :
จากข ้อมูลทีได ้ให ้ไว ้ในรูปประกอบ จงหาว่าจะต ้องใช ้เวลาเท่าใดในการระบายแรงดันนํ าส่วนเกิน (ทีเกิดขึนจากแรงกระทําขนาด 10 t/sq.m. ทีผิวดิน) ให ้หมดสิน

1 : 340 วัน
2 : 680 วัน
3 : 1,020 วัน
4 : 1,360 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 307 :
ชันดินทีมีคา่ OCR = 2.5 และมีคา่ Preconsolidation pressure = 4 t/sq.m. จะมีคา่ หน่วยแรงกดทับในปั จจุบน
ั เท่ากับเท่าใด

1 : 1.6 t/sq.m.
2 : 2.5 t/sq.m.
3 : 4 t/sq.m.
4 : 10 t/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 308 :
จากรูปกราฟ e log p ถ ้าจุด A เป็ นจุดทีมีรัศมีความโค ้งน ้อยทีสุด และค่า Overburden pressure เท่ากับ 20 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร ค่า Overconsolidation ratio
ของดินชนิดนีจะมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด
1 : 1.0
2 : 2.0
3 : 3.0
4 : 4.0
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 309 :
จากกราฟ e log p ค่า Compression index มีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 0.0086
2 : 0.01
3 : 0.43
4 : 0.68
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 310 :
จากรูปกราฟ e log p ถ ้าจุด A เป็ นจุดทีมีรัศมีความโค ้งน ้อยทีสุด ค่า Maximum past pressure มีคา่ เท่ากับ หรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 50 kN/sq.m.
2 : 60 kN/sq.m.
3 : 70 kN/sq.m.
4 : 80 kN/sq.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 311 :
ชันดินบริเวณหนึงเป็ นดังรูป ถ ้าความเค ้นทีเพิมขึนบริเวณกึงกลางชันดินเหนียว (Normally consolidated clay) เนืองจากนํ าหนักแผ่กระจายสมําเสมอบนผิวดิน
เท่ากับ 98 กิโลนิวตันต่อตารางเมตร ขนาดของการทรุดตัวของชันดินเหนียวมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 24 เซ็นติเมตร
2 : 32 เซ็นติเมตร
3 : 42 เซ็นติเมตร
4 : 64 เซ็นติเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 312 :
ชันดินเหนียวอ่อนอิมตัวด ้วยนํ าหนา 14 เมตร มีลก ั ษณะชันดินดังรูป ถ ้าทีบริเวณผิวดินมีนําหนักแผ่กระจายสมําเสมอกระทําเป็ นบริเวณกว ้าง ถ ้าเวลาผ่านไป 2 ปี ค่า
Time factor ของชันดินนีจะมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด
1 : 0.011
2 : 0.027
3 : 0.034
4 : 0.045
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 313 :
ชันดินเหนียวอ่อนอิมตัวด ้วยนํ าหนา 12 เมตร มีลก ั ษณะชันดินดังรูป ทีบริเวณผิวดินมีนําหนักแผ่กระจายสมําเสมอกระทําเป็ นบริเวณกว ้าง ถ ้าเวลาผ่านไป 3 ปี ค่า
Time factor ของชันดินนีจะมีคา่ เท่ากับหรือใกล ้เคียงกับค่าใด

1 : 0.011
2 : 0.023
3 : 0.068
4 : 0.091
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 314 :

1 : 5.0 เมตร
2 : 5.2 เมตร
3 : 5.5 เมตร
4 : 5.7 เมตร
5 : 6.0 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 315 :
ชันดินเหนียวหนา 4 เมตร วางตัวอยูร่ ะหว่างชันทราย 2 ชัน มีคา่ สัมประสิทธิการอัดตัวคายนํ า (Coefficient of consolidation),CV 0.8 ลูกบาศก์เมตรต่อปี ถ ้ามีนํา
หนักภายนอกมากระทําแล ้วทําให ้เกิดความเค ้นเพิมขึนในชันดินเหนียว อยากทราบว่าการอัดตัวคายนํ าเกิดขึน 90 เปอร์เซ็นต์เมือเวลาผ่านไปนานกีเดือน (Time
Factor = 0.848 ทีการอัดตัวคายนํ า 90%)

1 : 11 เดือน
2 : 18 เดือน
3 : 36 เดือน
4 : 51 เดือน
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 316 :
เมือนํ าตัวอย่างดินทีระดับความลึก 10 ม. จากสถานทีก่อสร ้างซึงนํ าไหลออกได ้ทางเดียวมาทําการทดลองในเครืองทดสอบอัดตัวคายนํ าแบบมาตรฐานซึงมีการ
ระบายนํ าทังด ้านบนและด ้านล่าง พบว่าเกิดการยุบตัว 50% สําหรับตัวอย่างดินหนา 1 ซม. ใช ้เวลา 32.392 วินาที ดินในสถานทีก่อสร ้างจะต ้องใช ้เวลาเท่าไรจึงจะ
เกิดการยุบตัวเท่ากัน

1 : 500 วัน
2 : 1000 วัน
3 : 1500 วัน
4 : 2000 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 317 :
คุณสมบัตใิ นข ้อใดทีไม่มผ
ี ลกระทบหรือกระทบน ้อยทีสุดต่อขนาดและอัตราการทรุดตัวของดินเหนียว

1 : Stress history
2 : Water content และ Atterberg’s limit
3 : แร่ประกอบในดินเหนียว
4 : ความหนาแน่นแห ้งสูงสุด (Maximum dry density)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 318 :
ข ้อใดคือพฤติกรรมในการรับนํ าหนักและการทรุดตัวของดินแบบ Dense sand หรือ Stiff clay

1 : เส ้น A
2 : เส ้น B
3 : เส ้น C
4 : เส ้น A และ เส ้น B
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 319 :
ข ้อใดคือพฤติกรรมในการรับนํ าหนักและการทรุดตัวของดินแบบ Loose sand หรือ Soft clay

1 : เส ้น A
2 : เส ้น B
3 : เส ้น C
4 : เส ้น A และ เส ้น B
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 320 :
ท่านได ้ผลการทดสอบ Consolidation test ของดินชนิดหนึง ณ ระดับความลึกหนึง ปรากฏว่าท่านพบเส ้นโค ้งความสัมพันธ์ระหว่าง void ratio และ Log (P’) มี
ทังหมด 3 เส ้นดังแสดงในภาพ ข ้อใดทีท่านควรสรุปจากเส ้นโค ้งข ้างล่างนี

1 : เส ้นโค ้ง B ควรเป็ นเส ้นความสัมพันธ์ทได


ี ้มาจากตัวอย่างแบบ Disturbed ไม่สามารถหา Maximum Past Pressure ได ้
2 : ถูกทุกข ้อ
3 : เส ้นโค ้ง C ควรจะเป็ นเส ้นความสั
มพันธ์ทเกิ
ี ดขึนในสนามโดยมีการตรวจวัดในสภาพจริง
4 : เส ้นโค ้ง A ควรจะเป็ นเส ้นความสัมพันธ์ในห ้องปฏิบต
ั ก
ิ ารและตัวอย่างเป็ นตัวอย่างทีมีคณ
ุ ภาพ( Undisturbed
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 321 :
คํากล่าวในข ้อใดทีไม่ถก
ู ต ้องในทฤษฏีการทรุดตัวแบบ One dimension ของ Terzaghi

1 : ค่า Over-Consolidation ratio (OCR) คืออัตราส่วนของความเค ้นทีมากทีสุดในอดีต บางครังเรียกว่า “Pre-consolidation pressure” หรือ “Maximum Past Pressure” ต่อ ความเค ้นในปั จจุบน ั
2 : ถ ้าดินมี OCR = 1 ถูกเรียกว่า “Normal-consolidated Soil” , ถ ้าดินมี OCR > 1 ถูกเรียกว่า “Over-consolidated Soil” และ ถ ้าดินมี OCR < 1 ถูกเรียกว่า “Under-consolidated Soil” ซึงไม่คอ ่ ย
พบ
3 : ทฤษฎีการทรุดตัวแบบ One-dimension เป็ นการประมาณขนาดและอัตราการทรุดตัวของดินทีมีความซึมนํ าน ้อยๆ เช่น ดินเหนียวโดยพิจารณาถึงประวัตก ิ ารรับแรงของดิน(Stress history) ด ้วย
ซึงการนํ าดินมาทดสอบในห ้องปฏิบต ั ก
ิ ารต ้องเก็บตัวอย่างดินแบบ Undisturbed และต ้องไม่ทําลายโครงสร ้างอืนๆ ในระหว่างตัวแต่งดิน
4 : ไม่มข ี ้อถูก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 322 :
จากรูปจงหาค่าการทรุดตัว (Consolidation settlement) ทังหมดทีเกิดขึนในชันดินเหนียวเนืองจากดินถม ดังแสดง ทราย Bulk unit weight = 16 kN/m3 Saturated
unit weight = 19 kN/m3 ดินเหนียว Saturated unit weight = 18.5 kN/m3 Initial void ratio,eo = 0.57 OCR = 1 Cc= 0.38

1 : 20.8 cm.
2 : 44.4 cm
3 : 53.7 cm.
4 : 62.9 cm.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 323 :
ดินเหนียวตัวอย่างดังแสดงในรูป เมือนํ าไปทดสอบหาค่าการทรุดตัว ได ้ค่าจากการทดสอบดังนี Compression index = 0.40 Pre-consolidation pressure, = 87.1
kN/m2 Over Consolidation Ratio, OCR = 0.90 Coefficient of consolidation = 1.20 x 10-3 mm/sec. จงหาค่าของความลึก D ทีเก็บตัวอย่างดินไปทดสอบ

1 : 4 m.
2 : 5 m.
3 : 6 m.
4 : 7 m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 324 :
ดินเหนียวหนา 12 เมตรมีลก ั ษณะการระบายนํ าออกทังด ้านบนและด ้านล่างหรือทีเรียกว่า “Doubly drained” นันหมายความว่าชันดินทีอยูด ่ ้านบนและด ้านล่างของ
ดินเหนียวนียอมให ้นํ าระบายออกได ้มากกว่าชันดินเหนียว โดยดินเหนียวมี coefficient of consolidation, Cv = 8.0x10-8 m2/s จงหาเปอร์เซ็นต์ของการอัดตัวคาย
นํ าทีกึงกลางชันดิน หลังจากมีนําหนักมากระทํา 5 ปี

1 : 45 %
2 : 55 %
3 : 65 %
4 : 75 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 325 :
ดินเหนียวหนา 12 เมตรมีลก ั ษณะการระบายนํ าออกทังด ้านบนและด ้านล่างหรือทีเรียกว่า “Doubly drained” นันหมายความว่าชันดินทีอยูด ่ ้านบนและด ้านล่างของ
ดินเหนียวนียอมให ้นํ าระบายออกได ้มากกว่าชันดินเหนียว โดยดินเหนียวมี coefficient of consolidation, Cv = 8.0x10-8 m2/s จงหาเปอร์เซ็นต์การทรุดตัว ณ
ความลึก 6 เมตร จากผิวด ้านบนของชันดินเหนียวหลังจากมีนําหนักมากระทํา 5 ปี

1 : 40 %
2 : 46 %
3 : 52 %
4 : 58%
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 326 :
ดินเหนียวหนา 12 เมตรมีลก ั ษณะการระบายนํ าออกทังด ้านบนและด ้านล่างหรือทีเรียกว่า “Doubly drained” นันหมายความว่าชันดินทีอยูด ่ ้านบนและด ้านล่างของ
ดินเหนียวนียอมให ้นํ าระบายออกได ้มากกว่าชันดินเหนียว โดยดินเหนียวมี coefficient of consolidation, Cv = 8.0x10-8 m2/s จงหาเปอร์เซ็นต์การทรุดตัว ณ
ความลึก 9 เมตร จากผิวด ้านบนของชันดินเหนียว หลังจากมีนําหนักมากระทํา 5 ปี

1 : 55 %
2 : 61 %
3 : 70 %
4 : 75 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 327 :
ั นเหนียวทีมีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ าแบบ Doubly drainaged,Cv
ถ ้าการถมดินทําให ้เกิดความเค ้นในแนวดิงโดยเฉลียเพิมขึน 100 kPa แก่ชนดิ
=8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ าทียังคงอยูใ่ นชันดินเหนียวณ. ความลึก 3 ม.หลังการก่อสร ้างโครงสร ้าง 5 ปี โดยกําหนดว่าโครงสร ้างดังกล่าวก่อให ้เฉพาะ
ความเค ้นในแนวดิงเท่านัน

1 : 30 kPa.
2 : 35 kPa.
3 : 39 kPa.
4 : 45 kPa.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 328 :
ั นเหนียวทีมีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ าแบบ Doubly drainaged,Cv
ถ ้าการถมดินทําให ้เกิดความเค ้นในแนวดิงโดยเฉลียเพิมขึน 100 kPa แก่ชนดิ
=8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ าทียังคงอยูใ่ นชันดินเหนียวณ. ความลึก 6 ม.หลังการก่อสร ้างโครงสร ้าง 5 ปี โดยกําหนดว่าโครงสร ้างดังกล่าวก่อให ้เฉพาะ
ความเค ้นในแนวดิงเท่านัน

1 : 45 kPa.
2 : 54 kPa.
3 : 60 kPa.
4 : 65 kPa.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 329 :
ั นเหนียวทีมีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ าแบบ Doubly drainaged,Cv
ถ ้าการถมดินทําให ้เกิดความเค ้นในแนวดิงโดยเฉลียเพิมขึน 100 kPa แก่ชนดิ
=8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ าทียังคงอยูใ่ นชันดินเหนียวณ. ความลึก 9 ม.หลังการก่อสร ้างโครงสร ้าง 5 ปี โดยกําหนดว่าโครงสร ้างดังกล่าวก่อให ้เฉพาะ
ความเค ้นในแนวดิงเท่านัน

1 : 30 kPa.
2 : 35 kPa.
3 : 39 kPa.
4 : 45 kPa.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 330 :
ั นเหนียวทีมีความหนา 12 ม. และมีการระบายนํ าแบบ Doubly drainaged,Cv
ถ ้าการถมดินทําให ้เกิดความเค ้นในแนวดิงโดยเฉลียเพิมขึน 100 kPa แก่ชนดิ
=8.0*10-8 m2/s จงประมาณความดันนํ าทียังคงอยูใ่ นชันดินเหนียวณ. ความลึก 12 ม.หลังการก่อสร ้างโครงสร ้าง 5 ปี โดยกําหนดว่าโครงสร ้างดังกล่าวก่อให ้
เฉพาะความเค ้นในแนวดิงเท่านัน

1 : 15 kPa.
2 : 10 kPa.
3 : 2 kPa.
4 : 0 kPa.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 331 :
เมือดินเหนียวอิมตัวด ้วยนํ ารับแรงกดโดยแช่อยูใ่ นนํ าและทิงไว ้ช่วงเวลาหนึง ปริมาณนํ าในช่องว่างของดินจะลดลงและดินทรุดตัว เราเรียกกระบวนการนีว่าอะไร

1 : Shrinkage
2 : Expansion
3 : Consolidation
4 : Compaction
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 332 :
จากรูปตัดชันดิน ถ ้ามีแรงดัน 50 kPa กระทําทีผิวดินเป็ นบริเวณกว ้างมากจนไม่จํากัด จะมีการทรุดตัวเนืองจาก Primary Consolidation เป็ นเท่าใด

1 : 24 cm
2 : 34 cm
3 : 44 cm
4 : 65 cm
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 333 :
ทํา consolidation test โดยใช ้ตัวอย่างดินเหนียวอิมตัวด ้วยนํ าหนา 20 มม. พบว่าทีหน่วยแรงกดทับค่าหนึงต ้องใช ้เวลา 10.4 นาทีจงึ จะมี degree of consolidation =
90% ถ ้าดินเหนียวชนิดเดียวกันนีหนา 4 เมตรมีสภาพการระบายนํ าเหมือนกับใน lab และหน่วยแรงกดทับเท่ากัน จะใช ้เวลานานเท่าใดจึงจะมี degree of
consolidation = 90%

1 : 1.44 วัน
2 : 72.2 วัน
3 : 288.9 วัน
4 : 354.3 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 334 :
จากรูปตัดชันดิน และรูปผลการทดสอบ Consolidation ดินจะมีคา่ OCR เท่าใด

1 : 1.0
2 : 1.2
3 : 1.5
4 : 2.4
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 335 :
การทดสอบการอัดตัวคายนํ าของดินเหนียวตัวอย่างหนา 2 ซม. โดยยอมให ้นํ าไหลออกทังด ้านบนและล่างของตัวอย่าง พบว่าในเวลา 20 นาที เกิดการทรุดตัว 50
% จงหาค่าสัมประสิทธิการอัดตัวคายนํ าของดิน (Coefficient of consolidation) (Tv = 0.197)

1 : 1.85x10-3 cm2 / sec


2 : 9.85 x10-3 cm2 / sec
3 : 1.64 x10-4 cm2 / sec
4 : 9.85 x10-4 cm2 / sec
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 336 :
กําหนด Pre-consolidation pressure = 200 kN/sq.m Effective overburden pressure = 100 kN/sq.m จงหาค่าของ OCR (Over Consolidation Ratio)

1 : 0.5
2 : 1.0
3 : 1.5
4 : 2.0
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 337 :
ค่าใดไม่เกียวข ้องกับการคํานวณระยะทรุดตัวของของดิน

1 : Optimum water content


2 : Compression Index
3 : Effective stress
4 : Void ratio
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 338 :
ข ้อใดไม่ใช่สมมุตฐิ านของ Consolidation settlement ของ Terzaghi

1 : One dimensional compression


2 : Saturated soil
3 : Homogeneous soil
4 : One-way drainage
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 339 :
จากข ้อมูลทีได ้ให ้ไว ้ในรูปประกอบ จงหาว่าจะต ้องใช ้เวลาเท่าใดในการระบายแรงดันนํ าส่วนเกิน (ทีเกิดขึนจากแรงกระทําขนาด 10 t/sq.m. ทีผิวดิน) ให ้หมดสิน

1 : 340 วัน
2 : 680 วัน
3 : 1,020 วัน
4 : 1,360 วัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 340 :
ทฤษฎีการยุบอัดตัวคายนําแบบหนึงมิติของเทอร์ ซากิใช้ สาํ หรั บคํานวณการทรุ ดตัวของดินเหนียวแบบใด

1: การทรุ ดตัวแบบทันทีทันใด
2: การทรุ ดตัวแบบระยะยาว
3: การทรุ ดตัวทังหมดทีเกิดจากดินไม่ อิมตัว
4: ถูกมากกว่ า 1 ข้ อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 341 :
ค่ าใดทีไม่ เกียวข้ องกับอัตราการทรุ ดตัวของดิน

1 : Cc
2 : Cv
3:U
4 : Tv
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 548 : Bearing capacity theory

ข ้อที 342 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 1 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดินเหนียวมีหน่วยนํ า
หนักเท่ากับ 21 kN/m3 จงหาค่ากําลังแบกทานของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบไม่ระบายนํ า โดยมีกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ า (undrained shear
strength, su) เท่ากับ 105 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1

1 : 540 kPa (kN/m2)


2 : 560 kPa (kN/m2)
3 : 1080 kPa (kN/m2)
4 : 1120 kPa (kN/m2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 343 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) กว ้าง 2 เมตร ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 1 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดินเหนียว
มีหน่วยนํ าหนักเท่ากับ 21 kN/m3 จงหาค่ากําลังแบกทานของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบระบายนํ า โดยมีคา่ effective shear strength c = 10 kN/m2
และ phi = 28 องศา

1 : 258 kPa (kN/m2)


2 : 567 kPa (kN/m2)
3 : 797 kPa (kN/m2)
4 : 1134 kPa (kN/m2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 344 :
แท ้งค์นําฐานวงกลมมีรัศมี 1 เมตร ฝั งอยูใ่ นชันดินเหนียวลึกลงไป 0.25 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินอยูท
่ ฐานของฐานราก
ี ดินเหนียวมีหน่วยนํ าหนัก 20 kN/m3 และ
effective shear strength c = 0, phi = 35 องศา จงหาความสูงของนํ าในแท ้งค์สงู สุดทีเป็ นไปได ้ โดยใช ้ระดับความปลอดภัย (factor of safety) 2.5

1:5m
2 : 10 m
3 : 15 m
4 : 20 m
5 : 25 m
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 345 :
กําลังรับรับนํ าหนักของดินตามทฤษฎีของ Terzaghi จะขึนอยูก
่ บ

1 : ความลึกของระดับทีวางฐานราก
2 : นํ าหนักทีกระทํากับฐานราก
3 : ค่ามุมเสียดทานระหว่างฐานรากและดินใต ้ฐานราก
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 346 :
ระยะเยืองศูนย์ทจะไม่
ี ทําให ้เกิดหน่วยแรงดึง (Tensile stress) ทีขอบของฐานรากจะต ้องไม่มากกว่า

1 : B/6 (B = ความกว ้างของฐานราก)


2 : B/3
3 : D/6 (D = ความลึกของระดับทีวางฐานราก)
4 : D/3
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 347 :
กรณีทมี
ี นําใต ้ดินเหนือระดับฐานราก ระดับนํ าใต ้ดินจะมีผลทําให ้

1 : กําลังรับนํ าหนักแบกทานของดินลดลง
2 : กําลังรับนํ าหนักแบกทานของดินเพิมขึน
3 : กําลังรับนํ าหนักแบกทานของดินไม่เปลียนแปลง
4 : ไม่สามารถสรุปได ้
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 348 :
Bearing capacity factor , Nc , Nq

1 : หน่วยแรงดึงดูดของดิน(Cohesion)
2 : มุมเสียดทานภายในของดิน (Angle of internal friction)
3 : ขนาดความกว ้างของฐานราก, B
4 : นํ าหนักของดินเหนือระดับทีวางฐานรากและหน่วยนํ าหนักของดิน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 349 :
ฐานรากร่วม (Combined footing) หมายถึง

1 : ฐานรากทีมีนําหนักจากเสากระทําสองจุดหรือมากกว่า
2 : ฐานรากเดียวทีออกแบบให ้รับแรงในแนวดิงและโมเมนต์รว่ มกัน
3 : ฐานรากของอาคารทีมีหลาย ๆ รูปแบบในอาคารหลังเดียวกัน
4 : ฐานรากของอาคารทีมีทงฐานรากแผ่
ั และฐานรากเสาเข็มร่วมกัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 350 :
จงคํานวณตามวิธขี อง Terzaghi ว่าฐานรากแผ่ทแสดงไว
ี ้ตามเงือนไขในรูป จะสามารถรับแรงกระทําตามแกนดิงก่อนการวิบต
ั ิ (ซึงรวมถึงนํ าหนักฐานรากแล ้ว) ได ้
มากทีสุดเท่าใด

1 : 7.4 t
2 : 29.6 t
3 : 37.2 t
4 : 50.1 t
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 351 :
ระดับนํ าใต ้ดินทีระดับใดมีผลให ้ Bearing Capacity มีคา่ น ้อยทีสุด

1 : ระดับผิวดิน
2 : ระดับ1/2 ของความลึกฐานราก
3 : ระดับ 1/4 ของความลึกฐานราก
4 : ระดับใต ้ฐานราก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 352 :
ในกรณีทเกิ ี ดแรงเยืองศูนย์ทฐานราก
ี (Eccentric Load) ขนาด e จะต ้องเปลียนแปลงขนาดฐานราก (B) ทีใช ้ในการคํานวณหา Bearing Capacity ตามวิธ ี effective
area เป็ นเท่าใด

1 : B’=B-e
2 : B’=B-2e
3 : ฺB’=B-3e
4 : B’=B-4e
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 353 :
วิธกี ารใดทีสามารถคํานวณหาค่า Bearing Capacity ได ้ในกรณีทนํ
ี าหนักกระทําต่อฐานรากเป็ นแบบเฉียง ( Incline Load )

1 : Skempton Equation
2 : Terzaghi Equation
3 : Meyerhof Equation
4 : Peck Equation
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 354 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวต่อเนือง (Strip Footing) ทีระดับ –1 เมตรจากผิวดิน หน่วยนํ าหนักดิน 18 kN/m3, c= 5 kPa, internal friction angle=0 จงคํานวณหา
Gross Ultimate Bearing Capacity

1 : 25.7 kPa
2 : 35.7 kPa
3 : 43.7 kPa
4 : 53.7 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 355 :
ดินชนิดใดทีความลึกของฐานรากมีผลต่อ Bearing Capacity น ้อยมาก

1 : Cohesionless soil
2 : Dense Sand
3 : Loose sand
4 : Clay
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 356 :
ในการวิเคราะห์ Bearing Capacity ตามทฤษฎีของ Terzaghi กําหนดให ้ดินมีการวิบต
ั แ
ิ บบใด

1 : General Shear Failure


2 : Local Shear Failure
3 : Punching Shear Failure
4 : Rotational Failure
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 357 :
จงหาค่านํ าหนักปรรทุกปลอดภัยของฐานรากแผ่ทแสดงไว
ี ้โดยใช ้สมการของ Terzaghi โดยระดับนํ าใต ้ดินอยูท ี วดิน กําหนดให ้ใช ้อัตราส่วนปลอดภัยเท่ากับ 3
่ ผิ

1 : 36 ตัน
2 : 72 ตัน
3 : 114 ตัน
4 : 162 ตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 358 :
จงหาว่าฐานรากทีได ้แสดงไว ้มีอต
ั ราส่วนปลอดภัยเท่ากับเท่าใด (กําหนดให ้นํ าหนักของฐานรากเป็ นศูนย์)

1 : 3.2
2 : 3.5
3 : 3.8
4 : 4.1
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 359 :
จงหาค่านํ าหนักบรรทุกยอมให ้ของฐานรากทีได ้แสดงไว ้ โดยใช ้ส่วนปลอดภัยเท่ากับ 3

1 : 58 ตัน
2 : 68 ตัน
3 : 78 ตัน
4 : 88 ตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 360 :
จงหาค่านํ าหนักบรรทุกยอมให ้ของฐานรากทีได ้แสดงไว ้ตามสมการของเทอร์ซากี โดยใช ้ส่วนปลอดภัยเท่ากับ 3

1 : ประมาณ 30 ตัน
2 : ประมาณ 40 ตัน
3 : ประมาณ 50 ตัน
4 : ประมาณ 60 ตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 361 :
นํ าตัวอย่างดินลูกรังซึงมีคา่ ถพ. Gs = 2.730 ไปทําการทดลอง Modified Proctor Compaction Test ได ้ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุด = 1.868 g/cm^3 โดยใช ้
ปริมาณนํ าทีเหมาะสมทีสุด OMC = 14.95% ถ ้าสามารถบดอัดจนกระทังในช่องว่างระหว่างเม็ดดินไม่มฟ ี องอากาศอยูเ่ ลยโดยใช ้ปริมาณนํ าที OMC นี ได ้ค่าความ
หนาแน่นสูงสุดเท่าใด
1 : 0.732 g/cu.m
2 : 1.868 g/cu.m
3 : 1.939 g/cu.m
4 : 2.730 g/cu.m
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 362 :
ในการบดอัดดินแบบ Modified Proctor ใช ้ Mold ขนาด เส ้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิว สูง 4.584 นิว ตุ ้มนํ าหนักขนาด 10 lb ระยะยกสูง 18 นิว กระแทกลงบนเนือดินรวม
5 ชัน ชันละ 56 ครัง พลังงานทีใช ้ในการบดอัดดินในรูปของพลังงานทีใช ้ในการบดอัดดินต่อปริมาตรของดินทีบดอัด มีคา่ เท่ากับเท่าไร

1 : 12400 ft-lb/ft^3
2 : 24800 ft-lb/ft^3
3 : 56000 ft-lb/ft^3
4 : 62400 ft-lb/ft^3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 363 :
ในการก่อสร ้างฐานแผ่แนวยาว ( Strip Footing ) บนดินเหนียวทีมีระดับนํ าใต ้ดินลึกมากซึงมีคา่ ต่างๆดังนี จงหาค่าความแตกต่างของ Ultimate Soil Bearing
Capacity เมือฐานแผ่อยูท
่ ผิ
ี วดิน และเมือฐานแผ่อยูท
่ ความลึ
ี ก 1 ม. จากผิวดิน

1 : 0.95 T/m^2
2 : 1.45 T/m^2
3 : 1.95 T/m^2
4 : 2.45 T/m^2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 364 :
ท่านต ้องการหาความสามารถในการแบกทานของดิน (Bearing Capacity) เพือทําการก่อสร ้างแท็งก์นํารูปวงแหวนดังแสดงในรูป ท่านควรใช ้ความสัมพันธ์เพือ
หาความสามารถในการแบกทานของดินหรือรู ้จักกันในชือ “Terzaghi’s bearing capacity” คือ Qultimate = cNc+qNq+1/2(gamma)BN(gamma) จากความสัมพันธ์
ดังกล่าวท่านควรจะกระทําการกระทําในข ้อใด

1 : ก. ปรับแก ้สูตรความสัมพันธ์ดงั กล่าวเพือให ้ได ้ความสัมพันธ์สําหรับฐานรากวงกลม


2 : ข. ปรับแก ้สูตรความสัมพันธ์ดงั กล่าวเพือให ้ได ้ความสัมพันธ์สําหรับฐานรากสีเหลียมผืนผ ้า
3 : ค. ปรับแก ้สูตรความสัมพันธ์ดงั กล่าวเพือให ้ได ้ความสัมพันธ์สําหรับฐานรากแบบต่อเนืองหรือ Strip footing
4 : ง. ไม่ต ้องปรับแก ้ความสัมพันธ์ความสัมพันธ์ดงั กล่าวสมบรูณแ ์ ละสามารถใช ้ได ้เลย
5 : จ. ปรับแก ้สูตรความสัมพันธ์ดงั กล่าวเพือให ้ได ้ความสัมพันธ์สําหรับฐานรากสีเหลียมจัตรุ ัส
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 365 :
เสาเข็มหน ้าตัดสีเหลียมจัตรุ ัสขนาด 400 มิลลิเมตร วางอยูใ่ นชันดินเหนียวดังรูป กําลังรับนํ าหนักประลัยของเสาเข็มต ้นนีเป็ นเท่าใด โดยไม่คด
ิ นํ าหนักเสาเข็ม
กําหนดให ้
หน่วยแรงเสียดทานผิวเสาเข็มเฉลียประลัย = 23 kPa (kN/m2)
หน่วยแรงต ้านทานปลายเสาเข็มประลัย = 450 kPa (kN/m2)

1 : 109 kN
2 : 417 kN
3 : 620 kN
4 : 624 kN
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 366 :
ถ ้าฐานรากแผ่ยาวมาก (มีความยาวมากกว่าความกว ้างมาก) วางบนผิวดิน
Ultimate bearing capacity จะมีคา่ เป็ นเท่าใด ถ ้าระดับนํ าใต ้ดินอยูใ่ นระดับลึกมาก

1 : 125.6 kPa (kN/m2)


2 : 135.9 kPa (kN/m2)
3 : 140.5 kPa (kN/m2)
4 : 154.2 kPa (kN/m2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 367 :
ถ ้าฐานรากแผ่ยาวมาก (มีความยาวมากกว่าความกว ้างมาก) วางบนผิวดินเหนียว ทีมีสภาพไม่ระบายนํ า จะมี Ultimate Bearing capacity เป็ นเท่าใด

1 : 154.2 kPa
2 : 135.9 kPa
3 : 125.8 kPa
4 : 110.6 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 368 :
วิธกี ารทดสอบเสาเข็มแบบใดสามารถใช ้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเนือคอนกรีตเสาเข็มได ้

1 : Sonic Integrity test


2 : Static pile load test – Quick test
3 : Plate bearing test
4 : Static pile load test – Maintained load test
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 369 :
ในการตอกเสาเข็มด ้วยลูกตุ ้มหนัก 7 ตันและมีระยะยกสูง 60 เซนติเมตร ถ ้าเสาเข็มมีระยะจมตัวเนืองจากการตอก 10 ครังสุดท ้ายเท่ากับ 20 มิลลิเมตร แรง
ต ้านทานต่อการตอกเสาเข็มต ้นนีเป็ นเท่าใดถ ้าใช ้สูตรของ Engineering news

1 : 155.6 tons
2 : 145.6 tons
3 : 135.6 tons
4 : 125.6 tons
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 370 :
การวิบต
ั ข
ิ องฐานรากตืนในรูปใดจัดว่าเป็ นการวิบต
ั แ
ิ บบใด

1 : Sliding
2 : Overturning
3 : General shear
4 : Punching shear
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 371 :
เสาเข็มของบ่อเก็บนํ าทีอยูใ่ นสภาพเกือบแห ้งดังรูปจะมีแรงกระทําชนิดใดทีกระทํากับเสาเข็มเป็ นหลักเป็ นหลัก

1 : Compressive force
2 : Tension
3 : Horizontal force
4 : Torsion
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 372 :
เสาเข็มก่อสร ้างในชันดินดังรูป จะต ้องคํานึงถึงข ้อใดเป็ นพิเศษ

1 : General shear failure


2 : Negative skin friction
3 : Lateral movement
4 : Pile deviation
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 373 :
ฐานรากสีเหลียมผืนผ ้า กว ้าง 2 เมตร ยาว 4 เมตร วางอยูบ
่ นชันทรายทีความลึก 2 เมตรจากผิวดิน รับแรงกดในแนวแกน (รวมนํ าหนักฐานราก) 80 ตัน จงประมาณ
ค่าหน่วยแรงทีเกิดขึนบนชันดินทีระดับฐานรากและทีความลึก 8 เมตรจากผิวดินเนืองจากฐานรากนี กําหนดให ้ใช ้การกระจายหน่วยแรง 2:1

1 : 10 t/m2 และ 1 t/m2


2 : 10 t/m2 และ 0.67 t/m2
3 : 20 t/m2 และ 1 t/m2
4 : 20 t/m2 และ 0.67 t/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 374 :
ข ้อใดไม่ใช่ลก
ั ษณะการเคลือนตัวของดินใต ้ฐานรากทีทําให ้เกิดการวิบต
ั ิ
1 : Punching Shear
2 : Beam Shear
3 : General Shear
4 : Local Shear
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 375 :
องค์ประกอบใดทีไม่มผ
ี ลต่อค่า Ultimate Bearing Capacity ของดินใต ้ฐานราก

1 : นํ าหนักดินเหนือฐานราก
2 : ความกว ้างของฐานราก
3 : ความลึกของฐานรากจากผิวดิน
4 : คุณภาพของคอนกรีตทีใช ้ทําฐานราก
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 376 :
จงคํานวณหากําลังรับนํ าหนักบรรทุกเสาเข็มปลอดภัยของเสาเข็ม spun เส ้นผ่านศูนย์กลาง 60 ซม. ใช ้ Safety Factor ตามกฏกระทรวงเท่ากับ 2.5 ตามชันดินที
กําหนดให ้ (ไม่คด
ิ นํ าหนักเสาเข็ม)

1 : 19 ตัน
2 : 36 ตัน
3 : 46 ตัน
4 : 115 ตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 377 :
จงคํานวณหากําลังรับนํ าหนักบรรทุกเสาเข็มปลอดภัยของเสาเข็มสีเหลียม 0.45x0.45 ม. โดยใช ้ Safety Factor ตามกฏกระทรวงเท่ากับ 2.5 ตามชันดินข ้างล่าง
โดยไม่คด
ิ นํ าหนักเสาเข็ม

1 : 23 ตัน
2 : 53 ตัน
3 : 112 ตัน
4 : 132 ตัน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 378 :
ในการตอกเสาเข็มคอนกรีตรูปหน ้าตัดสีเหลียมขนาด 0.2x0.2 m. ความยาว 5 m. ลงไปในชันดินเหนียวอ่อน ซึงมีคา่ c = 1.2 T/m^2 และ Angle of Internal
Friction = 0 ค่าสัมประสิทธิแรงยึดเกาะ ( Adhesion Factor ) ระหว่างผิวคอนกรีตกับดินเหนียวอ่อนเท่ากับ 1 ค่าแรงต ้านทานทีผิวด ้านข ้างของเสาเข็มมีคา่ เท่ากับ
เท่าใด

1 : 2.4 ton
2 : 4.8 ton
3 : 5.6 ton
4 : 9.6 ton
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 379 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 1 เมตร ระดับนํ าใต ้ ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดินเหนียวมีหน่วยนํ า
หนักเท่ากับ 21 kN/m3 จงหาค่ากําลัง แบกทานประลัยของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบไม่ระบายนํ า โดยมีกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ ระบายนํ า
(undrained shear strength, su) เท่ากับ 105 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1

1 : 540 kPa (kN/m^2)


2 : 561 kPa (kN/m^2)
3 : 224 kPa (kN/m^2)
4 : 216 kPa (kN/m^2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 380 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 1.5 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดินเหนียวมีหน่วยนํ า
หนักเท่ากับ 20 kN/m3 จงหาค่ากําลังแบกทานประลัยของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบไม่ระบายนํ า โดยมีกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ า
(undrained shear strength, su) เท่ากับ 95 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1

1 : 488 kPa (kN/m^2)


2 : 207 kPa (kN/m^2)
3 : 195 kPa (kN/m^2)
4 : 518 kPa (kN/m^2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 381 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 2 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดินเหนียวมีหน่วยนํ า
หนักเท่ากับ 20 kN/m3 จงหาค่ากําลังแบกทานประลัยของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบไม่ระบายนํ า โดยมีกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ า
(undrained shear strength, su) เท่ากับ 95 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1

1 : 211 kPa (kN/m^2)


2 : 195 kPa (kN/m^2)
3 : 488 kPa (kN/m^2)
4 : 528 kPa (kN/m^2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 382 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 2 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดินเหนียวมีหน่วยนํ า
หนักเท่ากับ 18 kN/m3 จงหาค่ากําลังแบกทานประลัยของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบไม่ระบายนํ า โดยมีกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ า
(undrained shear strength, su) เท่ากับ 40 kN/m2 กําหนด Nc = 5.14, Nq = 1

1 : 82 kPa (kN/m^2)
2 : 97 kPa (kN/m^2)
3 : 206 kPa (kN/m^2)
4 : 242 kPa (kN/m^2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 383 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) กว ้าง 2 เมตร ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 1 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดินเหนียว
มีหน่วยนํ าหนักเท่ากับ 21 kN/m3 จงหาค่ากําลังแบกทานประลัยของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบระบายนํ า โดยมีคา่ effective shear strength c = 10
kN/m2 และ phi = 28 องศา

1 : 567 kPa (kN/m^2)


2 : 797 kPa (kN/m^2)
3 : 258 kPa (kN/m^2)
4 : 488 kPa (kN/m^2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 384 :
ฐานรากแผ่แบบยาวเหยียด (strip footing) กว ้าง 1.5 เมตร ฝั งจมอยูใ่ นชันดินเหนียวลึก 1 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินลึกมากเมือเทียบกับความกว ้างของฐานราก ดิน
เหนียวมีหน่วยนํ าหนักเท่ากับ 20 kN/m3 จงหาค่ากําลังแบกทานประลัยของฐานรากแผ่ในกรณีใช ้การวิเคราะห์แบบระบายนํ า โดยมีคา่ effective shear strength c =
10 kN/m2 และ phi = 28 องศา

1 : 258 kPa (kN/m^2)


2 : 422 kPa (kN/m^2)
3 : 552 kPa (kN/m^2)
4 : 717 kPa (kN/m^2)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 385 :
1 : 0.11 m
2 : 0.22 m
3 : 0.33 m
4 : 0.67 m
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 386 :

1 : 0.095 m
2 : 0.19 m
3 : 0.25 m
4 : 0.50 m
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 387 :
แท ้งค์นําฐานวงกลมมีรัศมี 2.0 เมตร ฝั งอยูใ่ นชันดินเหนียวลึกลงไป 1 เมตร ระดับนํ าใต ้ดินอยูท
่ ฐานของฐานราก
ี ดินเหนียวมีหน่วยนํ าหนักอิมตัวและหน่วยนํ าหนัก
ชืนเท่ากับ 21 kN/m^3 และ effective shear strength c = 0, phi = 20 องศา และ Su= 15 kN/m^2 จงหาความสูงของนํ าในแท ้งค์สงู สุดทีเป็ นไปได ้ โดยใช ้ระดับ
ความปลอดภัย (factor of safety) 2.5 และไม่ต ้องคํานึงถึงนํ าหนักของโครงสร ้างแท ้งค์นํา

1:3m
2:6m
3:9m
4 : 12 m
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 388 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวต่อเนือง (Strip Footing) ทีระดับ –1 เมตรจากผิวดิน หน่วยนํ าหนัก ดิน 18 kN/m3, c= 5 kPa, internal friction angle=0 จงคํานวณหา
Gross Ultimate Bearing Capacity เมือ Nc = 5.14 , Nq = 1 , Nγ = 0

1 : 25.7 kPa
2 : 35.7 kPa
3 : 43.7 kPa
4 : 53.7 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 389 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวต่อเนือง (Strip Footing) ทีระดับ –0.5 เมตรจากผิวดิน หน่วยนํ าหนักดิน 20 kN/m3, c= 10 kPa, internal friction angle= 0 จงคํานวณหา
Gross Ultimate Bearing Capacity เมือ Nc = 5.14 , Nq = 1 , Nγ = 0

1 : 35.7 kPa
2 : 61.4 kPa
3 : 51.4 kPa
4 : 25.7 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 390 :
กําหนดขนาดฐานรากยาวต่อเนือง (Strip Footing) ทีระดับ –2 เมตรจากผิวดิน หน่วยนํ าหนักดิน 21 kN/m3, c= 12.5 kPa, internal friction angle= 0 จงคํานวณหา
Gross Ultimate Bearing Capacity เมือ Nc = 5.14 , Nq = 1 , N? = 0

1 : 106.25 kPa
2 : 64.25 kPa
3 : 43.70 kPa
4 : 61.40 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 391 :
การออกแบบเสาเข็มสี เหลียม 0.20x0.20 ม. ยาว 6 ม. ในชันดินเหนียวทีมีค่า Undrained shear strength = 2.5 t/m2 หน่วยนําหนักชืน = 1.6 t/m2 α = 0.98 ระดับ
นําใต้ดินอยุต่ ากว่
ํ าผิวดิน 1 ม. ให้หาค่ากําลังรับนําหนักบรรทุกสู งสุ ดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไม่คาํ นึงถึง End bearing capacity

1 : 11.8 t/m2
2 : 19.6 t/m2
3 : 14.7 t/m2
4 : 15.7 t/m2

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 392 :
การออกแบบเสาเข็มสี เหลียม 0.25x0.25 ม. ยาว ม. ในชันดินเหนียวทีมีค่า Undrained shear strength = 2.5 t/m2 หน่วยนําหนักชืน = 1.8 t/m2 α = 0.98 ระดับ
นําใต้ดินอยุต่ ากว่
ํ าผิวดิน 1 ม. ให้หาค่ากําลังรับนําหนักบรรทุกสู งสุ ดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไม่คาํ นึงถึง End bearing capacity

1 : 15.7 t/m2
2 : 11.8 t/m
2
3 : 19.6 t/m
2
4 : 14.7 t/m
2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 393 :
การออกแบบเสาเข็มสี เหลียม 0.20x0.20 ม. ยาว ม. ในชันดินเหนียวทีมีค่า Undrained shear strength = 2.5 t/m2 หน่วยนําหนักชืน =
1.8 t/m2 α = 0.98 ระดับนําใต้ดินอยุต่ ากว่
ํ าผิวดิน 1 ม. ให้หาค่ากําลังรับนําหนักบรรทุกสู งสุ ดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไม่คาํ นึงถึง End bearing
capacity

1 : 15.7 t/m2
2 : 11.8 t/m
2
3 : 19.6 t/m
2
4 : 14.7 t/m
2
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 394 :
การออกแบบเสาเข็มสี เหลียม 0.25x0.25 ม. ยาว ม. ในชันดินเหนียวทีมีค่า Undrained shear strength = 2.5 t/m2 หน่วยนําหนักชืน =
1.8 t/m2 α = 0.98 ระดับนําใต้ดินอยุต่ ากว่
ํ าผิวดิน 1 ม. ให้หาค่ากําลังรับนําหนักบรรทุกสู งสุ ดของเสาเข็ม (Ultimate pile capacity) โดยไม่คาํ นึงถึง End bearing
capacity

1 : 11.8 t/m2

2 : 19.6 t/m2
3 : 14.7 t/m2
4 : 15.7 t/m2
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 395 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทราย
1 : 400 kPa
2 : 800 kPa
3 : 500 kPa
4 : 1,000 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 396 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทราย

1 : 800 kPa
2 : 500 kPa
3 : 1,000 kPa
4 : 400 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 397 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทราย
1 : 400 kPa
2 : 800 kPa
3 : 500 kPa
4 : 1,000 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 398 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทราย

1 : 400 kPa
2 : 800 kPa
3 : 500 kPa
4 : 1,000 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 399 :
จงหาความสามารถการรั บนําหนักบรรทุกทียอมให้ ของเสาเข็ม (Allowable Pile Capacity) ทีกําหนดให้ อัตราส่ วนความปลอดภัยเท่ ากับ 2.5 และไม่ คิดนําหนักของ
เสาเข็ม เสาเข็มเป็ นรู ปวงกลมมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลางเท่ ากับ 0.4 เมตร
1 : 200 kN
2 : 260 kN
3 : 550 kN
4 : 470 kN
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 400 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทรายปนดินเหนียวทีมีค่า undrained shear strength = 2.0 kN/m2,
f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3 ) และนําใต้ ดินอยู่ทีระดับ -1.5 ม.จากผิวดิน กําหนดให้ หน่ วยนําหนักของดินอิมตัวด้ วยนําและหน่ วยนําหนักของดินชื นเท่ ากับ
20 kN/m3

1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 401 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทรายปนดินเหนียวทีมีค่า undrained shear strength = 2.0 kN/m2,
f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3 ) และนําใต้ ดินอยู่ทีระดับ -0.5 ม.จากผิวดิน กําหนดให้ หน่ วยนําหนักของดินอิมตัวด้ วยนําและหน่ วยนําหนักของดินชื นเท่ ากับ
20 kN/m3
1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 402 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทรายปนดินเหนียวทีมีค่า undrained shear strength = 2.0 kN/m2,
f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3 ) และนําใต้ ดินอยู่ทีระดับ -1.0 ม.จากผิวดิน กําหนดให้ หน่ วยนําหนักของดินอิมตัวด้ วยนําและหน่ วยนําหนักของดินชื นเท่ ากับ
20 kN/m3

1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 403 :
จงคํานวนหาค่ าการรั บแรงแบกทาน (Ultimate bearing capacity, qult) ของฐานรากแผ่ บนชันดินทรายปนดินเหนียวทีมีค่า undrained shear strength = 2.0 kN/m2,
f = 16? ( Nq = 5 Nc= 14 Ng= 3 ) และนําใต้ ดินอยู่ทีระดับผิวดิน กําหนดให้ หน่ วยนําหนักของดินอิมตัวด้ วยนําและหน่ วยนําหนักของดินชื นเท่ ากับ 20 kN/m3
1 : 155 kPa
2 : 204 kPa
3 : 180 kPa
4 : 192 kPa
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 549 : Compaction

ข ้อที 404 :
จากเส ้นโค ้งการบดอัดดังรูปและต ้องการบดอัดดินให ้ตรงตามข ้อกําหนดโดยให ้มี Compaction density อย่างน ้อย 95 เปอร์เซ็นต์ของความหนาแน่นแห ้งสูงสุดทีได ้
จากห ้องปฎิบต ั ก
ิ ารและมีความชืนอยูใ่ นช่วง -2 ถึง +2 เปอร์เซ็นต์ของ Optimum water content เมือทดสอบ Sand cone test พบว่า ปริมาตรของดินเท่ากับ 1153
cm3 นํ าหนักเปี ยกเท่ากับ 2209 g. และ นํ าหนักแแห ้งเท่ากับ 1879 g.จงหาความหนาแน่นแห ้งของบดอัดในสนาม

1 : 1.13 g/cm3
2 : 1.33 g/cm3
3 : 1.53 g/cm3
4 : 1.63 g/cm3
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 405 :
จากเส ้นโค ้งการบดอัด และต ้องการบดอัดดินให ้ตรงตามข ้อกําหนด (Specification) โดยให ้มี Compaction density อย่างน ้อย 95 เปอร์เซ็นต์ของความหนาแน่น
แห ้งสูงสุดทีได ้จากห ้องปฎิบต
ั ก
ิ ารและมีความชืนอยูใ่ นช่วง -2 ถึง +2 เปอร์เซ็นต์ของ Optimum water content เมือทดสอบ Sand cone test พบว่า ปริมาตรของดิน
เท่ากับ 1153 cm3 นํ าหนักเปี ยกเท่ากับ 2209 g.และนํ าหนักแห ้งเท่ากับ 1879 g. จงหา Water content ของดินในสนาม

1 : 10.5 %
2 : 15.5%
3 : 17.6 %
4 : 19.7%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 406 :
จากเส ้นโค ้งการบดอัดและต ้องการบดอัดดินให ้ตรงตามข ้อกําหนด (Specification) โดยให ้มี Compaction density อย่างน ้อย 95 เปอร์เซ็นต์ของความหนาแน่น
แห ้งสูงสุดทีได ้จากห ้องปฎิบต
ั ก
ิ ารและมีความชืนอยูใ่ นช่วง -2 ถึง +2 เปอร์เซ็นต์ของ Optimum water content เมือทดสอบ Sand cone test พบว่า ปริมาตรของดิน
เท่ากับ 1153 cm3 นํ าหนักเปี ยกเท่ากับ 2209 g. และ นํ าหนักแห ้งเท่ากับ 1879 g.

1 : 94 %
2 : 96 %
3 : 97 %
4 : 98 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 407 :
เส ้นโค ้งการบดอัดและต ้องการบดอัดดินให ้ตรงตามข ้อกําหนด (Specification) โดยให ้มี Compaction density อย่างน ้อย 95 เปอร์เซ็นต์ของความหนาแน่นแห ้ง
สูงสุดทีได ้จากห ้องปฎิบต
ั ก
ิ ารและมีความชืนอยูใ่ นช่วง 2 เปอร์เซ็นต์ ของ Optimum water content เมือทดสอบ Sand cone test พบว่า ปริมาตรของดินเท่ากับ 1153
cm3 นํ าหนัก เปี ยกเท่ากับ 2209 g. และ นํ าหนักแห ้งเท่ากับ 1879 g.

1 : เป็ นไปตามข ้อกําหนดเนืองมาจากความหนาแน่นแห ้ง และ Optimum water content


2 : ไม่เป็ นไปตามข ้อกําหนดเนืองมาจากความหนาแน่นแห ้ง
3 : ไม่เป็ นไปตามข ้อกําหนดเนืองมาจากความหนาแน่นแห ้งและ Optimum water content
4 : ไม่เป็ นไปตามข ้อกําหนดเนืองมาจาก Optimum water content
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 408 :
จากรูปเส ้นโค ้งการบดอัดข ้างล่าง โค ้งเส ้นใดทีแสดงการบดอัดโดยใช ้พลังงานน ้อยทีสุดและเป็ นไปตามข ้อกําหนด

1 : ก. เส ้นโค ้ง A
2 : ข. เส ้นโค ้ง B
3 : ค. เส ้นโค ้ง C
4 : ง. เส ้นโค ้ง D
5 : จ. ไม่มข ี ้อใดถูกต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 1
ข ้อที 409 :
การทดสอบการบดอัดในห ้องปฏิบต ั ก
ิ ารได ้ผลดังนี
ความหนาแน่นเปี ยก = 18 kN/m^3, ปริมาณนํ าในดิน = 20 %
ความหนาแน่นแห ้งของดินนีเป็ นเท่าใด

1 : 17 kN/m^3
2 : 16 kN/m^3
3 : 15 kN/m^3
4 : 14 kN/m^3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 410 :
จากกราฟผลการทดสอบการบดอัดดินในห ้องปฏิบต ั ก
ิ ารด ้วยวิธ ี Standard Proctor ดังรูป ถ ้านํ าดินชนิดนีไปบดอัดถนนแล ้วทําการทดสอบการบดอัดในสนามด ้วยวิธ ี
Sand cone ได ้ความหนาแน่นแห ้ง 18.5 kN/m^3 ความแน่นของการบดอัดของดินเปอร์เซ็นต์เป็ นเท่าใด

1 : 96.5 %
2 : 94.9 %
3 : 92.4 %
4 : 93.8 %
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 411 :
การบดอัดดินจะมีผลทําให ้

1 : Vs ลด ทําให ้ ความหนาแน่นของดิน เพิม


2 : Ws เพิม ทําให ้ ความหนาแน่นของดิน เพิม
3 : ปริมาณช่องว่างของอากาศลดลง
4 : ปริมาณนํ าในดินลดลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 412 :
การทดสอบการบดอัดดินในห ้องทดลองเพือต ้องการหาค่าของ

1 : ความแข็งแรงของดินทีบดอัด
2 : ความหนาแน่นของดินชืนทีปริมาณความชืนต่าง ๆ กัน
3 : ความหนาแน่นแห ้งสูงสุดและความชืนทีเหมาะสม
4 : หาค่าความหนาแน่นแห ้งของดินเมือช่องว่างของอากาศเท่ากับศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 413 :
การบดอัดเขือนดิน

1 : ควรใช ้รถบดแบบลากจูง
2 : ควรใช ้รถบดล ้อเหล็ก
3 : ควรบดอัดทางด ้านแห ้ง (Dry side)
4 : ควรบดอัดทางด ้านเปี ยก (Wet side)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 414 :
การบดอัดดินทางด ้านแห ้ง (Dry side)

1 : ควรใช ้รถบดแบบตีนแกะ (Sheep foot)


2 : ควรใช ้รถบดแบบสันสะเทือน (Vibrating Roller)
3 : เมือเพิมพลังงานในการบดอัดความหนาแน่นแห ้งจะเพิมขึน
4 : สัมประสิทธิความซึมได ้ของดินจะตํากว่าการบดอัดทางด ้านเปี ยก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3
ข ้อที 415 :
ดินทีมีคา่ CBR สูงทีสุด

1 : หินคลุก
2 : ดินลูกรัง
3 : ดินเหนียวปนกรวด
4 : ดินเหนียวปนตะกอนทราย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 416 :
นํ าตัวอย่างดินลูกรังซึงมีคา่ ถพ. Gs = 2.730 ไปทําการทดลอง Modified Proctor Compaction Test ได ้ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุด = 1.868 g/cm^3 โดยใช ้
ปริมาณนํ าทีเหมาะสมทีสุด OMC = 14.95% ถ ้าสามารถบดอัดจนกระทังในช่องว่างระหว่างเม็ดดินไม่มฟ ี องอากาศอยูเ่ ลยโดยใช ้ปริมาณนํ าที OMC นี ได ้ค่าความ
หนาแน่นสูงสุดเท่าใด

1 : 1.868 g/cu.m.
2 : 2.730 g/cu.m.
3 : 1.939 g/cu.m.
4 : 0.732 g/cu.m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 417 :
ในการบดอัดดินแบบ Modified Proctor ใช ้ Mold ขนาด เส ้นผ่านศูนย์กลาง 6 นิว สูง 4.584 นิว ตุ ้มนํ าหนักขนาด 10 lb ระยะยกสูง 18 นิว กระแทกลงบนเนือดินรวม
5 ชัน ชันละ 56 ครัง พลังงานทีใช ้ในการบดอัดดินในรูปของพลังงานทีใช ้ในการบดอัดดินต่อปริมาตรของดินทีบดอัด มีคา่ เท่ากับเท่าไร

1 : 12400 ft-lb/ft^3
2 : 24800 ft-lb/ft^3
3 : 56000 ft-lb/ft^3
4 : 62400 ft-lb/ft^3
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 418 :
ถ ้าเราเพิมพลังงานในการบดอัด ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุด (Maximum Dry Density) และค่าความชืนบดอัดเหมาะสม (Optimum Moisture Content) จะ
เปลียนแปลงอย่างไร

1 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดลดลง และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมลดลง


2 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดลดลง และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมเพิมขึน
3 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดเพิมขึน และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมเพิมขึน
4 : ค่าความหนาแน่นแห ้งสูงสุดเพิมขึน และค่าความชืนบดอัดเหมาะสมลดลง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 419 :
จุดประสงค์หลักของการทดสอบการบดอัดดินในห ้องทดลองคือ

1 : ความแข็งแรงของดินทีบดอัด
2 : ความหนาแน่นของดินชืนทีปริมาณความชืนต่างๆกัน
3 : ความหนาแน่นแห ้งสูงสุดและความชืนทีเหมาะสม
4 : หาค่าความหนาแน่นแห ้งของดินเมือช่องว่างของอากาศเท่ากับศูนย์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 420 :
การบดอัดดินทางด ้านแห ้ง (Dry side)

1 : ควรใช ้รถบดแบบตีนแกะ (Sheep foot)


2 : ควรใช ้รถบดแบบสันสะเทือน (Vibrating Roller)
3 : เมือเพิมพลังงานในการบดอัดความหนาแน่นแห ้งจะเพิมขึน
4 : สัมประสิทธิความซึมได ้ของดินจะตํากว่าบดอัดทางด ้านเปี ยก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 421 :
ดินทีมีคา่ CBR สูงทีสุด

1 : หินคลุก
2 : ดินลูกรัง
3 : ดินเหนียวปนกรวด
4 : ดินเหนียวปนตะกอนทราย
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 422 :
1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 423 :

1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 424 :
1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 425 :

1 : 80%
2 : 85%
3 : 90%
4 : 95%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 426 :
ในการบดอัดแน่นของคันทาง กําหนดให ้ใช ้วัสดุทมี
ี คา่ CBR อยูร่ ะหว่าง 20-30% ดินทีจะนํ ามาใช ้เป็ นวัสดุคน
ั ทางควรเป็ นวัสดุใด

1 : ดินเลน
2 : ดินเหนียวอ่อน
3 : ดินลูกรัง
4 : หินคลุก
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 427 :
ในการบดอัดแน่นของคันทาง กําหนดให ้ใช ้วัสดุทมี ่ ากกว่า 80% ขึนไป ดินทีจะนํ ามาใช ้เป็ นวัสดุคน
ี คา่ CBR อยูม ั ทางควรเป็ นวัสดุใด

1 : ดินเหนียวอ่อน
2 : ดินลูกรัง
3 : หินคลุก
4 : ดินเลน
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 428 :
ในการบดอัดดินเดิม (Subgrade) ทีเป็ นดินเหนียวชืน ท่านจะเลือกเครื องจักรบดอัดใด

1 : เครืองบดอัดล ้อเหล็กเรียบ
2 : เครืองบดอัดตีนแกะ
3 : เครืองบดอัดล ้อเหล็กเรียบแบบอัดกระแทก
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 429 :
รู ปด้ านล่ างแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิดหนึง จงหาค่ าดีกรี การอิมตัวด้ วยนําของดินชนิดนีทีปริ มาณความชื นทีเหมาะสม เมือสมมุติว่าค่ า
ความถ่ วงจําเพาะของดินเท่ ากับ 2.9

1 : 69%
2 : 76%
3 : 85%
4 : 91%
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 430 :
รู ปด้ านล่ างแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิดหนึง จงหาค่ าดีกรี การอิมตัวด้ วยนําของดินชนิดนีทีปริ มาณความชื นทีเหมาะสม เมือสมมุติว่าค่ า
ความถ่ วงจําเพาะของดินเท่ ากับ 2.8
1 : 69%
2 : 76%
3 : 85%
4 : 91%
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 431 :
รู ปด้ านล่ างแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิดหนึง จงหาค่ าดีกรี การอิมตัวด้ วยนําของดินชนิดนีทีปริ มาณความชื นทีเหมาะสม เมือสมมุติว่าค่ า
ความถ่ วงจําเพาะของดินเท่ ากับ 2.7

1 : 69%
2 : 76%
3 : 85%
4 : 91%
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 432 :
รู ปด้ านล่ างแสดงผลการทดสอบการบดอัดจากดินชนิดหนึง จงหาค่ าดีกรี การอิมตัวด้ วยนําของดินชนิดนีทีปริ มาณความชื นทีเหมาะสม เมือสมมุติว่าค่ า
ความถ่ วงจําเพาะของดินเท่ ากับ 2.65

1 : 69%
2 : 76%
3 : 85%
4 : 91%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

You might also like